มาตรฐานและตัวชี้วัด ... indicator cssd 25 aug 2014.pdf ·...

43
มาตรฐานและตัวชี วัด ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน หน่วยจ่ายกลาง รศ.ดร.อะเคื ้ อ อุณหเลขกะ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Upload: others

Post on 10-Jan-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

มาตรฐานและตวัช้ีวดัประสิทธิภาพการปฏิบตังิาน

หน่วยจา่ยกลาง

รศ.ดร.อะเค้ือ อุณหเลขกะ

คณะพยาบาลศาสตร ์มหาวิทยาลยัเชียงใหม่

มาตรฐานหนวยจายกลาง

มาตรฐานหนวยจายกลาง

เจตจํานงและจุดมุงหมาย

การบริหารจัดการองคกร

การบริหารและพัฒนาบุคลากร

โครงสรางอาคาร สถานที่ ส่ิงแวดลอมและความปลอดภัย

การควบคุมกาํกับและประเมินผล

วัสดุครุภณัฑ

แนวทาง คูมอืปฏิบัติงาน

กิจกรรมการปฏิบัติงาน

เจตจํานงและจุดมุงหมาย

มีการจัดทําวสัิยทัศนและพันธกิจเปนลายลักษณอกัษรชัดเจน

ทันสมัย กระชับและครอบคลุม งายตอการจดจํา และ

นําไปปฏิบัติ

วิสัยทัศน และพันธกิจ จัดทําโดยบุคลากรทุกคนในหนวยงาน

มีการส่ือสาร เจตจํานงและจุดมุงหมายไปยังหนวยงานอื่นที่

เกี่ยวของ

∗ มีโครงสรางองคกร แผนภูมิสายการบังคับบัญชา เปนปจจุบัน

∗ มีระเบียบและวิธีปฏิบัติงานที่ชัดเจน

∗ มีทิศทางการบริหารงานสอดคลองกับวิสัยทัศนและพันธกิจ

∗ มีการกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบของหนวยงาน

∗ มีการกําหนดสมรรถนะและมอบหมายงานแกบุคลากรทุกระดับ

เปนลายลักษณอักษร

∗ มีคณะกรรมการพัฒนาหนวยจายกลาง (ทีมสหสาขาวิชาชีพ)

∗ มีระบบรายงานการปฏิบัติงานประจําวันที่ชัดเจน

∗ มีระบบคนหาความเสี่ยงและรายงานอุบัติการณ

การบริหารจัดการองคกร

∗ มีแผนพัฒนาบุคลากรประจําป

∗ บุคลากรไดรับการปฐมนิเทศกอนปฏิบัติงาน

∗ บุคลากรไดรับการฟนฟูความรูกระบวนการทําใหปราศจากเชื้อ

อยางนอย 1 ครั้ง/ คน /ป

∗ บุคลากรไดรับการพัฒนาการใชขอมูลสารสนเทศ

∗ มีการประชมุหนวยงานอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง

การพัฒนาบุคลากร

โครงสรางอาคาร สถานท่ี สิ่งแวดลอม

และความปลอดภัย

ที่ต้ังอยูหางไกลจากสถานที่ที่กอใหเกิดมลภาวะ เชน ที่พักมูลฝอย

เตาเผามูลฝอย

หากอาคารติดถนน ควรมีประตู 2 ชั้นสําหรับหองเก็บอุปกรณ

ปราศจากเชือ้

ควรอยูใกลหองผาตัด หองฉุกเฉิน หองคลอด หออภบิาลผูปวย

เสนทางการสัญจรสะดวก มีทางเชื่อมตอระหวางอาคาร หนวยงาน

ตาง ๆ

พื้นท่ีหนวยจายกลาง

พื้นท่ีสํานักงานและหองอ่ืน ๆ

∗มีหองสํานักงาน

∗หองประชุม

∗หองพักบุคลากร

∗หองเปล่ียนเส้ือผา

∗จํานวนหองสุขาตามสัดสวนจํานวนบุคลากร

พื้นท่ีปฏบิัติงาน

พื้นท่ีปฏิบัติงานใน

หนวยจายกลาง

เขตปนเปอน

บริเวณรับเคร่ืองมืออุปกรณ

ที่ใชแลวจากหนวยงาน

บริเวณลางเคร่ืองมอื

บริเวณลางรถรับอุปกรณ

ปนเปอน

เขตสะอาด

บริเวณเตรียมและบรรจุหีบหอ

บริเวณเก็บเวชภัณฑการแพทย

บริเวณเก็บวัสดุหีบหออุปกรณ

บริเวณทําใหปราศจากเชื้อ

เขตปราศจากเชื้อ

บริเวณเก็บอุปกรณปราศจากเชื้อ

มีการควบคุมอุณหภูมิ 18-22°C

และความชื้นสัมพัทธ 35-70%

เปนหอง positive pressure

การจัดแบงพื้นท่ีปฏิบัติงาน

∗บริเวณที่ลางอุปกรณ (Decontamination area)

∗บริเวณที่จัดเตรียมและหออุปกรณ (Assembly and Processing area)

∗บริเวณที่ทําใหอุปกรณปราศจากเชื้อ (Sterilizing area)

∗บริเวณทีเ่ก็บหออุปกรณปราศจากเชื้อ (Sterile storage area)

∗บริเวณทีเ่ตรียมนําสงอุปกรณ (Distribution area)

การแบงพื้นที่ปฏิบัติงานในหนวยจายกลาง

∗แยกออกจากบริเวณอื่น อาจใช

วัสดุหรือตูกั้นเปนเขตไว

∗พื้นมีลักษณะคงทน ทําความ

สะอาดดวยสารขัดลางเปนทุกวัน

ได

∗มีแสงสวางเพียงพอสามารถ

มองเห็น ส่ิงสกปรกที่ติดอยูบน

อุปกรณไดชดัเจน

∗มีการถายเทอากาศดี อากาศ

จากบริเวณลางเครื่องมือไม

หมุนเวียนไปพื้นที่อื่นของหนวย

จายกลาง

∗มีอางลางมือโดยเฉพาะ

∗มีการเก็บอุปกรณปองกันไว

บริเวณนีเ้พื่อสะดวกในการใช

งาน

บริเวณท่ีลางอุปกรณ(Decontamination area)

∗ โตะเตรียมอุปกรณควรมีลอเพ่ือ

สามารถเคลื่อนยายและสามารถ

นํามาตอกันเพ่ือใหมีขนาดพอเหมาะ

∗ ควรมีแสงสวางพอเพียง

∗ ควรแยกบริเวณที่เตรียมหอผาออก

จากบริเวณที่เตรียมอุปกรณ

การแพทย เพ่ือลดฝุนละออง

จากผา

บริเวณท่ีจัดเตรียมและ

หออุปกรณ(Assembly and Processing area)

∗ บริเวณที่เตรียมหอผาควรมีการ

ถายเทอากาศที่ดี

∗ ไมควรมีทอหรอืสายไฟในบริเวณที่

จัดเตรียมอุปกรณ

บริเวณน้ีจะมีเครื่องน่ึงไอนํ้าภายใตความดัน (Steam sterilizer) เครื่องอบ

แกส EO เครื่องอบความรอน (Hot air over) และ Low temperature sterilizer อ่ืน ๆ

บริเวณท่ีทําใหอุปกรณปราศจากเชื้อ (Sterilizing area)

∗ ควรแยกจากบริเวณที่จัดเตรยีมและหออุปกรณ เปนบริเวณที่มิดชิด

∗ ควรต้ังอยูติดกับบริเวณที่ทําใหอุปกรณปราศจากเช้ือหรืออยูใกลกัน

∗ มีการถายเทอากาศอยางนอย 2 รอบตอช่ัวโมง และมีอุณหภูมิ 18-22°C ความช้ืน

สัมพัทธ 35-70%

∗ อุปกรณที่ปราศจากเช้ือควรจัดเก็บไวในที่ที่สูงจากพ้ืนอยางนอย 8-10 น้ิวฟุต อยู

หางจากเพดานประมาณ 18 น้ิวฟุต และหางจากผนังหอง 2 น้ิวฟุต

∗ ช้ันที่ใชวางหออุปกรณปราศจากเช้ือสามารถทําความสะอาดไดงาย

บริเวณท่ีเก็บหออปุกรณปราศจากเชื้อ(Sterile storage area)

Work flow (dirty to clean area)Air flow (clean to dirty area)People flow (clean to dirty area)

CSSD

∗มีเสนทางการปฏิบัติงานทางเดียว ( One way traffic work

flow)

∗การสัญจรจะตองไดรับการควบคุมโดยเฉพาะอยางยิ่งการ

สัญจรจากบริเวณท่ีสกปรกไปยังบริเวณท่ีสะอาด

∗การสัญจรของบุคลากรจะมีทิศทางตรงกันขามกับขั้นตอนการ

ทํางาน(work flow) คือ ตองสัญจรจากบริเวณสะอาด ไป

บริเวณท่ีสกปรกเทานั้น

ระบบสัญจร

จากเขตสะอาดไปยังเขตปนเปอน

ระบบการระบายอากาศ

การถายเทอากาศในหนวยจายกลาง ควรไดรับการ

ออกแบบใหอากาศจากบริเวณท่ีสะอาด ถายเทไปยังบริเวณท่ี

สกปรก

วัสดุครุภณัฑ

∗ มีแผนการใชวสัดุ อุปกรณการแพทย วัสดุสํานักงานและวัสดุงานบาน

∗ มีครุภัณฑ อุปกรณเครื่องมอืเครื่องใชที่จําเปน มีประสิทธิภาพ เพียงพอตอการปฏิบัติงาน

∗ มีการดูแลบํารุงรักษาอุปกรณเครื่องมือตาง ๆ ตามระยะเวลาที่กําหนดโดยผูเชีย่วชาญ

∗ มีการบันทึกขอมูลเกี่ยวกับการดูแล บํารุงรักษาอุปกรณเครื่องมอืชัดเจนเปนลายลักษณอักษร

∗ มีการสอบเทยีบการทํางานของอุปกรณ

เครื่องมือตามขอกําหนด

∗ มีการจัดเก็บเอกสาร ประวัติเครื่อง

คําแนะนําการใชงานอุปกรณทกุชนิด

อยางเปนระบบ สามารถนําขอมูลมา

ศึกษาได

∗ มีอุปกรณปองกนัสวนบุคคลที่เหมาะสม

ตอการปฏิบัติงานในแตละขั้นตอน และมี

จํานวนเพียงพอตอการใชงาน

แนวทาง คูมือปฏบิัติงาน

∗ มีคูมือการปฏิบัติในการทาํใหปราศจากเชือ้

∗ มีแผนรองรับการเตรียมอปุกรณขณะเกิดอุบัติเหตุและอุบัติภัย

∗ มีคูมือการปองกันและควบคุมการติดเชื้อมีแนวทางการ

ประสานงานกับหนวยงานตาง ๆ

ความปลอดภัยจากการทํางาน

∗ มีระเบียบวิธีปฏิบัติ การปองกันอันตรายจากการทํางานครอบคลุมทั้งดานกายภาพ เคมแีละชีวภาพ

∗ มีการจัดเก็บสารเคมีและวัตถุไวไฟในสถานที่ที่เหมาะสม

∗ มีอุปกรณเตือนภัย เชน Gas detector

∗ ความสวางตามประเภทของการทํางาน 200-400 ลักซ

∗ มีแผนปองกันอัคคีภัย ระบบเตือนภัย แผนผังทางหนีไฟ

รวมทั้งอุปกรณดับเพลิงตามมาตรฐานสิ่งแวดลอม

∗ บุคลากรผานการอบรมและลอมแผนการปองกันอัคคีภัย รวมทั้งวิธีการใชงานเครื่องดับเพลิงอยางถูกตอง

การควบคุมกํากับและประเมินผล

กําหนดตัวชี้วดัครอบคลุมการประเมินดานตาง ๆ

ประเมินสมรรถนะบุคลากรเพื่อการพฒันาอยางนอยปละ 2 ครั้ง

ประเมินการปฏิบัติงานตามคูมือการทําลายเชือ้และการทําให

ปราศจากเชือ้

ประเมินความเส่ียงจากการทํางาน

ประเมินการปฏิบัติในการปองกันการติดเชื้อของบุคลากร

ควบคมุกํากบัการปฏิบัติงานของบุคลากรและคุณภาพงาน

มีรายงานการปฏิบัติงานประจําป เปนลายลักษณอักษร

∗ประเมินความพึงพอใจของผูรับบริการและผูปฏิบัติงาน

∗ เฝาระวังการเจ็บปวยและอุบัติเหตุจากการทํางานของบุคลากร

∗ ติดตามศึกษาขอมูลและสถิติ ซ่ึงเปนเครื่องชี้วัดผลการปฏิบัติงานที่

สําคัญ

∗คนหาปญหา /โอกาสพัฒนา อยางเปนระบบ และมีการพัฒนา

คุณภาพอยางตอเนื่องและเปนทีม

∗ เผยแพร / เสนอผลงานกิจกรรมคณุภาพ

∗ ใชประโยชนขอมูลเพื่อพัฒนางานอยางมีประสิทธิภาพ

กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ

Key Performance Indicators(KPI)

Indicators

Are tools for measuring our activities Indicators themselves do not neither provide quality

care nor improve quality of care But they tell us how we do our activities – what level

of our performance

Without indicators, it is impossible to know the level of our performance

In order to improve the quality of care, we must first know

what we are doing andat what level we are performing

Usefulness of Indicators

Best tools to identify level of performance and areas where a change for improvement is indicated

Tools for assessing the efficiency, effectiveness, reliability and completeness of management system

Used to provide specific information on a service or a task or a procedure

Used to establish benchmarks for a certain level of performance

Examples of Indicators

Examples of general indicators used for measuring hospital’s performance

Medication incidentsSentinel eventsAdverse drug reactionNosocomial infection ratesPatient satisfactionPrevalence of pressure ulcers

Emergency Services

Waiting time to be seen by physician Average length of stay in ER from decision to

admit until transfer to ward Adverse occurrences post-discharge from ER

Out Patient Department

• Waiting time to be seen by physician• Pharmacy waiting time• Investigation waiting time for results

ดัชนีวัดผลการปฏบิัติงานKey Performance Indicators

ดัชนีวัดผลการปฏิบัติงาน = ตัวชี้วัดผลการดําเนนิงานหลัก

แสดงถึงภารกิจท่ีองคกรจะตองปฏิบัติบนพ้ืนฐานของเปาหมายท่ีต้ังไว

สามารถวัดได และตองอธิบายผลไดอยางชัดเจน

วัตถุประสงคของตัวชี้วัดผลการดําเนินงานหลัก

สามารถวัดผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานหรือเปาหมายท่ีกําหนดไว

สามารถแสดงแนวโนมของขอมูลสําหรับการพัฒนาหรือปรับปรุงงาน

เกณฑการกําหนดตัวชี้วัด

สามารถวัดผลการปฏิบัติงานไดจริง

สามารถบรรลุได สมเหตุสมผลท่ีจะใชเปนตัวชี้วัด

สามารสื่อสารทําความเขาใจไดตรงกัน มีความเฉพาะเจาะจง

สามารถตรวจสอบได

สามารถวัดผลไดอยางเทาเทียมกัน

สามารถวัดผลการปฏิบัติงานไดในระยะเวลาท่ีกําหนด

คาของตัวชี้วัด

จํานวน (Number)

คาเฉลี่ย (Average or Mean)

สัดสวน (Proportion, Percentage)

อัตรา (Rate)

อัตราสวน (Ratio)

เกณฑมาตรฐานของตัวชี้วัด

ประสิทธิภาพ (Efficiency)

ประสิทธิผล (Effectiveness)

คุณภาพบริการ (Quality of Care)

การเรียนรูของบุคลากรในองคกร

(Learning and Staff Efficiency)

นวัตกรรม (Innovation)

การบริหารเงิน (Financial Management)

การปฏิบัติตามกฎหมาย (Law Compliance)

ตัวชี้วัด

ผลการดาํเนินงานหลัก (KPIs)

ประสิทธิภาพ อัตราสวนของผลผลิตตอตนทุนอัตราสวนของผลผลิตตอเจาหนาที่

ประสิทธิผล รอยละของแผนงานหรือโครงการที่ดําเนินการเปนไปตามแผนรอยละของแผนงานหรือโครงการที่เสร็จตามวัตถุประสงค

คุณภาพ รอยละของการใหบริการทีดํ่าเนินการเสร็จภายในเวลามาตรฐาน รอยละของการวินิจฉัยที่ถูกตอง

Sterilization Process

การรับอปุกรณท่ีใชแลวจากหนวยงานตาง ๆ

มีการขนยายอุปกรณที่ใชแลวมายังหนวยจายกลางดวย

ความระมัดระวังโดยรถที่มิดชิด

มีวธิีปฏิบัติในการรับและสงอุปกรณที่มปีระสิทธิภาพ

ปองกันเครื่องมือชํารุดสูญหาย และปองกันการ

แพรกระจายเชื้อ

มีการใชอุปกรณปองกันการติดเชื้ออยางเหมาะสมและมี

การใช Alcohol hand rub

การทําความสะอาดอุปกรณ

บุคลากรสวมอุปกรณปองกันอยางเหมาะสมและถูกตอง

มีการแยกประเภทอุปกรณการแพทยเปนหมวดหมู แยกของมีคม เครื่องมือทีเ่ปราะบาง ชาํรุดงาย กอนการลางทําความสะอาด

มีการลางทําความสะอาดอุปกรณอยางถูกวิธ ีและเหมาะสมกับลักษณะอุปกรณ

อุปกรณที่ผานกระบวนการลางทําความสะอาดแลวทุกชิ้นไดรับการตรวจสอบสภาพ และทําใหแหงสนิทอยางทั่วถึง

การจัดหออุปกรณ

มีคูมือการจัดชุดเครื่องมือ (Instrument Book) ที่เปนปจจุบัน บุคลากรเขาใจ

และสามารถปฏิบัติไดถูกตอง

มีการกําหนดการจัดหออุปกรณมาตรฐานโดยคณะทํางาน

ที่ประกอบดวย ตัวแทนจากหนวยงานผูใช และหนวยจายกลาง

มีการใชวัสดุสําหรับหออุปกรณที่เหมาะสมกับระยะเวลาในการจัดเก็บ

และวิธีการทําใหปราศจากเช้ือแตละวิธี

หอผามีขนาดไมเกิน 12 x 12 x 20 น้ิว และนํ้าหนักไมเกิน 5.5 กิโลกรัม

มีการหออุปกรณถูกตองตามเทคนิค หออุปกรณมิดชิด สะดวกตอการหยิบ

อุปกรณ อุปกรณอยูในสภาพพรอมใชงาน

ติดเทปตรวจสอบทางเคมีและฉลาก ระบุประเภทหออุปกรณ วัน เดือน ปที่

ผลิต ช่ือผูจัดทํา วัน เดือน ปที่หมดอายุ ตลอดจนระบุหมายเลขเครื่อง และ

รอบที่ทําใหปราศจากเช้ือ เพ่ือเรียกเก็บคืนหออุปกรณที่มปีญหา

การจัดหออุปกรณ

การบรรจุหออุปกรณเขาเครื่องทําใหปราศจากเช้ือ

ทําความสะอาดภายในเครือ่งกอนนําหออุปกรณเขาเครื่อง

ตรวจสอบความเรยีบรอยของหออุปกรณกอนนําเขาเครื่อง

มีการแยกประเภทหออุปกรณและจัดเรียงอยางถูกตอง

การทําใหปราศจากเชื้อ

เลือกวิธีการทําใหปราศจากเช้ืออยางเหมาะสม

ประเมินประสิทธิภาพกระบวนการทําใหอุปกรณปราศจากเช้ือโดย

- ตรวจสอบทางเชิงกลเพ่ือดูการทํางานของเครื่องทําใหปราศจากเช้ือ

- ตรวจสอบทางเคมีภายนอกทุกหออุปกรณ

- ตรวจสอบทางเคมีภายใน หออุปกรณทีม่ีขนาดใหญ Set เจาะตาง ๆ

และเครื่องมือผาตัดทุกหอ

- ประเมินประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องน่ึงไอนํ้าชนิด Pre

vacuum ดวย Bowie Dick Test ทุกวันกอนใชงาน

- ตรวจสอบโดยตัวบงช้ีทางชีวภาพเครื่องน่ึงไอนํ้าอยางนอย 1 ครั้ง/

สัปดาห เครื่องอบแกสทุกครั้ง การทําใหอุปกรณประเภทอวัยวะ

เทียมตาง ๆ ปราศจากเช้ือทุกครั้ง

การทําใหปราศจากเชื้อ

มีการบันทึกขอมูลการทําใหปราศจากเช้ือ (Record keeping)

วันที่ทําใหอุปกรณปราศจากเช้ือ

ชนิดและหมายเลขเครื่องน่ึงไอนํ้า

ครั้งที่บรรจุอุปกรณเขาเครื่อง

ผลการทดสอบตัวบงช้ีทางเคมีทั้งภายนอก และ Bowie Dick test

ผลการตรวจสอบดวยตัวบงช้ีทางชีวภาพ (Spore Test)

ผูนําอุปกรณเขาเครื่อง

ขอบคุณ