การวิเคราะห์หาขนาดเม็ดดินโดยวิธีร่อนตะแกรง...

4
หองปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตรศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 1 การวิเคราะห์หาขนาดเม็ดดินโดยวิธีร่อนตะแกรง (Particle-Size Analysis – Sieve Analysis) อ้างอิง ASTM D 2487 - 69 วัตถุประสงค์ เพื อหาการกระจายตัวของเม็ดดินและใช้เป็นข้อมูลในการจําแนกดินตามระบบ Unified Soil Classification System (USCS) และ ระบบ AASHTO ทฤษฎี มวลดินใดมวลดินหนึ ง อาจประกอบไปด้วยเม็ดดินหลากหลายขนาด เช่น มีขนาดตังแต่ 0.0002 มิลลิเมตรไปจนกระทังถึง 10 เซนติเมตร เป็นต้น โดยเม็ดดินที มีขนาดเล็กมาก ๆ อาจไม่สามารถ มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า โดยคุณสมบัติทางฟิสิกส์ของมวลดินจะขึ นอยู ่กับขนาดของเม็ดดินอย่างมาก เช่น มวลดินที มีขนาดเม็ดใหญ่กว่าตะแกรงเบอร์ 200 (0.075 มิลลิเมตร) ส่วนมากจะไม่มีความเหนียว หรือไม่มีแรงยึดเกาะระหว่างเม็ดดิน ซึ งเราอาจเรียกว่าเป็นดินที ไม่มีแรงเชื อมแน่น (Granular soil) เช่น ดินทราย หรือดินตะกอนทราย เป็นต้น ส่วนดินทีมีขนาดเล็กกว่าตะแกรงเบอร์ 200 จะเป็นดินทีเรียกว่า ดินทีมีแรงเชื อมแน่น (Cohesive soil) เช่น ดินเหนียว เป็นต้น และเป็นที ทราบกันดีว่า ขนาดของเม็ด ดินมีอิทธิพลกับค่าพลาสติกซิตี ค่าความซึมนํ า กําลังรับแรงเฉือน อัตราการทรุดตัว และคุณสมบัติอื น ๆ อีกมากมาย การหาขนาดและการกระจายตัวของเม็ดดินมีอยู ่ด้วยกันหลากหลายวิธี แต่ที นิยมปฏิบัติกันอย่าง แพร่หลาย คือ วิธีการร่อนผ่านตะแกรงที ตะแกรงแต่ละชันจะมีช่องขนาดต่าง ๆ กัน และใช้สําหรับการ หาขนาดเม็ดดินที มีขนาดใหญ่กว่า 0.075 มิลลิเมตร (ตะแกรงเบอร์ 200) ขึ นไป ส่วนวิธีตกตะกอนหรือ Hydrometer จะเหมาะกับเม็ดดินขนาด 0.2 มิลลิเมตร ถึง 0.0002 มิลลิเมตร ซึงทังสองวิธีนี อาจใช้ ร่วมกันในการวิเคราะห์หาขนาดเม็ดดินของตัวอย่างเดียวกันได้ การกระจายตัวของเม็ดดินแสดงได้โดยการใช้กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างขนาดเม็ดดิน (แกน X) ในสเกล Logarithmic scale และเปอร์เซ็นต์โดยนําหนักของเม็ดดินที มีขนาดเล็กกว่าที ระบุ (Percent finer) ซึ งเราเรียกกราฟความสัมพันธ์นี ว่า กราฟการกระจายตัวของเม็ดดิน (Grain size distribution curve) ลักษณะกราฟการกระจายตัวของขนาดเม็ดดิน สามารถแบ่งออกได้เป็นสองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ 1. ดินที มีขนาดเม็ดคละกันดี (Well graded soil) คือ ดินมีเม็ดขนาดต่าง ๆ คละกันดี โดย พิจารณาจากช่วงของกราฟ เรียกว่า Coefficient of Uniformity (C u ) หรือค่าสัมประสิทธิ ความสมํ าเสมอ 10 60 D D C u และความโค้งงอของเส้นกราฟ เรียกว่า ค่าสัมประสิทธิความคละกัน (Coefficient of Gradation, C c ) 60 10 2 30 D D D C c

Upload: others

Post on 23-Mar-2020

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การวิเคราะห์หาขนาดเม็ดดินโดยวิธีร่อนตะแกรง (Particle-Size ... · (Particle-Size Analysis – Sieve

หองปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร ภาควิชาวิศวกรรมโยธา

คณะวิศวกรรมศาสตรศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

1

การวิเคราะหห์าขนาดเมด็ดินโดยวิธีรอ่นตะแกรง (Particle-Size Analysis – Sieve Analysis)

อ้างอิง ASTM D 2487 - 69

วตัถปุระสงค ์ เพื�อหาการกระจายตัวของเม็ดดินและใช้เป็นข้อมูลในการจําแนกดินตามระบบ Unified Soil

Classification System (USCS) และ ระบบ AASHTO

ทฤษฎี มวลดินใดมวลดินหนึ�ง อาจประกอบไปด้วยเม็ดดินหลากหลายขนาด เช่น มีขนาดตั �งแต่ 0.0002

มลิลิเมตรไปจนกระทั �งถงึ 10 เซนติเมตร เป็นต้น โดยเม็ดดนิที�มีขนาดเล็กมาก ๆ อาจไม่สามารถ

มองเหน็ไดด้ว้ยตาเปล่า โดยคุณสมบตัทิางฟิสกิส์ของมวลดนิจะขึ�นอยู่กบัขนาดของเม็ดดนิอย่างมาก เช่น มวลดนิที�มขีนาดเมด็ใหญ่กว่าตะแกรงเบอร ์200 (0.075 มลิลเิมตร) ส่วนมากจะไม่มคีวามเหนียวหรอืไม่มแีรงยดึเกาะระหว่างเมด็ดนิ ซึ�งเราอาจเรยีกวา่เป็นดนิที�ไม่มแีรงเชื�อมแน่น (Granular soil) เช่น ดนิทราย หรอืดนิตะกอนทราย เป็นตน้ ส่วนดนิที�มขีนาดเลก็กวา่ตะแกรงเบอร ์200 จะเป็นดนิที�เรยีกว่า

ดนิที�มแีรงเชื�อมแน่น (Cohesive soil) เช่น ดนิเหนียว เป็นตน้ และเป็นที�ทราบกนัดวี่า ขนาดของเมด็ดนิมอีทิธพิลกบัคา่พลาสตกิซติี� คา่ความซมึนํ�า กาํลงัรบัแรงเฉือน อตัราการทรดุตวั และคณุสมบตัอิื�น ๆ อกีมากมาย

การหาขนาดและการกระจายตวัของเม็ดดินมีอยู่ด้วยกันหลากหลายวิธี แต่ที�นิยมปฏิบัติกนัอย่างแพรห่ลาย คอื วธิกีารร่อนผ่านตะแกรงที�ตะแกรงแต่ละชั �นจะมชี่องขนาดต่าง ๆ กนั และใชส้ําหรบัการหาขนาดเมด็ดนิที�มขีนาดใหญ่กว่า 0.075 มลิลเิมตร (ตะแกรงเบอร ์200) ขึ�นไป ส่วนวธิตีกตะกอนหรอื Hydrometer จะเหมาะกบัเม็ดดนิขนาด 0.2 มลิลเิมตร ถงึ 0.0002 มิลลเิมตร ซึ�งทั �งสองวิธนีี�อาจใช้

รว่มกนัในการวเิคราะหห์าขนาดเมด็ดนิของตวัอยา่งเดยีวกนัได ้

การกระจายตวัของเมด็ดนิแสดงไดโ้ดยการใชก้ราฟแสดงความสมัพนัธ์ระหว่างขนาดเมด็ดนิ (แกน X) ในสเกล Logarithmic scale และเปอรเ์ซน็ต์โดยนํ�าหนักของเมด็ดนิที�มขีนาดเลก็กว่าที�ระบุ (Percent finer) ซึ�งเราเรยีกกราฟความสมัพนัธ์นี�ว่า กราฟการกระจายตวัของเมด็ดนิ (Grain size distribution

curve) ลกัษณะกราฟการกระจายตวัของขนาดเม็ดดนิ สามารถแบ่งออกไดเ้ป็นสองประเภทใหญ่ ๆ ไดแ้ก่

1. ดนิที�มขีนาดเมด็คละกนัด ี(Well graded soil) คอื ดนิมเีมด็ขนาดต่าง ๆ คละกนัด ีโดยพจิารณาจากช่วงของกราฟ เรยีกวา่ Coefficient of Uniformity (Cu) หรอืค่าสมัประสทิธิ �ความสมํ�าเสมอ

10

60

D

DCu

และความโคง้งอของเสน้กราฟ เรยีกว่า คา่สมัประสทิธิ �ความคละกนั (Coefficient of Gradation, Cc)

6010

230

DD

DCc

Page 2: การวิเคราะห์หาขนาดเม็ดดินโดยวิธีร่อนตะแกรง (Particle-Size ... · (Particle-Size Analysis – Sieve

หองปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร ภาควิชาวิศวกรรมโยธา

คณะวิศวกรรมศาสตรศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

2

เมื�อ Di = ขนาดเสน้ผ่านศนูยก์ลางของเมด็ดนิที�ม ีi เปอรเ์ซน็ตโ์ดยนํ�าหนกัมขีนาดเลก็กวา่นี� เช่น D60 ในรปูกราฟตวัอยา่ง (แบบ Well graded) มคีา่เท่ากบั 0.85 มลิลเิมตร, D30 ในรปูกราฟตวัอย่าง (แบบ Well graded) มคีา่เท่ากบั 0.12 มลิลเิมตร และ D10 ในรปูกราฟตวัอยา่ง (แบบ Well graded) มคีา่เท่ากบั 0.008 มลิลเิมตร

และตามระบบ USCS ดนิจะมคีณุสมบตัคิละกนัดตี่อเมื�อมคีณุสมบตัดิงันี�

เช่น จากกราฟรปู ก (well graded) เราสามารถคาํนวณคา่ Cu = 106 และคา่ Cc = 2.11 จงึเป็นลกัษณะ

ของทรายที�คละกนัด ี(Well graded sand)

Cu Cc

หนิ / กรวด (Gravel) มากกวา่ 4 1 – 3

ทราย (Sand) มากกวา่ 6 1 – 3

Page 3: การวิเคราะห์หาขนาดเม็ดดินโดยวิธีร่อนตะแกรง (Particle-Size ... · (Particle-Size Analysis – Sieve

หองปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร ภาควิชาวิศวกรรมโยธา

คณะวิศวกรรมศาสตรศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

3

2. ดนิที�มขีนาดเมด็คละกนัไมด่ ี(Poorly graded soil) สามารถแบ่งออกไดเ้ป็นสองประเภท

คอื

ดนิที�มขีนาดเมด็ขาดชว่ง (Gap graded) เช่น ในรปูกราฟ ค มกีารขาดช่วงของขนาดเมด็ดนิขนาดประมาณ 0.01 – 0.04 มลิลเิมตร กราฟจงึเป็นเสน้ระนาบแนวนอน

ดนิที�มเีมด็ขนาดเดยีว (Uniform graded) เช่น รปูกราฟ ก จะเหน็ว่าเมด็ดนิขนาดประมาณ 1 – 2 มลิลเิมตรมอียูถ่งึกวา่ 80 เปอรเ์ซน็ต ์

การจําแนกดนิตามระบบ Unified (ระบบเอกภาพ) และระบบ AASHTO อาศยัขอ้มูลพื�นฐานในการจาํแนกคล้าย ๆ กนั คอื การกระจายตวัของขนาดเมด็ดนิ คา่ Atterberg’ s limit สแีละกลิ�น

การจําแนกดนิตามระบบ Unified จะใชอ้กัษรยอ่ 2 ตวั ทาํใหจ้ดจํางา่ยและมคีวามหมายในตวัเอง เช่น

สญัลกัษณ์แทนชนิดของดนิ ไดแ้ก่ G = Gravel (กรวด), S = Sand (ทราย), M = Silt (ดนิ

ตะกอนทราย), C = Clay (ดนิเหนียว)

สญัลกัษณ์แทนการคละกนัของดนิ ไดแ้ก่ W = Well graded (คละกนัด)ี, P = Poorly graded (คละกนัไม่ด)ี ซึ�งสามารถแบ่งออกเป็น Gap graded / Skip graded และ Uniform Graded

ตวัอยา่งการจําแนก GW = กรวดที�มขีนาดคละกนัด ี

SP = ทรายที�มขีนาดคละกนัไม่ด ี

การทดลอง

นํ�าหนกัดนิแหง้ที�พอดทีี�จะใชไ้ดใ้นการทดลองนี�ขึ�นอยูก่บัขนาดของเมด็ดนิที�ใหญ่ที�สุด ดงัแสดงไดต้ามตาราง

ขนาดเมด็ดนิที�

ใหญ่ที�สดุ (นิ�ว) 3/8 3/4 1 1 1/2 2 3

นํ�าหนกัตวัอยา่ง

ดนิอยา่งน้อย (กรมั)

500 1,000 2,000 3,000 4,000 5,000

1. เตรยีมตวัอยา่งดนิแหง้ประมาณ 1,500 กรมั ถา้ดนิเกาะตวักนัเป็นกอ้น ใหใ้ชค้อ้นยางทบุดนิออกให้

แยกจากกนัก่อนทุกครั �ง 2. เตรยีมตะแกรง (Sieve) 1 ชุด โดยมจีาํนวนตะแกรงไมเ่กนิ 7 ตะแกรงและตอ้งมตีะแกรงละเอยีด

เบอร ์200 ถาดและฝาปิดอยูด่ว้ยทุกครั �ง 3. นําตะแกรงแต่ละตะแกรงไปชั �ง และบนัทกึคา่นํ�าหนกัของแต่ละตะแกรง 4. นําตะแกรงทั �งหมดมาเรยีงกนั โดยเรยีงลําดบัใหต้ะแกรงที�มขีนาดตระแกรงใหญ่สดุอยูด่า้นบนและไล่

ลาํดบัความละเอยีดลงมา ทั �งนี�ตอ้งมฝีาปิดอยูด่า้นบนสดุ และมถีาดรองอยูด่า้นล่างสดุ จากนั �นนําตะแกรงไปประกอบเขา้เครื�องเขยา่

Page 4: การวิเคราะห์หาขนาดเม็ดดินโดยวิธีร่อนตะแกรง (Particle-Size ... · (Particle-Size Analysis – Sieve

หองปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร ภาควิชาวิศวกรรมโยธา

คณะวิศวกรรมศาสตรศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

4

5. ใส่ตวัอยา่งดนิแหง้ลงในชุดตะแกรง ปิดฝา จากนั �นเขยา่ประมาณ 8-10 นาท ี6. ชั �งดนิที�คา้งอยูใ่นแตล่ะตะแกรงรวมทั �งนํ�าหนักตะแกรง จากนั �นนําไปคาํนวณหาคา่ % ผา่น (%

Passing) ต่อไป