โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · a study of cultural development...

129
การศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมเมืองลพบุรี : กรณีศึกษาแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรและแหลง โบราณคดีใกลเคียง โดย นางสาวพรกมล แสงอรุณ วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร ภาควิชาโบราณคดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2552 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 27-Dec-2019

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

การศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมเมืองลพบุรี : กรณีศึกษาแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรและแหลง

โบราณคดีใกลเคียง

โดย นางสาวพรกมล แสงอรุณ

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร

ภาควิชาโบราณคด ีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปการศึกษา 2552 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 2: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

การศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมเมืองลพบุรี : กรณีศึกษาแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรและแหลงโบราณคดีใกลเคียง

โดย นางสาวพรกมล แสงอรุณ

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร

ภาควิชาโบราณคด ีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปการศึกษา 2552 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 3: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS

By Pornkamol Sang-arun

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF ARTS

Department of Archaeology Graduate School

SILPAKORN UNIVERSITY 2009

Page 4: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเรื่อง “ การศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมเมืองลพบุรี : กรณีศึกษาแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรและแหลงโบราณคดีใกลเคียง ” เสนอโดย นางสาวพรกมล แสงอรุณ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร

……........................................................... (รองศาสตราจารย ดร.ศิริชัย ชินะตังกูร)

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย วันท่ี..........เดือน.................... พ.ศ...........

อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ 1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.จิรัสสา คชาชีวะ 2. อาจารยภัคพดี อยูคงด ี คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ .................................................... ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารยสุรพล นาถะพินธุ) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (อาจารยสุนิสา ม่ันคง ) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.จิรัสสา คชาชีวะ) (อาจารยภัคพดี อยูคงดี ) ............/......................../.............. ............/......................../..............

Page 5: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

48101206 : สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร คําสําคัญ : พัฒนาการ/วัฒนธรรมเมืองลพบุร ี พรกมล แสงอรุณ : การศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมเมืองลพบุรี : กรณีศึกษาแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรและแหลงโบราณคดีใกลเคียง. อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ : ผศ.ดร. จิรัสสา คชาชีวะ และ อาจารย ภัคพดี อยูคงด.ี 115 หนา.

วัตถุประสงคในการศึกษาครั้งนี้เพ่ือศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมของแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร และแหลงโบราณคดีใกลเคียง (วัดปน) โดยทําการศึกษาจากหลักฐานเอกสารและหลักฐานทางโบราณคดีท่ีไดจากการขุดคนและขุดแตงจากโบราณสถาน

ผลการศึกษาพบวาแหลงโบราณคดีท้ัง 2 แหง มีพัฒนาการทางวัฒนธรรม 4 สมัยหลัก คือ

ระยะท่ี 1 สมัยทวารวดี มีอายุราวพุทธศตวรรษท่ี 11-16 พบโบราณวัตถุรวมสมัยวัฒนธรรมทวารวดี ไดแก หมอมีสัน ตุกตาดินเผา ตางหูโลหะ ช้ินสวนพระพุทธรูปศิลา เปนตน

ระยะท่ี 2 สมัยลพบุรี มีอายุราวพุทธศตวรรษท่ี 16-18 มีการใชพ้ืนท่ีอยางไมหนาแนน โบราณวัตถุท่ีพบ ไดแก ภาชนะดินเผาจากแหลงเตาบานกรวด ช้ินสวนประติมากรรมดินเผารูปหนาบุคคลสวมศิราภรณศิลปะลพบุร ี

ระยะท่ี 3 สมัยสุโขทัย มีอายุราวพุทธศตวรรษท่ี 19-20 พบวามีการใชพ้ืนท่ีในบริเวณนี้อยางเบาบาง

ระยะท่ี 4 สมัยอยุธยา มีอายุราวพุทธศตวรรษท่ี 20-23 จากหลักฐานพบวาบานวิชาเยนทรมีการใชพ้ืนท่ีเพ่ือสรางบานพักราชฑูตและบานพักของเจาพระยาวิชาเยนทร และบริเวณวัดปนมีการใชพ้ืนท่ีเปนพุทธสถาน

ภาควิชาโบราณคดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2552 ลายมือช่ือนักศึกษา........................................ ลายมือช่ืออาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ 1. ........................... 2. .............................

Page 6: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

48101206 : MAJOR : HISTORICAL ARCHAEOLOGY KEY WORD : DEVELOPMENT / LOP BURI CULTURAL PORNKAMOL SANG-ARUN : A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS. THESIS ADVISORS : . ASST.PROF.JIRASSA KACHACHEEVA .Ph.D. PAKPADEE YUKONGDEE 115 pp. The purpose of this research is to study the cultural development at Ban Vicharjen and its environment at Wat Pune based on contemporary of archaeological evidence and documentation.

The results of this study found 4 phases of cultural development, as below : Phase 1 Dvaravati period (about 6th-11th centuries A.D.). The archaeological

evidence of this phase in both sites are carinated pots, terracotta figurines, metal ear-rings and pieces of stone Buddha image.

Phase 2 Lop Buri period (about 11th-13th centuries A.D.). The archaeological evidence of this phase are a few numbers of Ban Kruad ceramic sherds and pieces of terracotta figure in Lop Buri style.

Phase 3 Shkhothai period ( about 14th-15th centuries A.D.) . The archaeological evidence of this phase are very small numbers represent as a low density of the occupation.

Phase 4 Ayuthaya period (about 15th-18th centuries A.D.) .Ban Vicharjen area was used for ambassador’ s resident. Both of this and Wat Pune were use to be the Buddhist monument.

Department of Archaeology Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2009 Student's signature ........................................ Thesis Advisors' signature 1. ........................... 2. ...........................

Page 7: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธนี้สําเร็จลงไดดวยความเมตตา กรุณาปราณี ความชวยเหลือ คําแนะนําของผูชวยศาสตราจารย ดร. จิรัสสา คชาชีวะ รองศาสตราจารย สุรพล นาถะพินธุ อาจารย ภัคพดี อยูคงดี ขาพเจาขอกราบขอบพระคุณในความรูท่ีทานไดมอบให ขอขอบคุณคณาจารยทุกทานท่ีส่ังสอนช้ีแนะความรูในแขนงตางๆแกขาพเจา ขอบคุณคุณ เจตนกมล วงษทาว ท่ีใหความอนุเคราะหขอมูลในหลาย ๆ ครั้ง

ศาสตราจารย ดร.ผาสุข อินทราวุธ ขาพเจาขอกราบขอบพระคุณในกําลังใจและความหวงใยท่ีมอบใหลูกศิษย

ขอมอบคําขอบคุณ สําหรับ ผศ.จีราวรรณ แสงเพ็ชร อาจารยโขมสี แสนจิตต อาจารย เมธี เมธาสิทธ์ิ สุขสําเร็จ อาจารย สฤษดิ์พงศ ขุนทรง ท่ีคอยหวงใยใสใจ และปรารถนาดีมาโดยตลอด คุณ ปลันธน ไทยสรวง คุณ นฤมล กางเกตุ คุณ ญาติมา ทองคํา คุณ ศุภวรรณ ตันมณี คุณอภิญญา แสงสิน และเพ่ือนพองนองพ่ีรวมช้ันรวมรุนท่ีรวมสําราญเสพความรูในการศึกษาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตรมารวมกัน แคไดคิดถึงก็เปนสุขใจ

ขอบคุณทุกคําถามท่ีคอยถามเสมอวาจบหรือยัง จบเม่ือไหร ขอบคุณทุก ๆ กําลังใจท่ีมอบให ขอบคุณส่ิงตาง ๆท่ีเกิดขึ้น ตั้งอยู และดับไป ขอกราบขอบพระคุณในความรักอันยิ่งใหญของ บิดามารดาท่ีรักและเคารพ

ผูสนับสนุนหลักอยางเปนทางการในทุกอยางและเปนกําลังใจใหทุกครั้งและทุกเรื่อง

Page 8: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

สารบัญ หนา บทคัดยอภาษาไทย .................................................................................................................... ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ................................................................................................................ จ กิตติกรรมประกาศ..................................................................................................................... ฉ สารบัญภาพ ............................................................................................................................... ซ บทท่ี 1 บทนํา............................................................................................................................ 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา............................................................ 1

การศึกษาท่ีผานมา.....................................…………………………………… 2 ความมุงหมายในการศึกษา…………………………………………………... 3 ขอบเขตการศึกษา......………………………………………………………... 3 วิธีการศึกษา………………………………………………………………….. 3 แหลงขอมูล…………………………………………………………………... 3

2 แหลงโบราณคดบีานวิชาเยนทรและแหลงใกลเคียง………………………………… 4 การดําเนินงานโบราณคดีและการศึกษาท่ีผานมา............................................... 9 หลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบ.............................................................................. 14 การขุดคนบานวิชาเยนทรปพ.ศ.2530................................................................ 13 การขุดคนบานวิชาเยนทรป พ.ศ.2549................................................................ 37 การศึกษาช้ันดินทางโบราณคด.ี......................................................................... 45 แหลงโบราณคดีวัดปน....................................................................................... 57 การดําเนินงานทางดานโบราณคด.ี.................................................................... 59 วิเคราะหหลักฐานโบราณวัตถุ........................................................................... 75

3 บทวิเคราะห.......................................................………………………...................... 92 4 บทสรุป……………………………………………………………………………….. 98 บรรณานุกรม…………………………………………………………………………………. 107 ประวัติผูวิจัย.............................................................................................................................. 115

Page 9: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา 1 ประตูทางเขาหนาบานวิชาเยนทร........................................................... 5 2 ภายในบริเวณบานวิชาเยนทร................................................................. 5 3 แผนผังบานวิชาเยนทร........................................................................... 6 4 บริเวณบานพักรับรองราชทูต ทิศใต....................................................... 6 5 บริเวณบานพักรับรองราชทูต ทิศเหนือ.................................................. 6 6 ภาพโบสถคริสตและหอระฆัง................................................................ 7 7 ซุมประตูเรือนแกวทางเขาโบสถคริสตดานทิศเหนอื / ทางเขาโบสถ คริสตดานทิศตะวันออก............................................................... 7 8 บริเวณหนาบานวิชาเยนทร.................................................................... 8 9 อาคารบานวชิาเยนทรบริเวณดานหลัง.................................................... 8 10 ภาพสันนิษฐานโบสถคริสตในสมัยสมเด็จพระนารายณ........................ 12 11 ตุกตาดินเผารูปคนจูงลิง และรูปหนาบุคคลดินเผา................................. 16 12 ภาชนะดินเผาแบบมีสัน สมัยทวารวดี อายุราวพุทธศตวรรษท่ี12-16..... 16 13 แทงดินเผาแบนยาวปลายมน ตกแตงลวดลายท้ังสองดาน...................... 16 14 พวยกาดินเผาพบท่ีแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร............................... 17 15 ตางหูโลหะพบท่ีแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร.................................. 17 16 แวดินเผาพบท่ีแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร..................................... 17 17 ตะคันดินเผาจากแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร................................... 18 18 ตะคันดินเผาจากแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร................................... 18 19 ฝาจุกดินเผารูปสิงโต พบท่ีแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร................... 19 20 เบ้ียดินเผาพบท่ีแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร..................................... 19 21 เศษเครื่องปนดินเผาตกแตงลวดลายปนแปะและประทับขูดขีด แหลงเตาบานบางปูน.................................................................... 20 22 สวนไหลของไหภาชนะดินเผาเนื้อแกรง ตกแตงลายกดประทับรูปชาง และรูปมาในชองส่ีเหล่ียม แหลงเตาบานบางปูน จังหวัดสุพรรณบุรี อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 18 -19....................................................... 20

Page 10: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

ภาพท่ี หนา 23 สวนคอเจดีย ประเภทดินเผาเนื้อหยาบ แหลงเตาวัดพระปรางค ชันสูตร ต.เชิงกลัด อ.บางระจัน จ.สิงหบุรี อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 19 – 23. 20 24 กระปุกดินเผา แหลงเตาวัดพระปรางค ชันสูตร ต.เชิงกลัด อ.บางระจัน จ.สิงหบุรี อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 19 – 23..................................... 21 25 เศียรพระพุทธรูปดินเผา สมัยอยุธยา อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 19- 23........ 21 26 ตุกตาดินเผา.............................................................................................. 21 27 ตุกตาดินเผารูปไก..................................................................................... 22 28 ศีรษะตุกตาดินเผา..................................................................................... 22 29 ตุกตาดินเผา.............................................................................................. 22 30 กลองยาสูบดินเผา..................................................................................... 23 31 เบาหลอมดินเผา....................................................................................... 23 32 เครื่องถวยจีน ช้ินสวนโถเคลือบเขียวขนาดใหญ.................................... 23 33 เครื่องถวยจีนฝาจุกภาชนะเคลือบเขียว สวนบนนูนขึ้นแตตัดแบน.......... 24 34 เครื่องถวยจีน จานเคลือบเขียวเซลาดอนขนาดใหญ ขูดขีดลายใตเคลือบ 24 35 ชามเคลือบเขียว แหลงเตาจางโจวมณฑลฝูเจี้ยน..................................... 24 36 ช้ินสวนชามเคลือบเขียวอมเหลือง เคลือบท้ังดานนอกดานในภาชนะ ท่ีลําตัวดานเคลือบเพียงครึ่งใบ อีกครึ่งใบชวงลางเคลือบดวย น้ําดินสีแดง กนภาชนะไมมีการเคลือบ......................................... 25 37 กระปุก ตลับ เคลือบขาว.......................................................................... 25 38 กระปุกเคลือบขาว มีหูกลมสามหู ลําตัวตกแตงลวดลายดอกไม แหลงผลิตมณฑลฝูเจี้ยน................................................................ 25 39 ช้ินสวนฝาภาชนะเคลือบสีน้ําตาลทรงกลม............................................. 26 40 ช้ินสวนโถเคลือบน้ําตาล......................................................................... 26 41 ช้ินสวนเครื่องถวยจีน สมัยราชวงศหยวน............................................... 26 42 ภาชนะประเภทโถ สําหรับใสพลู(พบในหองใตดิน).............................. 27 43 ช้ินสวนเครื่องถวยจีน มีเครื่องหมายปรัชกาลท่ีกนภาชนะ (สองช้ินบน บอกปรัชกาล ตาหมิงเฉิง ฮั้ว ราชวงศหมิง) สวนดานลางเปน คําอวยพรท่ีกนภาชนะ................................................................... 27 44 ช้ินสวนเครื่องถวยจีนเคลือบสีน้ําเงินเขียนลายทอง................................ 27

Page 11: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

ภาพท่ี หนา 45 เครื่องถวยจีน เขียนลายดอกบัวและกานขดท่ีภาชนะท้ังดานนอกและ ดานใน.......................................................................................... 28 46 เครื่องถวยจีนตกแตงลายเบญจมาศท่ีภาชนะท้ังภายนอกและภายใน....... 28 47 เครื่องถวยจีนตกแตงลายเบญจมาศ.......................................................... 28 48 ช้ินสวนฝา ลําตัว เครื่องถวยญี่ปุน............................................................ 29 49 ช้ินสวนเครื่องถวยญี่ปุน........................................................................... 29 50 เหรียญกษาปณจีน.................................................................................... 30 51 เครื่องประดับประเภทแหวน.................................................................... 30 52 แผนทองคํารูปหอยสังข พบท่ีบานวิชาเยนทร.......................................... 31 53 แผนทองคํารูปพระพุทธรูป พบท่ีบานวิชาเยนทร จังหวัดลพบุร.ี............. 31 54 หมอใสปูน............................................................................................... 32 55 กลองยาสูบดินขาวฮอลันดา กลองยาสูบนี้มีการผลิตขึ้นใน ประเทศฮอลันดา ท่ีเมืองGouda มีหลากหลายรูปแบบ เปนความนิยมของชาวตางชาต.ิ..................................................... 32 56 ช้ินสวนแทงหินออนปรากฏจารึกภาษาละติน......................................... 33 57 ฝาตลับลายสัตวหิมพานต........................................................................ 33 58 ฝาตลับสําริด............................................................................................ 33 59 หินชนวนและดินสอชนวน..................................................................... 34 60 ตะคันดินเผา............................................................................................ 34 61 เครื่องถวยจีน........................................................................................... 34 62 เครื่องถวยจีนสมัยราชวงศหมิง................................................................ 35 63 เครื่องถวยเบญจรงค................................................................................. 35 64 เครื่องถวยญี่ปุนคาคิเอมอน...................................................................... 35 65 เครื่องถวยญี่ปุน การัตสึ อายุราวพุทธศตวรรษท่ี21-22............................. 36 66 สภาพพ้ืนท่ีกอนทําการขุดคน................................................................... 37 67 ขนาดของหลุมท่ีทําการขุดคนในป พ.ศ.2549.......................................... 38 68 หลุมขุดคนดานทิศตะวันออก.................................................................. 47 69 ผังหลุมขุดคนดานทิศเหนือ...................................................................... 47 70 ผังหลุมขุดคนดานทิศตะวันตก................................................................. 48

Page 12: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

ภาพท่ี หนา 71 ผังหลุมขุดคนดานทิศใต........................................................................... 48 72 ภาชนะดินเผาลายกดประทับ แหลงเตาบานบางปูน................................. 49 73 ภาชนะดินเผาลายกดประทับรูปชาง แหลงเตาบานบางปูน...................... 49 74 ฝาจุกดินเผา.............................................................................................. 50 75 เครื่องถวยเคลือบเขียว แหลงเตาสุโขทัย-ศรีสัชนาลัย.............................. 50 76 กระเบ้ืองเชิงชายลายพันธุพฤกษา............................................................ 50 77 กระเบ้ืองกาบกลวย.................................................................................. 51 78 ตะคันดินเผา............................................................................................ 51 79 แวดินเผา.................................................................................................. 51 80 ภาชนะดินเผามีสัน.................................................................................. 52 81 เคลือบเขียวเตาปายาง ศรีสัชนาลัย พุทธศตวรรษท่ี 21............................. 52 82 ฝาตลับเคลือบเขียวออน แหลงเตาประเทศจีน......................................... 52 83 ช้ินสวนของกุณฑี.................................................................................... 53 84 ช้ินสวนแทงหิน....................................................................................... 53 85 เครื่องถวยเบญจรงครุนแรกของไทย....................................................... 53 86 เครื่องถวยจีนสมัยราชวงศหยวน............................................................. 54 87 เศษเครื่องถวยเบญจรงคท่ีผลิตจากเมืองจีน............................................. 54 88 ฝาตลับ เครื่องถวยจีน.............................................................................. 54 89 ชามลายครามทรงกลมหรือทรงมะนาวตัด ใชสีครามตัดเสนท่ีขอบปาก แหลงเตาจิงเตอเจน มณฑลเจียงซีปลายพุทธศตวรรษท่ี21 ตนพุทธศตวรรษท่ี 22................................................................... 55 90 ช้ินสวนลําตัวเบญจรงครุนแรก สมัยสมเด็จพระนารายณ ทําท่ีเมืองจีน ไมระบุแหลงเตา............................................................................. 55 91 ฝาจุกภาชนะประเภทเคลือบเขียว............................................................. 55 92 ชามปากผาย เขียนสีดําใตเคลือบ ราชวงศเตริ่น เวียดนาม ราวปลายพุทธศตวรรษท่ี19– กลางพุทธศตวรรษท่ี20.................... 56 93 เครื่องถวยเวียดนาม หรืออันหนาน.......................................................... 56 94 บริเวณแหลงโบราณคดีวัดปน................................................................. 58 95 เศียรพระพุทธรูปหินแอนดิไซด สมัยทวารวด.ี........................................ 65

Page 13: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

ภาพท่ี หนา 96 ตุกตาดินเผา สมัยทวารวดี........................................................................ 65 97 เศษภาชนะดินเผามีสัน สมัยทวารวดี...................................................... 66 98 เศษภาชนะดินเผามีสัน............................................................................. 66 99 ช้ินสวนเศษภาชนะดินเผาสวนปาก.......................................................... 67 100 พวยกาดินเผา............................................................................................ 67 101 ช้ินสวนพวยกาดินเผา............................................................................... 68 102 ช้ินสวนกระเบ้ืองเชิงชายรูปใบหนาบุคคลสวมศิราภรณ.......................... 68 103 ฝาจุกจากแหลงเตาบุรีรัมยพบท่ีแหลงโบราณคดีวัดปน............................ 69 104 เบ้ียดินเผา พบท่ีแหลงโบราณคดีวดัปน.................................................... 69 105 ตุกตาดินเผา เตาปายาง สุโขทัย................................................................. 69 106 เศษกระเบ้ืองเชิงชายลายพรรณพฤกษาและลายเทพพนม......................... 70 107 กระเบ้ืองเชิงชายลายเทพพนม.................................................................. 70 108 ตะปูปลิง................................................................................................... 70 109 ช้ินสวนพระพุทธรูปปูนปน...................................................................... 71 110 ช้ินสวนพระพุทธรูปทองเหลือง................................................................ 71 111 ช้ินสวนฐานพระพุทธรูปทองเหลือง......................................................... 71 112 ช้ินสวนลําตัวพระพุทธรูปสําริด................................................................ 72 113 เศียรพระพุทธรูปทองเหลือง สมัยอยุธยา................................................... 72 114 เศียรพระพุทธรูปหินทราย ทาสีแดงชาดท่ีพระพักตร สมัยอยุธยา............. 72 115 แทนหินบด................................................................................................ 73 116 ช้ินสวนกลองยาสูบ เตาสุโขทัย................................................................. 73 117 เบ้ียเนื้อกระเบ้ือง(ป).................................................................................. 73 118 เบ้ียดินเผา.................................................................................................. 74 119 เบาดินเผา.................................................................................................. 74 120 ตางหูโลหะแบบเสนลวดขดเปนวงกลม ไดจากการขุดคนทาง โบราณคดีท่ีบานวังไผ................................................................... 77 121 ช้ินสวนดินเผารูปบุคคลสวมศิราภรณรูปแบบศิลปะสมัยลพบุร ี พบท่ีพระปรางคสามยอด............................................................... 83

Page 14: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

1

บทที่ 1 บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

จากการดําเนินงานทางดานโบราณคดีในบริเวณเมืองลพบุรีท่ีผานมา ทําใหทราบวา เมืองลพบุรีเปนศูนยกลางของความเจริญรุงเรืองแหงหนึ่งในบริเวณภาคกลางของประเทศไทย ลักษณะของปจจัยทางภูมิศาสตรก็เปนส่ิงเอ้ืออํานวยใหมนุษยเขามาตั้งถ่ินฐานในบริเวณเมืองลพบุรีนี้ดวยเชนกัน ซ่ึงหลักฐานทางโบราณคดีสามารถยืนยันไดวามีผูคนกลุมแรกเขามาอาศัยอยูเมืองลพบุรีอยางนอยราว 3,000 ปมาแลว และมีพัฒนาการอยูอาศัยตอเนื่องกันมาไมขาดสาย1

ตัวเมืองลพบุรีจากการศึกษาท่ีผานมาและหลักฐานทางโบราณคดีท่ีปรากฏ จะเห็นวามีโบราณสถาน โบราณวัตถุท่ีมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากยุคสมัยตาง ๆ จึงเปนไปไดวาเมืองลพบุรีมีการรับเอาวัฒนธรรมตาง ๆ ท่ีเผยแผเขามาในแตละชวงเวลานั้น ๆ ดวย

บริเวณเมืองลพบุรีมีแหลงโบราณคดีหลายแหงท่ีมีการดําเนินงานทางดานโบราณคดีมาแลว และสามารถนํามาลําดับถึงพัฒนาการทางวัฒนธรรมได

แหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรก็เชนกัน เปนแหลงโบราณคดีแหงหนึ่งท่ีมีความโดดเดนทางดานสถาปตยกรรมในสมัยอยุธยา และจากการฝกภาคสนามในปพ.ศ.2549ท่ีแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรทําใหผูวิจัยสนใจท่ีจะทําการศึกษาถึงพัฒนาการทางวัฒนธรรมท่ีเกิดขึ้นในบริเวณแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรนี้วามีพัฒนาการทางวัฒนธรรมมาตั้งแตเม่ือใดและมีพัฒนาการรวมกับแหลงโบราณคดีอ่ืน ๆ ภายในเมืองลพบุรีหรือไม

ในการศึกษาครั้งนี้ไดทําการศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมของแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรควบคูไปกับแหลงโบราณคดีวัดปน เนื่องจากไดมีการขุดคนโดยสํานักศิลปากรท่ี4 ลพบุรี ในปพ.ศ.2550 และแหลงโบราณคดีวัดปนนั้นมีพ้ืนท่ีตอเนื่องกับแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรดวย จึงทําใหสามารถนําขอมูลท่ีไดจากการขุดคนทางโบราณคดีมาศึกษาเปรียบเทียบและลําดับถึงพัฒนาการทางวัฒนธรรมของแหลงโบราณคดีท้ังสองโดยในการศึกษาครั้งนี้ไดเรียกแหลงโบราณคดีวัดปนวาแหลงโบราณคดีใกลเคียง

1ภูธร ภูมะธน, ความสําคัญของคูเมืองคันดินกําแพงเมืองลพบุรี ปญหาการบุกรุกทําลาย

และแนวทางแกไข (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2534), 3-4.

Page 15: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

2

การศึกษาท่ีผานมาของแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร

พ.ศ. 2530 กรมศิลปากรทําการขุดคนบริเวณบานวิชาเยนทร โดยมีจุดประสงคท่ีจะหาขอมูลเกี่ยวกับความเปนมาของพ้ืนท่ีวาเคยมีอะไรเกิดขึ้นในบริเวณนี้บาง และจากการขุดคนพบวามีการอยูอาศัย 2 สมัยดวยกัน2

ในระหวางวันท่ี 20 กุมภาพันธ – 6 มีนาคม 2549 ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ไดนํานักศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอก สาขาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร ทําการขุดคนแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรบริเวณดานหนาโบสถคริสต เพ่ือนําขอมูลมาตรวจสอบกับการศึกษาเดิม โดยเฉพาะอยางยิ่งคนหารองรอยกิจกรรมในสมัยทวารวดีเพ่ิมเติม แตในการขุดคนครั้งนี้ดําเนินการไดเพียงระดับท่ีลึกลงไปจากผิวดินประมาณ 2.50 เมตรเทานั้น เนื่องดวยขอจํากัดเรื่องระยะเวลา จากการศึกษาช้ันดิน และหลักฐานท่ีไดจากการขุดคนสรุปไดในขณะนี้วา พ้ืนท่ีท่ีทําการขุดคนพบวามีการใชพ้ืนท่ีสองสมัยหลัก ๆ คือ การนําดินมาถมในสมัยอยุธยา และการถมปรับพ้ืนท่ีในสมัยปจจุบัน โดยพบเศษภาชนะดินเผาและเศษกระเบ้ืองดินเผาท่ีเปนของสมัยอยุธยาและสมัยปจจุบัน และเศษภาชนะดินเผาบางช้ินก็เปนของท่ีมาจากแหลงเตาตางประเทศ เชน จีน ญี่ปุน เวียดนาม เปนตน3 การดําเนินงานทางดานโบราณคดีท่ีผานของแหลงโบราณคดีวัดปน

มีการดําเนินงานทางดานโบราณคดีมาตั้งแตปพ.ศ.2479 เปนตนมา และทําการขุดคนทางโบราณคดีในปพ.ศ.2550

2รายงานการขุดคนทางโบราณคดี บานหลวงรับราชทูต โดย โครงการบูรณะ

โบราณสถานลพบุรี 5/2530. 3สฤษดิ์พงศ ขุนทรง, “บานวิชาเยนทร : การขุดคนทางโบราณคดีครั้งลาสุด,” เมือง

โบราณ 32, 4 (ตุลาคม – ธันวาคม 2549) : 16-17.

Page 16: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

3

ความมุงหมายในการศึกษา ทําการศึกษาถึงพัฒนาการทางวัฒนธรรมของแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรและแหลง

โบราณคดีใกลเคียงโดยใชหลักฐานเอกสารและหลักฐานทางโบราณคดีท่ีปรากฏ เพ่ือลําดับถึงพัฒนาการทางวัฒนธรรมของแหลงโบราณคดีท้ังสอง ขอบเขตของการศึกษา

ในการศึกษาครั้งนี้ไดใชขอมูลจากหลักฐานเอกสารนํามาวิเคราะหรวมกับหลักฐานทางโบราณคดี และนํามาลําดับถึงพัฒนาการทางวัฒนธรรม วิธีการศึกษา

1. รวบรวมขอมูลดานตาง ๆ จากเอกสารท่ีเกี่ยวของ 2. รวบรวมขอมูลท่ีไดจากการดําเนินงานทางดานโบราณคดีบริเวณแหลงโบราณคดีบาน

วิชาเยนทร และแหลงโบราณคดีใกลเคียงในเมืองลพบุร ี3.นําขอมูลจากการดําเนินงานทางดานโบราณคดีบริเวณแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร

และการดําเนินงานทางดานโบราณคดีแหลงโบราณคดีใกลเคียงในจังหวัดลพบุรีมาศึกษาวิเคราะห 4. จัดพิมพวิทยานิพนธพรอมนําเสนอ

แหลงขอมูล 1. แหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรและแหลงโบราณคดีใกลเคียง 2. หอสมุดวังทาพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร 3. หองสมุดสํานักโบราณคดี ทาวาสุกร ี4. หองสมุดสํานักศิลปากรท่ี4 ลพบุร ี5. พิพิธภัณฑสถานแหงชาติสมเด็จพระนารายณ จังหวัดลพบุร ี

Page 17: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

4

บทท่ี 2 แหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรและแหลงโบราณคดีใกลเคียง

แหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร บานหลวงรับราชทูต หรือ บานวิชาเยนทร สรางขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณเม่ือคราว

ท่ีคณะราชทูตของพระเจาหลุยสท่ี 14 เ ดินทางเขามาเพ่ือสรางพระราชไมตรีกับสยามถึง 2 ครั้ง โดย

ในครั้งแรกเอกอัคราชทูตคือ เชอวาเลีย เดอ โชมองต เปนผูนําพระราชสานสมาถวายสมเด็จพระ

นารายณ ราวเดือนกันยายน - ธันวาคม พ.ศ.2228 และครั้งท่ี2 เอกอัคราชทูตคือ เดอ ลาลูแบร

เดินทางมาราวเดือนกันยายน พ.ศ. 2230 - เดือนมกราคม พ.ศ.2231 ในชวงเวลาเดียวกันนั้นเองสยาม

ก็มีชาวตางชาติชนชาติกรีกท่ีเขามารับราชการในสมัยสมเด็จพระนารายณ ช่ือวา ฟอลคอน ทํางาน

จนเปนท่ีทรงพอพระราชหฤทัยจนกระท่ังไดรับตําแหนงหนาท่ีทางราชการสูงสุดคือ สมุหนายก มี

ตําแหนงเปน ออกญาวิชาเยนทร หรือเจาพระยาวิชาเยนทร และเนื่องดวยตําแหนงหนาท่ีการงานท่ี

ตองตามรับใชใตเบ้ืองพระยุคลบาทของสมเด็จพระนารายณนี้เอง จึงทําใหตองตามเสด็จมาท่ีเมือง

ลพบุรีอยูเนื่อง ๆ จนกระท่ังไดมีการสรางนิวาสสถานขึ้นเพ่ือเปนท่ีพักอาศัยของขุนนางผูนี้ และมี

การสรางบานหลวงรับราชทูตขึ้นในบริเวณเดียวกันนี้ดวย

ท่ีตั้ง ตําบลทาหิน อําเภอเมือง จังหวัดลพบุร ี ละติจูด 14 องศา 47 ลิปดา 10 ฟลิปดา เหนือ ลองจิจูด 100 องศา 36 ลิปดา 30 ฟลิปดา ตะวันออก พิกัดแผนท่ี ระวาง 5138 IV ลําดับชุด L 7017 พิมพครั้งท่ี1 - RSTD จังหวัดลพบุรี

พิกัด 737367

อาณาเขตติดตอ

ทิศเหนือ ติดกับถนนบนเมือง

ทิศตะวันออก ติดกับอาคารพาณิชย

ทิศตะวันตก ติดกับโบราณสถานวัดปน และศาลลูกศร

ทิศใต ติดกับถนนวิชาเยนทร

Page 18: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

5

ภาพท่ี 1 ประตูทางเขาหนาบานวิชาเยนทร

ภาพท่ี 2 ภายในบริเวณบานวิชาเยนทร

Page 19: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

6

แผนผังบานวิชาเยนทร

ภาพท่ี 3 แผนผังบานวิชาเยนทร บานวิชาเยนทรแบงออกเปน 3 สวน ดังนี้ 1.ดานทิศตะวันตก ในสวนนี้มีกลุมอาคารกออิฐถือปูนมีท้ังอาคารสองช้ัน และอาคาร

ช้ันเดียว อาคารในพ้ืนท่ีสวนนี้นาจะใชท่ีสรางบานพักรับรองราชทูต เม่ือคราวเดินทางมาในสมัย

สมเด็จพระนารายณ ในสวนนี้มีประตูทางเขาดานทิศใต 1 ประตู

ภาพท่ี 4 บริเวณบานพักรับรองราชทูต ทิศใต ภาพท่ี 5 บริเวณบานพักรับรองราชทูต ทิศเหนือ

Page 20: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

7

2. พ้ืนท่ีสวนกลาง ในพ้ืนท่ีสวนนี้มีอาคารท่ีสําคัญคือโบสถคริสต เปนอาคารท่ีมีแบบและแผนผัง

เปนอาคารแบบยุโรป แตซุมประตูหนาตางเปนซุมเรือนแกวตามแบบศิลปะไทยในสมัยอยุธยา

ดานหนาโบสถคริสตมีกลุมอาคารขนาดเล็ก ๆ สันนิษฐานวานาจะเปนหอระฆัง มีประตูทางเขาดาน

ทิศใต 1 ประตู

ภาพท่ี 6 ภาพโบสถคริสตและหอระฆัง

ภาพท่ี 7 ซุมประตูเรือนแกวทางเขาโบสถคริสตดานทิศเหนือ / ทางเขาโบสถคริสตดานทิศ ตะวันออก

Page 21: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

8

3. ดานทิศตะวันออกเปนอาคารกออิฐถือปูน 2 ช้ัน เปนอาคารขนาดใหญ ซุมประตูและ

หนาตางเปนศิลปะแบบยุโรป ศิลปะเรอเนสซองต(Renaissence) ซ่ึงเปนท่ีนิยมในยุโรปในขณะนั้น

บันไดทางขึ้นบริเวณหนาบานวิชาเยนทรเปนรูปครึ่งวงกลม มีประตูทางเขา 2ประตู คือดานทิศใต 1

ประตู และดานทิศตะวันออก 1 ประตู

ภาพท่ี 8 บริเวณหนาบานวิชาเยนทร

ภาพท่ี 9 อาคารบานวิชาเยนทรบริเวณดานหลัง

Page 22: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

9

การดําเนินงานดานโบราณคดีและการศึกษาท่ีผานมา

พ.ศ. 2479 ประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานในราชกิจจานุเษกษา เลม 53 ตอนท่ี 24

วันท่ี 2 สิงหาคม พ.ศ. 2479 พ.ศ. 2507 อ.ปรีชา กาญจนาคม (สัมภาษณเม่ือวันท่ี 24 สิงหาคม 2549) ทําการขุดคนแต

ไมมีรายงานการขุดคนทางโบราณคดี เหตุผลท่ีเลือกขุดบานวิชาเยนทรเพราะ บานสรางขึ้นบริเวณ

คุงน้ํา อาจจะมีการสรางเขื่อนเพราะปลูกบานขวางทางน้ําอยู ทําการขุดบริเวณอาคารหลังแรกตรง

ทางเขาประตูใหญ หางจากตัวอาคารประมาณ 1 เมตร ขุดหลุมขนาด 1.50 × 1.50เมตร ใชเวลาขุด

คน 7 วัน ไมเจอดินเดิม ขุดได 15เซนติเมตรแรกเปนช้ันดินปจจุบันอยู หลังจากนั้นเปนดินถม ขุดลึก

ประมาณ 6-7 เมตร ประมาณช้ันท่ี7 เจอชั้นทรายแมน้ํา และนํ้าเริ่มเขาจึงหยุดขุด พบเศษภาชนะดิน

เผาสมัยอยุธยา สุโขทัย ทวารวดี ทุกช้ันดิน เหมือนจะไปนําดินบริเวณในจังหวัดลพบุรีมาถมท่ีบานวิ

ชาเยนทร มีการพบหอยขมในชั้นดินเนื่องจากนําดินบริเวณริมแมน้ําโกยลงใสแพและนํามาถมท่ีบาน

วิชาเยนทรนี้ ลักษณะฐานอาคารกอหินบนดินอัด ช้ันฐานรากไมถึงเมตร พ.ศ. 2529 โครงการบูรณะโบราณสถานลพบุรีทําการบูรณะอาคารตาง ๆ บางสวน แต

ยังไมมีการเก็บขอมูลทางดานวิชาการ

พ.ศ. 2530 ทําการขุดคนทางโบราณคดี โดยหนวยศิลปากรท่ี1 ลพบุรี กรมศิลปากร

พบวาพ้ืนท่ีบริเวณบานวิชาเยนทรไดมีการเขาอยูอาศัย อยางนอย 2 สมัยคือ สมัยทวารวดี พบ

หลักฐานในระดับความลึก 390-400 Cm.Dt. ช้ันดินท่ี8-9 พบแนวอิฐเรียง ภาชนะดินเผาเนื้อหยาบมี

สัน ประติมากรรมคนจูงลิง รูปหนาบุคคล ลูกปด ตางหูตะกั่ว สวนในช้ันดินท่ี1-5นั้นพบ เศษ

ภาชนะดินเผาท่ีเปนสมัยปจจุบัน รวมกับเศษกระเบ้ืองมุงหลังคา และตอมาก็พบเศษภาชนะดินเผาท่ี

คงรวมสมัยกับบานวิชาเยนทร พ.ศ. 2530 พูลศรี จีบแกว เขียนบทความเรื่อง ตึกฝรั่งในเมืองลพบุรี กลาวถึงเหตุผลใน

การสรางเมืองลพบุรีเปนราชานีสํารอง และวิวัฒนาการของตะวันตกท่ีแพรเขามายังเมืองลพบุรีใน

สมัยสมเด็จพระนารายณ ทําใหเกิดส่ิงกอสรางใหม ๆ เชนมีการสรางอาคารดวยการกออิฐถือปูน 2

ช้ันเกิดขึ้น มีระบบการประปา การประดับน้ําพุท่ีสวนตามแบบฝรั่ง

พ.ศ. 2537 นงคราญ ศรีชาย เขียนบทความเรื่อง “บานวิชาเยนทร หรือบานหลวงรับ

ราชทูต”1 โดยตั้งขอสังเกตวาบานวิชาเยนทรกับบานหลวงรับราชทูตนั้น อาคารใดสรางขึ้นกอนกัน

จากการศึกษาเอกสารของผูเขียนทําใหผูเขียนเชื่อวา บริเวณบานหลวงรับราชทูตนั้นสรางขึ้นเพ่ือเปน

ท่ีพํานักของฟอลคอนกอน เม่ือมีคณะราชทูตฝรั่งเศสชุดแรกเขามาคงจะพักอาศัยท่ีอาคารหลังใด

1 นงคราญ ศรีชาย, “บานวิชาเยนทรหรือบานหลวงรับราชทูต,”เมืองโบราณ.20,4(ต.ค-

ธ.ค. 2537), 31-34.

Page 23: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

10

หลังหนึ่งในบริเวณบานหลวงรับราชทูตนี่เอง และจากการขุดแตงโดยโครงการบูรณะโบราณสถาน

เมืองลพบุรี ปงบประมาณ 2530 พบแนวฐานรากกําแพงกั้นอาคารท่ีพักภายในบาน วิชาเยนทรกับ

โรงสวด สวนดานท่ีเปนโรงครัวไมมีแนวกําแพงกั้น ทําใหผูเขียนเชื่อวา สวนท่ีเปนบานพักรับรอง

ราชทูตสรางขึ้นภายหลังคณะทูตฝรั่งเศสชุดแรกเดินทางกลับไป ราวตนปพ.ศ. 2229 และเหตุท่ีสราง

บานหลวงรับราชทูตเนื่องมาจากความขลุกขลักในเรื่องการจัดท่ีพักรับรอง และเพ่ือเปนการ

เทิดพระเกียรติและกระชับสัมพันธไมตรีกับพระเจาหลุยสท่ี14 แหงฝรั่งเศสดวย

พ.ศ.2549 ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร นํานักศึกษาระดับ

ปริญาโท ภาควิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร ทําการขุดคนทางโบราณคดีท่ีบานหลวงรับราชทูต

หรือบานวิชาเยนทร พ.ศ. 2549 สฤษดิ์พงษ ขุนทรง เขียนบทความเรื่อง “บานวิชาเยนทร : การขุดคนทาง

โบราณคดีครั้งลาสุด” 2 จากการท่ีภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ไดนํา

นักศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอก สาขาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร ภายใตการควบคุม

ของ ศ.ดร. ผาสุข อินทราวุธ และผศ.ดร.จิรัสสา คชาชีวะ ทําการขุดคนเม่ือวันท่ี20กุมภาพันธ ถึง 6

มีนาคม พ.ศ.2549 โดยทําการขุดคนบริเวณหนาโบสถคริสต หลุมขุดคนมีขนาด 4×4 เมตร แตเนื่อง

ดวยขอจํากัดเรื่องระยะเวลาการขุดคนดําเนินไปไดเพียง 2.50เมตรจากผิวดิน จากการกระจายตัวของ

หลักฐานทางโบราณคดีรวมกับช้ันดิน สรุปไดวามีรองรอยของการทํากิจกรรมสองสมัยหลัก ๆ คือ

การนําดินมาถมในสมัยอยุธยาและการถมปรับพ้ืนท่ีในสมัยปจจุบัน โบราณวัตถุท่ีพบแมวาจะไม

สามารถกําหนดอายุช้ันทับถมทางวัฒนธรรมไดอยางแนนอน โดยเฉพาะเศษกระเบ้ืองดินเผา เศษ

ภาชนะดินเผา ท่ีพบเปนจํานวนมากในการขุดคนครั้งนี้ โบราณวัตถุอ่ืนๆท่ีพบ แชน แวดินเผา

ตะคันดินเผา หอยเบ้ีย ลูกปด เปนตน สําหรับหลักฐานท่ีนาสนใจเปนพิเศษไดแกเครื่องถวยจีน สมัย

ราชวงศซุง(พ.ศ.1503-1822) ราชวงศหยวน(พ.ศ.1823-1911) ราชวงศหมิง(พ.ศ.1911-2187)

ราชวงศชิง(พ.ศ.2187-2454) เศษเคร่ืองถวยญี่ปุนราวพุทธศตวรรษที2่2 เศษเคร่ืองถวยเวียดนาม ราว

พุทธศตวรรษท่ี19-20 เศษเครื่องถวยเปอรเซีย ซ่ึงสะทอนใหเห็นการติดตอสัมพันธกันอยาง

กวางขวางระหวางบานเมืองบนผืนแผนดินไทยโดยเฉพาะในสมัยอยุธยากับนานาประเทศไดเปน

อยางด ี

2 สฤษดิ์พงษ ขุนทรง, “บานวิชาเยนทร:การขุดคนทางโบราณคดีครั้งลาสุด,”เมืองโบราณ.

32,4(ต.ค.-ธ.ค.2549),16-17.

Page 24: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

11

พ.ศ. 2549 นิติกร สังแกว ทํารายงานเรื่อง “การศึกษาสวนบุคคล : การศึกษา

สถาปตยกรรมบานวิไชเยนทร บานหลวงรับราชทูต”3 เสนอตอ ผศ.สาทิศ ชูแสง ภาควิชาศิลป

สถาปตยกรรม สรุปความวา การสรางสถาปตยกรรมแบบนิยมตะวันตกในสมัยสมเด็จพระนารายณ

นั้น พระองคมิไดปดกั้นความหลากหลายการนับถือศาสนา ซ่ึงอาคารโบสถคริสตท่ีสรางขึ้นในสมัย

สมเด็จพระนารายณนี้อาจะมีขอจํากัดในเรื่องของวัสดุดวยก็เปนได แตอยางไรก็ตาม ความเปน

ตะวันตกท่ีปรากฏในอาณาจักรอยุธยานี้ อาจกลาวไดวาเปนเพียงแคความนิยมตะวันตกในแบบพื้น

ถ่ินและการใชงานนั้นก็สอดคลองเหมาะสมกับสภาพแวดลอมมากกวา เชน ชองเจาะ การเขามา

ของวัฒนธรรมตะวันตกในสมัยสมเด็จพระนารายณนั้นไดเกิดการพัฒนาในหลาย ๆระดับ ตั้งแต

ระดับการเมืองการปกครองโดยใหชาวตางชาติเขามาควบคุมหนาท่ีสําคัญในระบบราชการแลว ยัง

เปนชนวนใหเกิดความพิเศษในวงการสถาปตยกรรม เกิดการเปล่ียนแปลงขนาดใหญ และถายเท

รูปแบบของพัฒนาการนี้มาสูเมืองหลวงเกิดเปนสายพัฒนาการอยางคูขนานไปจนส้ินสมัยอยุธยา

3 นิติกร สังแกว.การศึกษาสถาปตยกรรมบานิไชเยนทร บานหลวงรับราชทูต .(กรุงเทพฯ)

: สาขาวิชาประวัติศาสตรสถาปตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.2549. รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของนิติ

การศึกษาวิชา 262-433 สุนทรียศาสตรกับสถาปตยกรรม สาขาวิชาประวัติศาสตรสถาปตยกรรม

มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2549.

Page 25: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

12

ภาพท่ี 10 ภาพสันนิษฐานโบสถคริสตในสมัยสมเด็จพระนารายณ

หลักฐานเอกสาร ท่ีเกี่ยวของกับบานวิชาเยนทรมีดังนี ้ ในบันทึกของบาทหลวงเดอ ชัวซีย กลาวไววา

“16 พฤศจิกายน พอเราเตรียมจะออกเดินทางตอ ม.โปรมารต ซ่ึงเปนเลขานุการของ ม.

ก็องสตังซก็มาถึง ขอรองใหทานราชทูตพักอยูท่ีนั่นสักสองสามวันกอน เพราะวาเรือนพักรับรอง

ของทานท่ี

“17พฤศจิกายน.............ตอนแปดโมงเย็น(สองทุม) เราก็ไดมาถึงเมืองละโว ชานเมือง

นั้นมีบานผูเรือนคนเรียงรายอยูแผออกไปถึงครึ่งลิเออทํานองเดียวกันกับท่ีสยาม(กรุงศรีอยุธยา). เจา

เมืองไดออกมาตอนรับทานราชทูตท่ีประตูนอก และนําไปท่ีเรือนพักรับรอง มีขุนนางยี่สิบคนถือ

คบเพลิงเดินนําหนา เรือนพักหลังนี้นาอยู ตกแตงอยางธรรมดา ๆ มีหองโถงท่ีงามมาก ติดตั้งพระ

บรมสาทิสลักษณของสมเด็จพระเจาอยูหัว ทุกคนไดท่ีพักเปนท่ีเรยีบรอย ม.ก็องสตังซมาเยี่ยมเยียน

เพ่ือใหเกียรติพวกเรา. ”4

4 บาทหลวงเดอชัวซีย, จดหมายเหตุรายวัน การเดินทางสูประเทศสยามในป ค.ศ.1685

และ 1686ฉบับสมบูรณ, แปลโดย สันต ท.โกมลบุตร.( กรุงเทพ ฯ:กาวหนา, 2516),272-273.

Page 26: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

13

ในบันทึกการเดินทางของบาทหลวงตารชารดไดเขียนไวดังนี ้ “วันท่ี17 พฤศจิกายน 2228 ทางการไดจัดรับรองทานราชทูตท่ีทําเนียบของ ม.ก็องสตังซ

ซ่ึงพระเจาแผนดินโปรดใหสรางพระราชทานเพ่ิงจะแลวเสร็จ....เขาหวังวาทานราชทูตคงจะไม

รังเกียจท่ีจะพํานักอยูในบานชองหองหออันเปนเคหาสถานของพวกเขา”5

ในบันทึกการเดินทางของบาทหลวงตาชารดท่ีเดินทางเขามาสยามครั้งท่ี2 ไดบันทึกเกี่ยวกับบานวิ

ชาเยนทรดังนี้ “......เขาไดจัดเตรียมนิวาสสถานหลังงามซ่ึงไดสรางขึ้นมาเปนเวลาสองปมาแลวไวให

อยูใกลชิดติดกับหลังท่ีสรางขึ้นเม่ือคราวเดินทางครั้งท่ีแลว อันเปนท่ีพักรองรับทานราชทูต เชอวา

ลิแยร เดอโชมองต หลังใหมนี้ยังงดงามย่ิงขึ้นไปอีกและนาอยูกวาหลังแรกมาก ไดรับการตกแตง

ดวยเครื่องเรือนอยางหรูหราและมีหองหับท่ีแสนสะดวกสบาย ซ่ึงนายทหารอาจเขาพักอยูดวยอีกได

กวาสามสิบนาย โดยไมนับพวกคนรับใชอีกตั้งยี่สิบคนหรือยี่สิบหาคน ซ่ึงเขาพักอยูดวยท้ังหมด

อยางไมแออัดยัดเยียด”6

การขุดคนบานวิชาเยนทรปพ.ศ. 2530 เร่ิมทําการขุดคน 29 มีนาคม พ.ศ.2530 แลวเสร็จในวันท่ี 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 ผูทําการขุดคนนางสาวพูลศรี ฉลาดแพทย ขนาดหลุมขุดคน ความกวาง 3 เมตร ความยาว 3 เมตร ลึก 5 เมตร

บริเวณท่ีทําการขุดคน ทิศตะวันออกริมกําแพง ขางตึกพักของคณะทูต หลักฐานท่ีเปนโบราณสถาน พบอยูในช้ันดินระดับท่ี390-400 Cm.Dt ลักษณะท่ีพบเปนอิฐกอเปนแนวอยูทางทิศ

ตะวันออกเฉียงเหนือยาวจนจรดทางดานทิศตะวันออกเฉียงใตของหลุมขุดคน พบเปนแนวเฉียง ตรง

ดานทิศเหนือกวาง 50 เซนติมตร ทิศใตกวาง 100 เซนติเมตร และตรงกลางของแนวโบราณสถานนี้

พบวาเปนหลุมกลมซ่ึงอาจจะเปนหลุมเสา? บนแนวอิฐดานบนไดพบรองรอยปูนขาวดวย ลักษณะ

คงจะเปนพ้ืนของโบราณสถาน สันนิษฐานวาคงจะเปนซากโบราณสถานสมัยทวารวดีอายุราว พ.ศ.

5 บาทหลวงตาชารด,การเดินทางของบาทหลวงตาชารด เลม1-3: ฉบับลายมือเขียนท่ีคัด

มาจากตางประเทศ(กรุงเทพ : กรมศิลปากร,2521),44.

6 เรื่องเดียวกัน ,132.

Page 27: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

14

1200 -1600 เพราะจากลักษณะของอิฐท่ีพบเปนลักษณะของอิฐสมัยทวารวดีท่ีมีขนาดใหญ โดยมี

ความกวาง 21 เซนติเมตร ยาว 35 เซนติเมตร หนา 9.5 เซนติเมตร

หลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบ

อายุสมัย โบราณวัตถุท่ีพบ ทวารวดี อายุราวพุทธศตวรรษ

ท่ี12-16

โบราณสถาน -พบอิฐกอเปนแนวเฉียง แนวอิฐดานทิศเหนือ

กวาง 50 เซนติเมตร ทิศใตกวาง 100 เซนติเมตร

ตรงกลางของแนวโบราณสถานเปนหลุมกลม

พบรองรอยปูนขาวบนแนวอิฐรวมกันดวย

สันนิษฐานวาเปนอิฐสมัยทวารวดี7 อิฐท่ีพบมี

ขนาดกวาง21 เซนติเมตร ยาว 35 เซนติเมตร หนา9.5 เซนติเมตร ประเภทดินเผา -ตะคันดินเผา -แวดินเผา -ลูกกระสุนดินเผา -เบ้ียดินเผา -พวยกาดินเผา -ฝาจุกดินเผารูปสิงหโต -ประติมากรรมรูปหนาบุคคล และรูปคนจูงลิง -ภาชนะดินเผาเนื้อ stone ware , Earthen ware ท้ัง

เคลือบและไมเคลือบ

-เศษภาชนะดินเผาสวนท่ีเปนสัน,ลายเชือกทาบ,

ลายจักสาน,ลายประทับรูปดอกไม

7รายงานการขุดคนทางโบราณคดีบานหลวงรับราชทูต โดยโครงการบูรณะโบราณสถาน

ลพบุรี 5/2530,24 (เอกสารอัดสําเนา).

Page 28: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

15

หลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบ(ตอ)

อายุสมัย โบราณวัตถุท่ีพบ ทวารวดี อายุราวพุทธศตวรรษ

ท่ี12-16

ประเภทแกว

-ลูกปดแกว สีฟาใส,สีเขียวใส,สีดําทึบ.สีเขียวขุน.

สีน้ําเงินเขม,สีน้ําตาลแดง,สีเหลือง,สีเขียวขุน,สี

ฟาเขม,สีเขียวออน

ประเภทโลหะ

-ตางหูโลหะ

-เศษสําริด

-ช้ินสวนโลหะ

สมัยลพบุรอีายุราวพุทธ

ศตวรรษท่ี16-18

-เศษช้ินสวนภาชนะดินเผาแหลงเตาบานกรวด

บุรีรัมย -ไมพบหลักฐานประเภทโบราณสถาน

สมัยอยุธยาอายุราวพุทธ

ศตวรรษท่ี20-23

โบราณสถาน -กลุมอาคารบานวิชาเยนทร ไดแกโบสถ,ซาก

อาคารบานรับราชทูต,บานวิชาเยนทร ,โรงครัว

ประเภทดินเผา -เศษภาชนะดินเผา Earthen ware, Stone ware

-เศษภาชนะดินเผาแหลงเตาบานบางปูน

-เศษเครื่องถวยดินเผาแหลงเตาประเทศจีนอายุ

ราวพุทธศตวรรษที่22-23

-เศษภาชนะดินเผาแหลงเตาประเทศญี่ปุนอายุ

ราวพุทธศตวรรษที่22-23 -เศษภาชนะดินเตาสุโขทัย, ศรีสัชนาลัย ,เตาปา

ยาง

-กลองยาสูบดินเผาฮอลันดา

ทองคํา -แผนทองคํารูปหอยสังข -แผนทองคําพระพุทธรูป

-แหวน

Page 29: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

16

โบราณวัตถุสมัยทวารวดี

ภาพท่ี 11 ตุกตาดินเผารูปคนจูงลิง และรูปหนาบุคคลดินเผา

ภาพท่ี 12 ภาชนะดินเผาแบบมีสัน สมัยทวารวดี อายุราวพุทธศตวรรษที1่2-16

ภาพท่ี 13 แทงดินเผาแบนยาวปลายมน ตกแตงลวดลายท้ังสองดาน

Page 30: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

17

ภาพท่ี 14 พวยกาดินเผาพบท่ีแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร

ภาพท่ี 15 ตางหูโลหะพบท่ีแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร

ภาพท่ี 16 แวดินเผาพบท่ีแหลงโบราณคดบีานวิชาเยนทร

Page 31: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

18

ภาพท่ี 17 ตะคันดินเผาจากแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร

ภาพท่ี 18 ตะคันดินเผาจากแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร

Page 32: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

19

ภาพท่ี 19 ฝาจุกดินเผารูปสิงโต พบท่ีแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร

ภาพท่ี 20 เบ้ียดินเผาพบท่ีแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร

Page 33: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

20

โบราณวัตถุสมัยอยุธยา

ภาพท่ี 21 เศษเคร่ืองปนดินเผาตกแตงลวดลายปนแปะและประทับขูดขีด แหลงเตาบานบางปูน

ภาพท่ี 22 สวนไหลของไหภาชนะดินเผาเนื้อแกรง ตกแตงลายกดประทับรูปชางและรูปมาในชอง

ส่ีเหล่ียม แหลงเตาบานบางปูน จังหวัดสุพรรณบุรี อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 18 -19

ภาพท่ี 23 สวนคอเจดีย ประเภทดินเผาเนื้อหยาบ แหลงเตาวัดพระปรางค ชันสูตร ต.เชิงกลัด

อ.บางระจัน จ.สิงหบุรี อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 19 – 23

Page 34: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

21

ภาพท่ี 24 กระปุกดินเผา แหลงเตาวัดพระปรางค ชันสูตร ต.เชิงกลัด อ.บางระจัน จ.สิงหบุรี อายุราว

พุทธศตวรรษที่ 19 – 23

ภาพท่ี 25 เศียรพระพุทธรูปดินเผา สมัยอยุธยา อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 19- 23

ภาพท่ี 26 ตุกตาดินเผา

Page 35: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

22

ภาพท่ี 27 ตุกตาดินเผารูปไก

ภาพท่ี 28 ศีรษะตุกตาดินเผา

ภาพท่ี 29 ตุกตาดินเผา

Page 36: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

23

ภาพท่ี 30 กลองยาสูบดินเผา

ภาพท่ี 31 เบาหลอมดินเผา

ภาพท่ี 32 เคร่ืองถวยจีน ช้ินสวนโถเคลือบเขียวขนาดใหญ

Page 37: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

24

ภาพท่ี 33 เคร่ืองถวยจีนฝาจุกภาชนะเคลือบเขียว สวนบนนูนขึ้นแตตัดแบน

ภาพท่ี 34 เคร่ืองถวยจีน จานเคลือบเขียวเซลาดอนขนาดใหญ ขูดขีดลายใตเคลือบ

ภาพท่ี 35 ชามเคลือบเขียว แหลงเตาจางโจวมณฑลฝูเจี้ยน

Page 38: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

25

ภาพท่ี 36 ช้ินสวนชามเคลือบเขียวอมเหลือง เคลือบท้ังดานนอกดานในภาชนะ ท่ีลําตัวดานเคลือบ

เพียงคร่ึงใบ อีกครึ่งใบชวงลางเคลือบดวยน้ําดินสีแดง กนภาชนะไมมีการเคลือบ

ภาพท่ี 37 กระปุก ตลับ เคลือบขาว

ภาพท่ี 38 กระปุกเคลือบขาว มีหูกลมสามหู ลําตัวตกแตงลวดลายดอกไม แหลงผลิตมณฑลฝูเจี้ยน

Page 39: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

26

ภาพท่ี 39 ช้ินสวนฝาภาชนะเคลือบสีน้ําตาลทรงกลม

ภาพท่ี 40 ช้ินสวนโถเคลือบน้ําตาล

ภาพท่ี 41 ช้ินสวนเครื่องถวยจีน สมัยราชวงศหยวน

Page 40: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

27

ภาพท่ี 42 ภาชนะประเภทโถ สําหรับใสพลู(พบในหองใตดิน)

ภาพท่ี 43 ช้ินสวนเครื่องถวยจีน มีเครื่องหมายปรัชกาลท่ีกนภาชนะ (สองช้ินบนบอกปรัชกาล

ตาหมิงเฉิง ฮั้ว ราชวงศหมิง) สวนดานลางเปนคําอวยพรท่ีกนภาชนะ

ภาพท่ี 44 ช้ินสวนเครื่องถวยจีนเคลือบสีน้ําเงินเขียนลายทอง

Page 41: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

28

(ดานนอก) (ดานใน)

ภาพท่ี 45 เคร่ืองถวยจีน เขียนลายดอกบัวและกานขดท่ีภาชนะท้ังดานนอกและดานใน

(ดานนอก) (ดานใน)

ภาพท่ี 46 เครื่องถวยจีนตกแตงลายเบญจมาศท่ีภาชนะท้ังภายนอกและภายใน

(ดานนอก) (ดานใน)

ภาพท่ี 47 เครื่องถวยจีนตกแตงลายเบญจมาศ

Page 42: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

29

ภาพท่ี 48 ช้ินสวนฝา ลําตัว เครื่องถวยญี่ปุน

ภาพท่ี 49 ช้ินสวนเครื่องถวยญี่ปุน

Page 43: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

30

โบราณวัตถุท่ีไดจากการขุดคนบานวิชาเยนทรในปพ.ศ.2530 จัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ

สมเด็จพระนารายณ จังหวัดลพบุร ี

ภาพท่ี 50 เหรียญกษาปณจีน

ภาพท่ี 51 เคร่ืองประดับประเภทแหวน

Page 44: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

31

ภาพท่ี 52 แผนทองคํารูปหอยสังข พบท่ีบานวิชาเยนทร

ภาพท่ี 53 แผนทองคํารูปพระพุทธรูป พบท่ีบานวิชาเยนทร จังหวัดลพบุร ี

Page 45: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

32

ภาพท่ี 54 หมอใสปูน

ภาพท่ี 55 กลองยาสูบดินขาวฮอลันดา กลองยาสูบนีมี้การผลิตขึ้นในประเทศฮอลันดา ท่ีเมือง

Gouda มีหลากหลายรูปแบบ เปนความนิยมของชาวตางชาต ิ

Page 46: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

33

ภาพท่ี 56 ช้ินสวนแทงหินออนปรากฏจารึกภาษาละติน

ภาพท่ี 57 ฝาตลับลายสัตวหิมพานต

ภาพท่ี 58 ฝาตลับสําริด

Page 47: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

34

ภาพท่ี 59 หินชนวนและดินสอชนวน

ภาพท่ี 60 ตะคันดินเผา

ภาพท่ี 61 เคร่ืองถวยจีน

Page 48: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

35

ภาพท่ี 62 เครื่องถวยจีนสมัยราชวงศหมิง

ภาพท่ี 63 เครื่องถวยเบญจรงค

ภาพท่ี 64 เคร่ืองถวยญี่ปุนคาคิเอมอน

Page 49: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

36

ภาพท่ี 65 เคร่ืองถวยญี่ปุน การัตสึ อายุราวพุทธศตวรรษท่ี21-22

Page 50: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

37

การขุดคนบานวิชาเยนทรปพ.ศ.2549 เร่ิมทําการขุดคน 20 กุมภาพันธ 2549 ถึง 6 มีนาคม 2549 ผูทําการขุดคน นักศึกษาระดับปริญญาโทภาควิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร

ปการศึกษา2548 ขนาดหลุมขุดคน กวาง 4 เมตร ยาว 4 เมตร บริเวณท่ีทําการขุดคน บริเวณดานหนาโบสถคริสต โดยพ้ืนท่ีท่ีทําการขุดคนมีลักษณะ

เปนเนินสูงกวาระดับพ้ืนรอบ ๆ ประมาณ 2 เมตร โดย

สันนิษฐานวาพ้ืนท่ีบริเวณนี้นาจะมีเปนเนินดินท่ีมีอยูมากอนการ

สรางบานวิชาเยนทรในสมัยอยุธยาหรือไม

ภาพท่ี 66 สภาพพ้ืนท่ีกอนทําการขุดคน จุดประสงคในการขุดคน 1. เ พ่ือฝกภาคสนามของนัก ศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาโบราณคดีสมัย

ประวัติศาสตร ภาควิชาโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ในรายวิชาโบราณคดีปฏิบัต ิ

2.เพ่ือตรวจสอบขอสันนิษฐานการใชพ้ืนท่ีบริเวณดังกลาววานาจะมีการใชพ้ืนท่ีมาตั้งแต

สมัยทวารวดี โดยทําการศึกษาช้ันทับถมทางวัฒนธรรมของพ้ืนท่ีดังกลาว

Page 51: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

38

หลุมขุดคน WC 2006

1

2

1

2

3

4

3

4

1

2

1

2

3

4

3

4

ภาพท่ี 67 ขนาดของหลุมท่ีทําการขุดคนในป พ.ศ. 2549

WC ยอมาจาก Wichayen

NWQ ,NEQ ,SWQ ,SEQ คือ แนวแกนทิศ

โบราณวัตถุที่พบในแตระดับชั้นดินสมมุติ

ระดับพ้ืนผิวดิน (Surface) 60-90 Cm.Dt โบราณวัตถุท่ีพบ

1. เศษภาชนะเนื้อดิน (Earthenware)

2. เศษภาชนะเนื้อแกรง(Stoneware)

3. เศษเครื่องกระเบ้ือง(Porcelain)

4. เศษอิฐ

5. กระเบ้ืองมุงหลังคาซ่ึงเปนกระเบื้องกาบกลวยและกระเบ้ืองเกล็ดเตา

6. ช้ินสวนของฝาจุกภาชนะ(จุก)

7. ช้ินสวนของโลหะ(เหล็ก?)

NEQ NWQ

SWQ SEQ

Page 52: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

39

8. เศษแกว

9. กระเบ้ืองเชิงชาย

10. ตะคันดินเผา

11. กระสุนดินเผา

12. กระสุนเหล็ก

ช้ันดินสมมุติท่ี 1 ระดับ 90-100 Cm.Dt.

1. เศษภาชนะเนื้อดิน (Earthenware)

2. เศษภาชนะเนื้อแกรง(Stoneware) บางช้ินเปนภาชนะท่ีมีลวดลายกดประทับรูปชาง

และรูปสัตว สันนิษฐานวาผลิตจากแหลงเตาบานบางปูน จ.สุพรรณบุรี ซ่ึงเปน

แหลงเตาในสมัยอยุธยาตอนตน-อยุธยาตอนกลาง

3. เศษเครื่องถวยจีน

4. เศษอิฐ

5. กระเบ้ืองมุงหลังคาซ่ึงเปนกระเบื้องกาบกลวยและกระเบ้ืองเกล็ดเตา

6. หอยขม

7. หอยแครง

8. หอยเบ้ีย

9. กระดูกสัตว

10. ตะปู

11. ช้ินสวนของหินบด

ช้ันดินสมมุติท่ี 2 100-110 Cm.Dt. โบราณวัตถุท่ีพบ

1. เศษภาชนะเนื้อดิน (Earthenware)

2. เศษภาชนะเนื้อแกรง(Stoneware)

3. เศษเครื่องกระเบ้ือง(Porcelain) พบปริมาณนอย

4. เศษอิฐ

5. กระเบ้ืองมุงหลังคาซ่ึงเปนกระเบื้องกาบกลวยและกระเบ้ืองเกล็ดเตา

6. หอยขมและหอยทราย

7. หอยแครง

8. หอยทาก

Page 53: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

40

9. หอยเบ้ีย

10. กระดูกสัตว

11. Slag

ช้ันดินสมมุติท่ี 3 110-120 Cm.Dt.

1. เศษภาชนะเนื้อดิน (Earthenware)

2. เศษภาชนะเนื้อแกรง(Stoneware)

3. เศษเครื่องกระเบ้ือง(Porcelain) พบปริมาณนอย

4. กระเบ้ืองมุงหลังคาซ่ึงเปนกระเบื้องกาบกลวยและกระเบ้ืองเกล็ดเตา

5. หอยนํ้าจืด ประเภทหอยขมและหอยทราย

6. หอยทะเล ประเภทหอยแครง

7. หอยทากบก(Land snail)

8. หอยเบ้ีย

9. กระดูกสัตว

10. Slag

11. เบาหลอมโลหะ(Crucibles)

ช้ันดินสมมุติท่ี 4 120-130 Cm.Dt. โบราณวัตถุท่ีพบ

1. เศษภาชนะเนื้อดิน (Earthenware)

2. เศษภาชนะเนื้อแกรง(Stoneware)

3. เศษเครื่องกระเบ้ือง(Porcelain) พบปริมาณนอย

4. กระเบ้ืองมุงหลังคาซ่ึงเปนกระเบื้องกาบกลวยและกระเบ้ืองเกล็ดเตา

5. หอยขมและหอยทราย

6. หอยแครง

7. หอยทาก(Land snail)

8. กระดูกสัตว

9. Slag

10. เตาเชิงกราน

11. ฝาจุก

Page 54: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

41

ช้ันดินสมมุติท่ี 5 130-140 Cm.Dt. โบราณวัตถุท่ีพบมีดังนี้

1. เศษภาชนะเนื้อดิน (Earthenware)

2. เศษภาชนะเนื้อแกรง(Stoneware)

3. เศษเครื่องกระเบ้ือง(Porcelain)

4. กระเบ้ืองมุงหลังคา

5. หอยขมและหอยทราย

6. หอยแครง

7. หอยทาก(Land snail)

8. กระดูกสัตว

9. Slag

10. ฝาภาชนะ

11. จุก

12. เบ้ียดินเผา

13. สวนช้ินของภาชนะ

14. แทงหินบด

15. ลูกปด

16. ขวาก

ช้ันดินสมมุติท่ี 6 140-150 Cm.Dt. โบราณวัตถุท่ีพบ

1. เศษภาชนะเนื้อดิน (Earthenware)

2. เศษภาชนะเนื้อแกรง(Stoneware)

3. เศษเครื่องกระเบ้ือง(Porcelain)

4. กระเบ้ืองมุงหลังคา พบเล็กนอย

5. หอยนํ้าจืด ประเภทหอยโขง

6. กระดูกสัตว

7. กระดูกสันหลังฉลาม

8. ตะปู

9. ฝาภาชนะ

Page 55: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

42

ช้ันดินสมมุติท่ี 7 150-160 Cm.Dt. โบราณวัตถุท่ีพบ

1. เศษภาชนะเนื้อดิน (Earthenware)

2. เศษภาชนะเนื้อแกรง(Stoneware)

3. เศษเครื่องกระเบ้ือง(Porcelain)

4. กระเบ้ืองมุงหลังคา พบเล็กนอย

5. หอยนํ้าจืด ประเภทหอยโขง

6. กระดูกสัตว

7. กระดูกสันหลังฉลาม

8. ตะปู

9. จุก?

10. เบา

11. เตา

12. ตะคัน

13. เบ้ียดินเผา

ช้ันดินสมมุติท่ี 8 160-170 Cm.Dt. โบราณวัตถุท่ีพบ

1. เศษภาชนะเนื้อดิน (Earthenware)

2. เศษภาชนะเนื้อแกรง(Stoneware)

3. เศษเครื่องถวย(Porcelain)

4. กระเบ้ืองมุงหลังคา พบเล็กนอย

5. กระดองเตา

ช้ันดินสมมุติท่ี 9-10 170-190 Cm.Dt. โบราณวัตถุท่ีพบ

1. เศษภาชนะเนื้อดิน (Earthenware)

2. เศษภาชนะเนื้อแกรง(Stoneware)

3. เศษเครื่องกระเบ้ือง(Porcelain)

4. เบ้ียดินเผา

5. ช้ินสวนดินเผารูปหนาสัตวมีเคลือบ สันนิษฐานวาอาจเปนสวนหนึ่งของภาชนะดิน

เผา

Page 56: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

43

6. Slag สภาพคอนขางผุพัง

7. กระดูกสัตวสันนิษฐานวาคือเขากวาง

8. เปลือกหอยพบท้ังหอยแมน้ําฝาเดียว, หอยแมน้ําสองฝาและหอยแครง

ช้ันดินสมมุติท่ี 11 190-200 Cm.Dt. โบราณวัตถุท่ีพบ

1. เศษภาชนะเนื้อดิน (Earthenware)

2. เศษภาชนะเนื้อแกรง(Stoneware)

3. เศษเครื่องกระเบ้ือง(Porcelain)

4. ช้ินสวนของเตา

5. เศษอิฐ พบเปนช้ินสวนขนาดเล็ก ไมมากนัก กระจายอยูท่ัวไป

6. กระดูกสัตว และเง่ียงปลาขนาดใหญ

7. เศษกระเบื้อง พบเล็กนอย

ช้ันดินสมมุติท่ี 12 200-210 CmDt. โบราณวัตถุท่ีพบ

1. เศษภาชนะเนื้อดิน (Earthenware)

2. เศษภาชนะเนื้อแกรง(Stoneware)

3. เศษเครื่องกระเบ้ือง(Porcelain)

4. เปลือกหอย

ช้ันดินสมมุติท่ี 13 210-220 CmDt. โบราณวัตถุท่ีพบ

1. เศษภาชนะเนื้อดิน (Earthenware)

2. เศษภาชนะเนื้อแกรง(Stoneware)

3. เศษเครื่องกระเบ้ือง(Porcelain)

4. ช้ินสวนของเตา

5. เศษอิฐ พบเปนช้ินสวนขนาดเล็ก พบในปริมาณไมมากนักกระจายอยูท่ัวไป

6. เศษกระเบื้อง พบเล็กนอย

ช้ันดินสมมุติท่ี 14และ15 220-240 CmDt. โบราณวัตถุท่ีพบ

1. เศษภาชนะเนื้อดิน (Earthenware)

2. เศษภาชนะเนื้อแกรง(Stoneware)

Page 57: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

44

3. เศษเครื่องกระเบ้ือง(Porcelain)

4. ตะคันดินเผา

5. เศษอิฐ พบเปนช้ินสวนขนาดเล็กปริมาณไมมากนัก กระจายอยูท่ัวไป

6. เศษกระเบื้อง พบเล็กนอย

ช้ันดินสมมุติท่ี 16, 17, 18และ19 240-280 CmDt. โบราณวัตถุท่ีพบ

1. เศษภาชนะเนื้อดิน (Earthenware)

2. เศษภาชนะเนื้อแกรง(Stoneware)

3. เศษเครื่องกระเบ้ือง(Porcelain)

4. ตะคันดินเผา (ระดับสมมุติท่ี 16)

5. เศษอิฐ พบเปนช้ินสวนขนาดเล็ก ปริมาณไมมากนัก กระจายอยูท่ัวไป

6. แวดินเผา (ระดับสมมุติท่ี 19)

7. สวนช้ินของภาชนะเคลือบแบบเปอรเซีย (ระดับสมมุติท่ี 16)

8. ถาน(ระดับสมมุติท่ี 16)

9. กระเบ้ืองมีรอยเผา(ระดับสมมุติท่ี 17)

10. เบ้ียดินเผา(ระดับสมมุติท่ี 18)

11. ช้ินสวนของหมอมีสัน(ระดับสมมุติท่ี 19)

12. กระดูกสัตว

13. หอย

ช้ันดินสมมุติท่ี 20 280-290 CmDt. โบราณวัตถุท่ีพบ

1. เศษภาชนะเนื้อดิน (Earthenware)

2. เศษภาชนะเนื้อแกรง(Stoneware)

3. เศษเครื่องกระเบ้ือง(Porcelain)

4. เบ้ียดินเผา

5. หอยแครง

6. หอยนํ้าจืด

ช้ันดินสมมุติท่ี 21 290-300 CmDt. โบราณวัตถุท่ีพบ

1. เศษภาชนะเนื้อดิน (Earthenware)

Page 58: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

45

2. เศษภาชนะเนื้อแกรง(Stoneware)

3. เศษเครื่องกระเบ้ือง(Porcelain)

4. สวนฐานของภาชนะทรงพาน

5. เบาหลอม

ช้ันดินสมมุติท่ี 22 300-310 CmDt. โบราณวัตถุท่ีพบ

1. เศษภาชนะเนื้อดิน (Earthenware)

2. เศษภาชนะเนื้อแกรง(Stoneware)

3. เศษเครื่องกระเบ้ือง(Porcelain)

4. สวนฐานของภาชนะทรงพาน

การศึกษาชั้นดินทางโบราณคดี

การศึกษาช้ันดินทางโบราณคดี ในหลุมขุดคนมีรายละเอียด ลักษณะทางกายภาพของดิน

แตละช้ันดังนี ้

ช้ันดินท่ี 1 (Layer 1)

เปนช้ันดินท่ีอยูในระดับช้ันบนสุด (Surface) ในระดับ 80 Cm.Dt. โดยท่ี ความหนาของ

ช้ันดินประมาณ 25-30 เซนติเมตร ดินจะมีลักษณะของเนื้อดินแบบรวนปนทราย (Sandy loam) มีสี

คลํ้า มีรากของพวกวัชพืช จําพวกหญาและเศษของรากไมปะปนอยูเปนจํานวนมาก พบเศษภาชนะ

ดินเผา ประเภทเนื้อดิน (Earthen ware) เศษเครื่องถวย (Porcelain) เศษอิฐ ท่ีแตกหักแตมีขนาดใหญ

เศษกระเบื้องมุงหลังคา และเศษแกว กระจายตัวอยูท่ัวบริเวณ

ช้ันดินท่ี 2 (Layer 1)

เปนช้ันดินท่ีถัดลงมา ซ่ึงอยูในระดับท่ี 80-160 Cm.Dt. มีความหนาของช้ันดินประมาณ

50 เซนติเมตร ลักษณะของเนื้อดิน เปนดินรวนปนทราย (Sandy loam) ในเน้ือดิน มีเศษของเม็ดปูน

กระจายตัวปะปนอยูท่ัวไป ในสวนผนังของมุมดานทิศตะวันออกของ Grid SEQ ปรากฏเปน

ลักษณะของชั้นปูนขาวแทรกท่ีมีความกวาง 7 เซนติเมตร และยาวประมาณ 100 เซนติเมตร ปรากฏ

เศษถานไม เปลือกหอยแมน้ํา หอยแครง ช้ินสวนกระดูกสัตว เศษช้ินสวนของกระเบ้ืองมุงหลังคา

เศษอิฐหัก เศษภาชนะดินเผาชนิด Stone ware และ Earthen ware เปนจํานวนมาก นอกจากนี้ยัง

ปรากฏ เศษกอนอิฐท่ีมีขนาดใหญในมุมดานทิศตะวันตกเฉียงใต ในสวนของพ้ืนท่ี Grid SWQ ท่ีมี

ลักษณะของการทับถมเปนจํานวนมาก

Page 59: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

46

ช้ันดินท่ี 3 (Layer 1)

เปนลักษณะของชั้นดินท่ีถัดลงมาในระดับ 110-180 Cm.Dt. ความหนาของช้ันดินอยูท่ี

70 เซนติเมตรโดยประมาณ เนื้อดินมีลักษณะของดินท่ีมีสีน้ําตาล เปนดินแบบรวนปนทราย (Sandy

loam) เนื้อดินมีลักษณะเปนจุดสีประในบางสวน แทรกในระดับผิวดิน พบเศษเปลือกหอยแมน้ํา ท่ีมี

ท้ังขนาดเล็กและขนาดใหญ ประปราย พบเศษภาชนะดินเผาประเภท Stone ware และ Earthen ware

ท่ีมีท้ังชนิดแบบเคลือบและไมเคลือบ เศษ Porcelain เศษกระเบ้ืองขอและเศษอิฐท่ีมีขนาดใหญ

แตกหัก เปนจํานวนมาก เปนไปไดวา ช้ันดินในระดับนี้ยังคงอยูในระดับของช้ันดินท่ีถูกรบกวนอยู

ช้ันดินท่ี 4 (Layer 1)

เปนช้ันดินท่ีถัดลงมาซ่ึงอยูในระดับ 150-280 Cm.Dt. มีความหนาของช้ันดินโดยเฉล่ียอยู

ท่ี 140 เซนติเมตรโดยประมาณ ลักษณะของเนื้อดิน เปนดินรวนเหนียวปนทราย (Sandy claly loam)

ท่ีผสมกับเม็ดอิฐ และเศษอิฐท่ีแตกหักประปราย และพบเศษภาชนะดินเผาประเภท Earthen ware

เปนจํานวนมาก และภาชนะดินเผาประเภท Stone ware พบบางแตมีจํานวนนอย พบเศษของเคร่ือง

เคลือบ 2-3 ช้ิน โดยประมาณ ในสวนของมุขผนังดนทิศตะวันออกในสวนของ Grid SEQ ปรากฏ

หลักฐานรองรอยของการรบกวนโดยสัตวจนเปนโพรงยาวลงในระดับแนวดิ่ง

ช้ันดินท่ี 5 (Layer 1)

เปนช้ันดินท่ีอยู ในระดับ 270-320 Cm.Dt. มีความหนาของช้ันดินประมาณ 50

เซนติเมตร ลักษณะของเนื้อดินในชั้นนี้ เปนดินรวนเหนียวปนทราย (Sandy claly loam) ผสมเม็ดอิฐ

และเม็ดแลง นอกจากนี้ยังปรากฏหลักฐานเศษถานไมท่ีกระจายตัวเปนจุด ๆ ลักษณะของเนื้อดินมี

ความแนนมากกวาดินในชั้นกอน ๆ พบเศษเปลือกหอย และมีรองรอยของดินท่ีถูกเผาไฟ ใน

บางสวน ปริมาณของเศษภาชนะดินเผา มีนอยลง เศษภาชนะดินเผาประเภท Earthen wave เปน

จํานวนมาก และภาชนะดินเผาประเภท Stone wave ท่ีมีท้ังเคลือบและไมเคลือบ ซ่ึงปรากฏเปน

จํานวนนอย สําหรับ Porcelain แทบจะไมปรากฏ

Page 60: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

47

ภาพท่ี 68 หลุมขุดคนดานทิศตะวันออก

ภาพท่ี 69 ผังหลุมขุดคนดานทิศเหนือ

Page 61: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

48

ภาพท่ี 70 ผังหลุมขุดคนดานทิศตะวันตก

ภาพท่ี 71 ผังหลุมขุดคนดานทิศใต

Page 62: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

49

โบราณวัตถุท่ีไดจากการขุดคนแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรในปพ.ศ.2549

ภาพท่ี 72 ภาชนะดินเผาลายกดประทับ แหลงเตาบานบางปูน

ภาพท่ี 73 ภาชนะดินเผาลายกดประทับรูปชาง แหลงเตาบานบางปูน

Page 63: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

50

ภาพท่ี 74 ฝาจุกดินเผา

ภาพท่ี 75 เคร่ืองถวยเคลือบเขียว แหลงเตาสุโขทัย-ศรีสัชนาลัย

ภาพท่ี 76 กระเบ้ืองเชิงชายลายพันธุพฤกษา

Page 64: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

51

ภาพท่ี 77 กระเบ้ืองกาบกลวย

ภาพท่ี 78 ตะคันดินเผา

ภาพท่ี 79 แวดินเผา

Page 65: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

52

ภาพท่ี 80 ภาชนะดินเผามีสัน

(ดานใน) (ดานนอก)

ภาพท่ี 81 เคลือบเขียวเตาปายาง ศรีสัชนาลัย พุทธศตวรรษท่ี 21

(ดานนอก) (ดานใน)

ภาพท่ี 82 ฝาตลับเคลือบเขียวออน แหลงเตาประเทศจีน

Page 66: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

53

ภาพท่ี 83 ช้ินสวนของกุณฑี

ภาพท่ี 84 ช้ินสวนแทงหิน

(ดานนอก) (ดานใน)

ภาพท่ี 85 เคร่ืองถวยเบญจรงครุนแรกของไทย

Page 67: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

54

(ดานนอก) (ดานใน)

ภาพท่ี 86 เครื่องถวยจีนสมัยราชวงศหยวน

ภาพท่ี 87 เศษเคร่ืองถวยเบญจรงคท่ีผลิตจากเมืองจีน

ภาพท่ี 88 ฝาตลับ เครื่องถวยจีน

Page 68: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

55

(ดานนอก) (ดานใน)

ภาพท่ี 89 ชามลายครามทรงกลมหรือทรงมะนาวตัด ใชสีครามตัดเสนท่ีขอบปาก แหลงเตาจิงเตอ

เจน มณฑลเจียงซีปลายพุทธศตวรรษท่ี21 ตนพุทธศตวรรษที่ 22

(ดานนอก) (ดานใน)

ภาพท่ี 90 ช้ินสวนลําตัวเบญจรงครุนแรก สมัยสมเด็จพระนารายณ ทําท่ีเมืองจีนไมระบุแหลงเตา

ภาพท่ี 91 ฝาจุกภาชนะประเภทเคลือบเขียว

Page 69: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

56

(ดานนอก) (ดานใน)

ภาพท่ี 92 ชามปากผาย เขียนสีดําใตเคลือบ ราชวงศเตริ่น เวียดนาม ราวปลายพุทธศตวรรษท่ี

19– กลางพุทธศตวรรษท่ี20

ภาพท่ี 93 เคร่ืองถวยเวียดนาม หรืออันหนาน

Page 70: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

57

โบราณสถานวัดปน วัดปน เปนวัดท่ีตั้งอยูทางทิศตะวันออกของโบราณสถานบานวิชาเยนทรใกลกับศาล

ลูกศร

ท่ีตั้ง ตําบลทาหิน อําเภอเมือง จังหวัดลพบุร ี

พิกัดภูมิศาสตรท่ี 100 องศา 36 ลิปดา 36.8 ฟลิปดา ตะวันออก 14 องศา 48 ลิปดา 13.4 ฟลิปดา เหนือ พิกัดแผนท่ี ระวาง 5138 IV ลําดับชุด L7017 พิมพครั้งท่ี1 –RTSD จังหวัดลพบุรี

พิกัด 735368 มาตราสวน 1 : 50,000

ทิศตะวันออก ติดกับโบราณสถานบานวิชาเยนทร ทิศตะวันตก ติดกับรานคา ทิศเหนือ ติดกับศาลลูกศร ทิศใต ติดกับถนนวิชาเยนทรและรานคา การดําเนินงานดานโบราณคดี พ.ศ. 2479 กรมศิลปากร กระทรวงธรรมการ ไดประกาศในราชกิจจานุเษกษา เลม 53

ตอนท่ี 24 หนา 901-906 ลงวันท่ี 2 สิงหาคม พ.ศ. 2479 ใหขึ้นทะเบียนเปนโบราณสถานสําหรับ

ชาต ิ พ.ศ. 2512 กระทรวงมหาดไทยไดประกาศพระราชกฤษฎีกาใหใชพระราชบัญญัติ

ควบคุมการกอสรางในเขตเพลิงไหม พ.ศ. 2476 ในบริเวณเขตเพลิงไหมท่ีตําบลทาหิน อําเภอเมือง

จังหวัดลพบุรี เม่ือวันท่ี 7 มีนาคม พ.ศ. 2512 โดยพิจารณาเห็นควรกันเขตวัดปนเพ่ือขยายพ้ืนท่ีถนน

252 ตารางวา เนื้อท่ีบริเวณโบราณสถานประมาณ 389 ตารางวา เนื้อท่ีสงวนไวหามปลูกสรางใดๆ

ประมาณ 394 ตารางวา เนื่องจากในปพ.ศ. 2511 ไดเกิดเพลิงไหมบริเวณตําบลทาหิน เพลิงไดลาม

ไหมอาคารบานเรือนในท่ีดินวัดปนท้ังหมดเม่ือวันท่ี 24 ธันวาคม 2511 พ.ศ. 2522 สวนราชการประกอบดวย กรมศิลปากร กรมการศาสนา และเทศบาลเมือง

ลพบุรี มีโครงการจะพัฒนาปรับปรุงพ้ืนท่ีบริเวณวัดปน แตดําเนินการไมสําเร็จ พ.ศ. 2523 กรมศิลปากร ประกาศกําหนดขอบเขตท่ีดินโบราณสถานในราชกิจจานุเษกษา

เลม 97 ตอนท่ี 159 วันท่ี 14 ตุลาคม 2523 หนา 3538 เนื้อท่ี 1 ไร 1 งาน 83 ตารางวา

Page 71: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

58

พ.ศ. 2524 กรมศิลปากรประกาศกําหนดขอบเขตท่ีดินโบราณสถานในราชกิจจานุเษกษา

เลม 98 ตอนท่ี 104 วันท่ี 30 มิถุนายน พ.ศ. 2524 หนา 2024 (เปล่ียนแผนผังแสดงเขตโบราณถาน

แทนแผนผังเดิม)

พ.ศ. 2539 สํานักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติท่ี 3 พระนครศรีอยุธยา ทํา

การบูรณะซอมแซมตั้งแตวันท่ี 20 กันยายน ถึง 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 โดยมีขอบเขตการบูรณะ

ซอมแซมคือ กออิฐใหมเสริมแทนอิฐท่ีเส่ือมสภาพโดยยึดแนวอิฐเดิม เทคานคอนกรีตเสริมเหล็กกอ

อิฐเสริมความม่ันคงซุมประตูทางเขา กออิฐเสริมความม่ันคงซุมพระและผนังดานทิศตะวันออกตาม

รูปแบบเดิม ปรบัดินทางเขาวัดปนโดยทําบันได 3 ขั้น ผนังกออิฐ ปรับพ้ืนและกําจัดตอไมภายใน

วิหาร พ.ศ.2545 จังหวัดลพบุรี แตงตั้งคณะทํางานแกปญหาสภาพแวดลอมวัดปน ตามคําส่ัง

จังหวัดลพบุรี ท่ี 48/2545 อยางไรก็ดีคณะทํางานฯ ยังไมไดดําเนินการใด ๆ เปนรูปธรรม

พ.ศ. 2548 สํานักงานศิลปากรท่ี 4 ลพบุรี รวมกับจังหวัดลพบุรี ดําเนินการแกไขปญหา

สภาพแวดลอมวัดปน โดยการทําการเจรจากับราษฎรท่ีบุกรุกพ้ืนท่ีสรางส่ิงปลูกสรางลุกลํ้าในเขต

โบราณสถานวัดปน ทําการรื้อถอนส่ิงปลูกสรางจนสําเร็จลุลวง พ.ศ. 2551 สํานักศิลปากรท่ี4 ลพบุรี สํานักนักโบราณคดี กรมศิลปากร มีโครงการ

อนุรักษและพัฒนาโบราณสถานวัดปน ตําบลทาหิน อําเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

ภาพท่ี 94 บริเวณแหลงโบราณคดีวัดปน

Page 72: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

59

หลักฐานเอกสาร ท่ีกลาวถึงวัดปน พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับความสมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส เลมสอง

แตงขึ้นในสมัยรัตนโกสินทรศก หมอบรัดเลไดนํามาจัดพิมพในป พ.ศ. 2407 มีช่ือของวัดปน

ปรากฏดังนี้ “สวนเจาพระยาวิชาเยนทรผูวาราชการท่ีสมุหนายก, ไหกอตึกส่ีเหล่ียมอันไหย, แลตึก

ฝรั่งอ่ืนท้ังหลายเปนอันมากตําบลที่ไกลวัดปน.”8

พ.ศ.2512 หวน พินธุพันธุ เขียนหนังสือเรื่องลพบุรีนารู 9 กลาวถึงวัดปนดังนี้ “วัดปน

ตั้งอยูทางทิศตะวันตกของบานหลวงรับราชทูตไมไกลนัก จะมองเห็นพระอุโบสถวัดปนทางขวามือ

ลักษณะของพระอุโบสถเหลือแตผนังส่ีดาน ไมมีหลังคา ลักษณะของประตูหนาตางเปนแบบวงโคง

แหลม บัวหัวเสายังปรากฏเหลืออยูซ่ึงสวยงามมาก ภายในพระอุโบสถมีพระพุทธรูปสมัยลพบุรีวาง

กองอยูหลายองค จากลักษณะของประตูหนาตางแบบโคงแหลมนี้เอง จึงเขาใจวาวัดปนนี้คงสรางขึ้น

ในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช”

หลุมขุดคนทางโบราณคดี จากการขุดคนในป พ.ศ.2550 โดยสํานักศิลปากรท่ี 4 ผังหลุมเปนส่ีเหล่ียมจัตุรัส ขนาด

4×4 เมตร โดยวางผังหลุมตามแนวแกนทิศตะวันออก- ทิศตะวันตก และแนวทิศเหนือ-ใต Datum

Point อยูท่ีบริเวณวงกรอบช้ันลางของหนาตางผนังหองดานทิศตะวันตกของวิหาร (ผนังดานหนา

ของวิหาร) โดยคาระดับผิวดินของหลุมขุดคนอยูท่ีระดับ 250 Cm.Dt.

ช้ันวัฒนธรรมทางโบราณคดี จากช้ันดินทางโบราณคดีท่ีจําแนกไดท้ังหมด 14 ช้ันดังท่ี

กลาวมาขางตนสามารถจําแนกเปนลําดับพัฒนาการทางวัฒนธรรมไดท้ังส้ิน 5 ช้ันวัฒนธรรมหลักละ

4 ช้ันวัฒนธรรมยอยดังนี้

ช้ันวัฒนธรรมท่ี 1 ปรากฏหลักฐานการใชพ้ืนท่ีของชุมชนในระยะแรกเริ่มในช้ันดิน

หมายเลข 13 ช้ันวัฒนธรรมมีความหนาประมาณ 40 เซนติเมตร แตแสดงใหเห็นถึงการเปล่ียนแปลง

ของพ้ืนท่ีจากช้ันดินธรรมชาติ มาเปนพ้ืนท่ีตั้งถ่ินฐานของชุมชนในระยะแรกเร่ิม พบโบราณวัตถุเบา

บาง เชน เศษภาชนะดินเผาเนื้อธรรมดา ตกแตงดวยการขัดมัน รมควัน และช้ินสวนภาชนะแบบมี

สัน ซ่ึงเปนภาชนะในกลุมท่ีมีพัฒนาการความตอเนื่องของกลุมชนมาตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร

ตลอดจนพบนิเวศนวัตถุจําพวกกระดองเตา และเปลือกหอย จากรองรอยหลักฐานทางโบราณคดีท้ัง

8 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับความสมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส.

(กรุงเทพฯ : สหธรรมิก 2549.),129.(คณะสงฆวัดพระเชตุพน จัดพิมพ).

9 หวน พินธุพันธ ,ลพบุรีท่ีนารู (ลพบุร ี: หัตถโกศลการพิมพ 2512),109.

Page 73: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

60

ผลวิเคราะหช้ันดิน และโบราณวัตถุท่ีพบจึงกําหนดไดวาช้ันวัฒนธรรมท่ี 1 นาจะเปนช้ันวัฒนธรรม

การตั้งถ่ินฐานของชุมชนในระยะแรกเร่ิม

ช้ันวัฒนธรรมท่ี 2 พบหลักฐานของการตั้งถ่ินฐานชุมชนท่ีมีพัฒนาการอยางตอเนื่อง ซ่ึง

สามารถจําแนกออกไปไดอีก 4 ช้ันวัฒนธรรมยอย ดังนี้

ระยะท่ี 1 พบวาชุมชนแรกเริ่มท่ีมีการตั้งถ่ินฐานในพ้ืนท่ีบริเวณนี้มีการขยายตัวเพ่ิมมาก

ขึ้นสังเกตไดจากปริมาณโบราณวัตถุประเภทเศษภาชนะดินเผาท่ีมีปริมาณหนาแนนขึ้น สันนิษฐาน

วาชุมชนในระยะนี้เริ่มมีการพัฒนาทางสังคมและรูจักการตั้งถ่ินฐานอยางถาวร การพบเบ้ียดินเผา

เศษลูกปดแกวท่ีเปรียบเสมือนดัชนีเปรียบเทียบโบราณวัตถุในช้ันหลักฐานท่ีพบรวมสมัยกับชุมชน

ในวัฒนธรรมทวารวดี แสดงใหเห็นถึงการติดตอกับชุมชนในดินแดนโพนทะเลอยางอินเดีย ช้ันดิน

ในระยะนี้ไดแก ช้ันดินหมายเลข 12 ชั้นวัฒนธรรมมีความหนาประมาณ 30 เซนติเมตร

ระยะท่ี 2 ไดแก ช้ันดินหมายเลข 6-11 สันนิษฐานวาชุมชนมีดารขยายตัวเพ่ิมมาดขึ้นจาก

เดิมเปน เปนชุมชนใหญอาศัยอยูอยางตอเนื่องมาเรื่อยๆ ช้ันวัฒนธรรมมีความหนาประมาณ 100

เซนติเมตร ท้ังนี้ ในระดับช้ันดินหมายเลข 10 พบวามีการเปล่ียนแปลงช้ันทับถมจากพ้ืนอยูอาศัยมา

เปนพ้ืนบดอัดสําหรับการสรางอาคาร โดยการปรับใชพ้ืนชุดดินในระดับลางสุดมาถมพ้ืนท่ีเพ่ือทํา

การสรางอาคารท่ีอยูดานบน ช้ันดินมารลนี้มีความหนาประมาณ 30-40 เซนติเมตร โบราณวัตถุท่ีพบ

ในช้ันนี้ไดแก เศษภาชนะดินเผาเนื้อดินธรรมดาจําพวกหมอกนกลม ทรงชาม หมอมีสัน เศษภาชนะ

ดินเผาเนื้อแกรงจากแหลงเตาในประเทศจีน สมัยราชวงศ เบ้ียดินเผา และลูกปด

ระยะท่ี 3 ปรากฏการสรางศาสนสถานขึ้นในระยะนี้ แมวาแนวอิฐท่ีพบจะไมสามารถ

บอกถึงขนาดของตัวอาคารหรือหนาท่ีการใชงานไดอยางเดนชัด แตอยางไรก็ดี หลักฐานจากการขุด

แตงโบราณสถานวัดปนในพื้นท่ีนอกบริเวณหลุมขุดคน ไดพบช้ินสวนเศียรพระพุทธรูปสลักจาก

หินแอนดีไซน ลักษณะพระพักตรมีรูปแบบทางพุทธศิลปตรงกับสมัยทวารวดี สันนิษฐานเบ้ืองตน

วาอาจมีความสัมพันธกับแนวโบราณสถานท่ีพบในหลุมขุดคน โบราณวัตถุสําคัญในช้ันวัฒนธรรม

นี้ไดแก สากและแทนหินบด เบ้ียดินเผา ลูกปดแกว กลุมภาชนะดินเผาอยางหมอมีสัน ภาชนะกลุมท่ี

ตกแตงดวยการทาน้ําดินสีนวล-แดง ขัดมัน รมคัน ตลอดจนช้ินสวนพวยกาทาน้ําดินสีแดง เศษอิฐท่ี

มีแกลบขาวผสม แบบเดียวกับท่ีพบในหลุมขุดคน เปนตน ไดแก ช้ันดินหมายเลข 6-7 ช้ันวัฒนธรรม

พ้ืนใชงานท่ีรวมสมัยกับอาคารชุดนี้มีความหนาประมาณ 50-70 เซนติเมตร

ระยะท่ี 4 ชวงระยะปลายของชุมชนสมัยทวารวดี ไดแก ช้ันดินหมายเลข 5 จาก

โบราณวัตถุท่ีพบแมวาจะยังปรากฏรูปแบบภาชนะดินเผารูปทรงสมัยทวารวดีอยางตอเนื่องในระยะ

นี้ แตการพบเศษภาชนะดินเผาในกลุมเตาบานกรวดบุรีรัมยภายในช้ันนี้ แสดงใหเห็นถึงส่ิง

แปลกปลอมของหลักฐานและการแทรกแซงของอิทธิพลเขมรจากภายนอกที่เจริญขึ้นในระยะนั้น

Page 74: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

61

ช้ันวัฒนธรรมนี้มีความหนาประมาณ 50 เซนติเมตร จากรองรอยหลักฐานทางโบราณคดีท้ังผล

วิเคราะหช้ันดิน และโบราณวัตถุท่ีพบจึงกําหนดไดวาช้ันวัฒนธรรมนี้นาจะเปนช้ันวัฒนธรรมสมัย

ทวารวดี

ช้ันวัฒนธรรมท่ี 3 ปรากฏความตอเนื่องของการใชพ้ืนท่ีในวัฒนธรรมรวมแบบเขมรเจริญ

ขึ้น พรอมกันกับการปรับเปล่ียนพ้ืนท่ีโบราณสถานในสมัยกอนหนาในช้ันดินหมายเลข 4 หลักฐาน

จากกอนอิฐในช้ันบนสุดของแนวอาคารสมัยทวารวดีท่ีพบ มีรองรอยของการรื้อและปรับเกล่ีย

โบราณสถานเดิมลง พบโบราณวัตถุประเภทเศษภาชนะดินเผาในกลุมเตาวัฒนธรรมรวมแบบเขมรมี

ปริมาณหนาแนนขึ้นกวาในช้ันกอนๆ รวมท้ังภาชนะในกลุมเตาสุโขทัย-ศรีสัชนาลัย เครื่องเคลือบ

เนื้อแกรงและเครื่องถวยจีนสมัยราชวงศซอง ขณะเดียวกันยังพบเศษอิฐสมัยทวารวดีกระจายตัวอยู

ท่ัวท้ังช้ันหลักฐานในช้ันนี้ ช้ันวัฒนธรรมนี้มีความหนาของช้ันดินประมาณ 50 เซนติเมตร

จากรองรอยหลักฐานโบราณคดีท้ังผลวิเคราะหช้ันดิน และโบราณวัตถุท่ีพบจึงกําหนด

ไดวาช้ันวัฒนธรรมท่ี 3 นาจะเปนช้ันวัฒนธรรมสมัยรอยตอวัฒนธรรมเขมรกับทวารวดี

ช้ันวัฒนธรรมท่ี 4 โบราณวัตถุประเภทเศษภาชนะดินเผาถือไดวาเปนตัวแทนแสดงให

เห็นถึงการใชพ้ืนท่ีไดเปนอยางดีในช้ันวัฒนธรรมนี้(ช้ันดินหมายเลข 3) เนื่องจากโบราณวัตถุท่ีพบ

สวนใหญอยูในกลุมท่ีมีชวงระยะเวลาการผลิต และความนิยมในการใชงานรวมสมัยในราวพุทธ

ศตวรรษท่ี 17-19 ซ่ึงเปนชวงท่ีวัฒนธรรมกลุมนี้ขยายและแผอําอาจมายังตอนกลางและตะวันตกของ

ประเทศ อยางไรก็ดีในการขุดคน แมวาจะไมพบรองรอยของกลุมอาคารในอิทธิพลเขมรในชั้นนี้

ขณะเดียวกันก็ปรากฏการสรางศาสนสถานดวยศิลาแลงในศิลปะรวมแบบเขมรอยูบนพ้ืนท่ีท่ีไมไกล

กันนัก อาจกลาวไดวา ในชวงท่ีพ้ืนท่ีโดยรอบเกิดการสรางศาสนสถานในวัฒนธรรมเขมรนั้นพ้ืนท่ี

ในเขตโบราณสถานวัดปนอาจไมมีการปรับพ้ืนท่ี หรือกอสรางอาคารศาสนสถานแตอยางใดแตอาจ

มีการปรับเปล่ียนพ้ืนท่ีจากเดิม กลายเปนพ้ืนท่ีอยูอาศัย หรือกลายเปนท่ีรกรางช่ัวระยะหนึ่งกอนท่ีจะ

มีการสรางโบราณสถานหลังท่ีปรากฏอยูในปจจุบัน

จากรองรอยหลักฐานทางโบราณคดีท้ังผลวิเคราะหช้ันดิน และโบราณวัตถุท่ีพบจึง

กําหนดไดวาช้ันวัฒนธรรมท่ี 4 นาจะเปนช้ันวัฒนธรรมสมัยวัฒนธรรมรวมเขมร(ลพบุร)ี

ช้ันวัฒนธรรมท่ี 5 ปรากฏสนสถานสรางดวยอิฐ เปนอาคาร 2 หลัง ดังท่ีปรากฏอยูใน

ปจจุบัน โบราณวัตถุท่ีพบในช้ันดินหมายเลข 2 (ช้ันพ้ืนใชงานของโบราณสถาน)ไดแก เศษภาชนะ

ดินเผาจากเตาแมน้ํานอย ภาชนะดินเผาเนื้อดินธรรมดาทรงหมอทะนน และหมอตาล ช้ินสวน

กระเบ้ืองเชิงชายลายเทพนม เศียรพระพุทธรูปทองเหลืองทรงเครื่อง ศิลปะสมัยอยุธยาตอนปลาย

ช้ินสวนเตาเชิงกราน เครื่องถวยลายครามจากแหลงเตาในประเทศจีนสมัยราชวงศชิง จนถึงสมัย

สาธารณรัฐ จากรูปแบบทางสถาปตยกรรมและโบราณวัตถุท่ีพบ สันนิษฐานไดวา ตัวอาคารคงสราง

Page 75: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

62

ขึ้นในราวสมัยอยุธยาตอนปลาย เนื่องจากลักษณะโครงสรางอาคารเปนอาคารทรงตึกท่ีไดรับ

อิทธิพลจากชวงชาวตะวันตก พรอมกันกับความเจริญของเมืองลพบุรี ในรัชสมัยของสมเด็จพระ

นารายณมหาราช และคงถูกท้ิงรางไปหลังจากสมัยนี ้

Page 76: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

63

โบราณวัตถุท่ีไดจากการขุดคนวัดปนในปพ.ศ.2550 มีดังนี้

อายุสมัย โบราณวัตถุท่ีพบ ทวารวดี ราวพุทธศตวรรษที่

11-16

ประเภทโบราณสถาน พบแนวอิฐมีสวนผสมของแกลบปน ประเภทดินเผา -ภาชนะดินเผาแบบมีสัน -พวยกา -เบ้ียดนิเผา -ตุกตาดินเผา -กระสุนดินเผา -ช้ินสวนเตาเชิงกราน -แวดินเผา -กี๋ดินเผา -เบาดินเผา -เครื่องถวยจีนสมัยราชวงศถัง

-ช้ินสวนพระพุทธรูปสําริด ประเภทหิน -ช้ินสวนพระพักตรพระพุทธรูปทําจากหิน

แอนดิไซน (Andesite)

-แทงหินบด -สากหินบด

ประเภทแกว ลูกปดแกวสีตาง ๆ สีเขียว ,สีฟา,สีสมและสีฟา

ประเภทโลหะ -ช้ินสวนโลหะทรงกลม -หวงสําริด -แหวนโลหะ -ช้ินสวนเหล็ก

Page 77: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

64

โบราณวัตถุท่ีไดจากการขุดคนวัดปนในปพ.ศ.2550(ตอ)

อายุสมัย โบราณวัตถุท่ีพบ ลพบุรีราวพุทธศตวรรษท่ี17-18 ประเภทดินเผา

-เศษภาชนะดินเผาแหลงเตาบุรีรัมย -เครื่องถวยจีนสมัยราชวงศซุง

-เศษภาชนะดินเผากลุมเตาสุโขทัย-ศรีสัชนา

ลัย -เศษภาชนะเครื่องถวยจีน -ช้ินสวนกระเบื้องเชิงชายรูปใบหนาบุคคล

สวมศิราภรณ

อยุธยาราวพุทธศตวรรษท่ี20-

23

-เศียรพระพุทธรูปทองเหลือง -เศียรพระพุทธรูปหินทรายลงรักปดทอง -เศียรพระพุทธรูปหินทรายทาสีชาดท่ีพระ

พักตร -ช้ินสวนฐานพระพุทธรูปดินเผา -เครื่องถวยจีนสมัยราชวงศหยวน,ราชวงศ

หมิง และสมัยราชวงศชิงตอนตน

Page 78: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

65

โบราณวัตถุที่พบจากการขุดคนแหลงโบราณคดีวัดปน

ภาพท่ี 95 เศียรพระพุทธรูปหินแอนดิไซน สมัยทวารวด ี

ภาพท่ี 96 ตุกตาดินเผา สมัยทวารวด ี

Page 79: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

66

ภาพท่ี 97 เศษภาชนะดินเผามีสัน สมัยทวารวดี

ภาพท่ี 98 เศษภาชนะดินเผามีสัน

Page 80: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

67

ภาพท่ี 99 ช้ินสวนเศษภาชนะดินเผาสวนปาก

ภาพท่ี 100 พวยกาดินเผา

Page 81: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

68

ภาพท่ี 101 ช้ินสวนพวยกาดินเผา

ภาพท่ี 102 ช้ินสวนกระเบ้ืองเชิงชายรูปใบหนาบุคคลสวมศิราภรณ

Page 82: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

69

ภาพท่ี 103 ฝาจุกจากแหลงเตาบุรีรัมยพบท่ีแหลงโบราณคดีวัดปน

ภาพท่ี 104 เบ้ียดินเผา พบท่ีแหลงโบราณคดีวัดปน

ภาพท่ี 105 ตุกตาดินเผา เตาปายาง สุโขทัย

Page 83: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

70

ภาพท่ี 106 เศษกระเบ้ืองเชิงชายลายพรรณพฤกษาและลายเทพพนม

ภาพท่ี 107 กระเบ้ืองเชิงชายลายเทพพนม

ภาพท่ี 108 ตะปูปลิง

Page 84: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

71

ภาพท่ี 109 ช้ินสวนพระพุทธรูปปูนปน

ภาพท่ี 110 ช้ินสวนพระพุทธรูปทองเหลือง

ภาพท่ี 111 ช้ินสวนฐานพระพุทธรูปทองเหลือง

Page 85: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

72

ภาพท่ี 112 ช้ินสวนลําตัวพระพุทธรูปสําริด

ภาพท่ี 113 เศียรพระพุทธรูปทองเหลือง สมัยอยุธยา

ภาพท่ี 114 เศียรพระพุทธรูปหินทราย ทาสีแดงชาดท่ีพระพักตร สมัยอยุธยา

Page 86: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

73

ภาพท่ี 115 แทนหินบด

ภาพท่ี 116 ช้ินสวนกลองยาสูบ เตาสุโขทัย

ภาพท่ี 117 เบ้ียเนื้อกระเบ้ือง(ป)

Page 87: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

74

ภาพท่ี 118 เบ้ียดินเผา

ภาพท่ี 119 เบาดินเผา

Page 88: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

75

วิเคราะหหลักฐานโบราณวัตถจุากแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรและวัดบานปน เศียรพระพุทธรูป

เศียรพระพุทธรูปสลักจากหินแอนดิไซน สมัยทวารวดี ขนาดกวาง 12 เซนติเมตร หนา

8.5 เซนติเมตร สูง 18 เซนติเมตร พบท่ีแหลงโบราณคดีวัดปนพระพักตรกลม พระเนตรโปน ขมวด

พระเกศามีขนาดใหญและปาน พระขนงตอเปนปกกา พระนลาฏแคบ

ตุกตาดินเผา

ลักษณะท่ีพบมีท้ังรูปคนจูงลิง และรูปหนาบุคคล รูปสตรีสวมตางหูขนาดใหญ ตุกตาดิน

เผารูปแบบนี้ผลิตขึ้นโดยใชแมพิมพ10 เนื่องจากดานขางของตุกตามีรอยประกบของแมพิมพ ตุกตา

ดินเผารูปบุคคลท่ีพบนี้ไมสมบูรณ สวนศีรษะหักหาย อาจแสดงถึงความเช่ือเกี่ยวกับตุกตาเสีย

กบาล11 นอกจากนี้ยังพบตุกตาดินเผารูปบุคคลในลักษณะดังกลาวตามแหลงโบราณคดีสมัยทวารวดี

เชน เมืองนครปฐมโบราณ12 เมืองจันเสน13 จังหวัดนครสวรรค บานคูเมือง14 จังหวัดสิงหบุรี เมือง

ซับจําปา และเมืองลพบุรี สวมจี้หอยคอ เปนตน

พวยกาดินเผา เศษภาชนะดินเผาประเภทหมอมีพวยหรือกาน้ํา มีลักษณะเปนหมอกนกลมแบน คอสูง

ปากผายคลายแจกัน และมีสวนพวยติดอยูบริเวณบาภาชนะ หมอมีพวยปรากฏในอินเดียตั้งแต

สมัยกอนประวัติศาสตรชวง 2000 ปกอนคริสตกาล15 และเปนท่ีนิยมแพรหลายมากในอินเดียเหนือ

10 อนุสรณ คุณประกิจ, “การศึกษาคติรูปแบบประติมากรรมดินเผาขนาดเล็กสมัยทวารวดี

ท่ีพบในบริเวณภาคกลางของประเทศไทย” (วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา

โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2529), 76.

11 หมอมราชวงศ สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ,์ “ตุกตารูปคนจูงลิงในวัฒนธรรมมอญ (ทวารวดี),”

ใน ศรีทวารวดีถึงศรีรัตนโกสินทร (กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2537), 123.

12 ผาสุข อินทราวุธ, รายงานการขุดคนท่ีตําบลพระประโทน อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม

, 60.

13

Bennet Bronson and George F.Dales, “Excavation at Chansen,1968-1969”, 64.

14 ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, การขุดคนและศึกษา

วัฒนธรรมของชุมชนโบราณท่ีบานคูเมือง อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุร,ี 40.

15 ผาสุข อินทราวุธ, ดรรชนีภาชนะดินเผาสมัยทวารวด ี(กรุงเทพฯ : สํานักพิมพไทยไออี,

2528), 22.

Page 89: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

76

และอินเดียใตตั้งแตสมัยพุทธกาล16 สําหรับหมอมีพวยท่ีปรากฏในแหลงโบราณคดีในประเทศไทย

นั้นไดรับรูปแบบมาจากอินเดีย เนื่องจากมีพวยเปนรูปทรงกระบอกหรือรูปกรวย17 ดังนั้นเศษภาชนะ

ดินเผาประเภทหมอมีพวยยอมแสดงถึงการติดตอรับเอาอิทธิพลวัฒนธรรมอินเดียเขามาสูชุมชน

นอกจากนี้ยังพบภาชนะดินเผาประเภทหมอมีพวยตามแหลงโบราณคดีสมัยทวารวดี เชน เมือง

นครปฐม18 บานคูเมือง19 จังหวัดสิงหบุรี เมืองอูตะเภา20 จังหวัดชัยนาท เมืองจันเสน21 จังหวัด

นครสวรรค เมืองฟาแดดสงยาง22 จังหวัดกาฬสินธุ บานกระเบ้ืองนอก23 เมืองโบราณดงศรีมหาโพธ์ิ24 จังหวัดปราจีนบุรี และแหลงโบราณคดีแหลมโพธ์ิ25 จังหวัดสุราษฎรธานีและจากการศึกษาของ

ศาสตราจารยผาสุข อินทราวุธ26 พบหมอน้ํามีพวยตามแหลงโบราณคดีในเอเชียตะวันออกเฉียงใต

เชน ท่ีเมืองออกแกว ปากแมน้ําโขง ประเทศเวียดนาม สมโบรไพรกุก ประเทศเขมร เมืองไบถโน

ประเทศพมา ประเทศมาเลเซีย เกาะสุมาตราและเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย เมืองบูตูอัน ประเทศ

ฟลิปปนส และประเทศศรีลังกา ซ่ึงสันนิษฐานวาหมอน้ํามีพวยคงแพรเขามาในเอเชียตะวันออกเฉียง

ใต โดยการนําเขามาของชาวอินเดียท้ังท่ีเปนพราหมณและพุทธ เพ่ือใชเปนภาชนะประเภทหมอน้ํา

ดื่มและหมอน้ําในพิธีกรรม27

16 เรื่องเดียวกัน.

17 เรื่องเดียวกัน.

18 เร่ืองเดียวกัน, 24.

19 ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, การขุดคนและศึกษา

วัฒนธรรมของชุมชนโบราณท่ีบานคูเมือง อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุร,ี 39.

20 กรมศิลปากร, โบราณคดีเมืองอูตะเภา, 85.

21 ผาสุข อินทราวุธ, ดรรชนีภาชนะดินเผาสมัยทวารวด,ี 24.

22 ผาสุข อินทราวุธ และคณะ, รายงานการขุดคนเมืองโบราณฟาแดดสงยาง, 19.

23 ผาสุข อินทราวุธ, สินชัย กระบวนแสง และพเยาว นาคเวก, การศึกษาแหลงโบราณคดี

ท่ีบานกระเบ้ืองนอก ตําบลกระเบื้องนอก อําเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา,188.

24 ผาสุข อินทราวุธ, ดรรชนีภาชนะดินเผาสมัยทวารวด,ี 24.

25 เร่ืองเดียวกัน.

26 เร่ืองเดียวกัน, 23.

27 เร่ืองเดียวกัน.

Page 90: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

77

ตางหูโลหะ

พบตางหูโลหะวามีท้ังแบบเสนลวดขดเปนหวงกลม เปนรูปแบบท่ีสืบเนื่องมาจาก

สมัยกอนประวตัิศาสตร แหลงโบราณคดีท่ีพบตางหูโลหะในระยะการอยูอาศัยสมัยทวารวดีคือ

แหลงโบราณคดบีานทาแคสมัยท่ี 3 แหลงโบราณคดีบานวังไผ 28

ภาพท่ี 120 ตางหูโลหะแบบเสนลวดขดเปนวงกลม ไดจากการขุดคนทางโบราณคดีท่ีบานวังไผ

เบ้ียดินเผา

เบ้ียดินเผาเปนของเลนท่ีนิยมใชในประเทศไทยสมัยโบราณ ทําดวยดินเผา มักจะทําดวย

เศษภาชนะดินเผาท่ีมีการขัดแตงเปนรูปกลมแบน เบ้ียดินเผาท่ีพบสวนมากมักทําจากช้ินสวนของ

earthenware ทั้งแบบมีลายเชือกทาบและไมมีลาย พบเบี้ยดินเผาท่ีเมืองซับจําปา, บานทาแคสมัยท่ี

2, เนินมะกอกระยะที่ 2, โคกสําราญสมัยท่ี 1, บานชัยบาดาลสมัยท่ี 2, หัวนา และบานวังไผสมัยท่ี 2

สันนิษฐานวาอาจเปนอุปกรณสําหรับการเลน ซ่ึงมักพบเบ้ียดินเผาตามแหลงโบราณคดีสมัยทวารวดี

เชน เมืองนครปฐม29 บานคูเมือง30 จังหวัดสิงหบุรี เมืองอูตะเภา31 จังหวัดชัยนาท

28 เมธี สุขสําเร็จและอุจฉริต อาจาระศิริกุล, “รายการขุดคนชุมชนโบราณบานวังไผ อําเภอ

บานหมี่ จังหวัดลพบุรี เลมท่ี1,”2542,24-25.(อัดสําเนา)

29 ผาสุข อินทราวุธ, รายงานการขุดคนท่ีตําบลพระประโทน อําเภอเมือง จังหวัด

นครปฐม, 24.

30 ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, การขุดคนและศึกษา

วัฒนธรรมของชุมชนโบราณท่ีบานคูเมือง อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุร,ี 38.

Page 91: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

78

เมืองฟาแดดสงยาง32 จังหวัดกาฬสินธุ บานกระเบ้ืองนอก33 จังหวัดนครราชสีมา เมืองเสมา34

จังหวัดนครราชสีมา และเมืองโบราณอ่ืน ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตท่ีไดรับอิทธิพลวัฒนธรรม

อินเดีย35

แทงดินเผามีลาย

พบท่ีแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร รูปแบบแบนยาวปลายมน ตกแตงลวดลายท้ังสอง

ดาน กอนดินเผามีลายนี้มักพบตามชุมชนโบราณสมัยทวารวดี เชน เมืองอูตะเภา36 จังหวัดชัยนาท

เมืองฟาแดดสงยาง37 จังหวัดกาฬสินธุ และระยะการอยูอาศัยท่ี 2 ของเมืองเสมา38 จังหวัด

นครราชสีมา ซ่ึงลักษณะรูปแบบท่ีพบมักแตกตางกันออกไปตามแตละทองถ่ิน ชาวอินเดียโบราณ

นิยมใชแทนสบู39 ตลอดจนคนมอญ, พมาและคนไทยทางภาคเหนือในสมัยโบราณใชกอนดินเผา

แบบนี้ในการบดขม้ินสําหรับทาผิวหรืออาบน้ํา40 พบท่ีแหลงโบราณคดีบานทาแคสมัยท่ี 2 มีลักษณะ

เปนกอนดินแบน มีท้ังแบบแผนรูปรางกลมหรือส่ีเหล่ียม ตกแตงผิวดวยลายขูดขีดเปนเสนตารางท้ัง

2 ดาน

31 กรมศิลปากร, โบราณคดีเมืองอูตะเภา,140.

32 ผาสุข อินทราวุธ และคณะ, รายงานการขุดคนเมืองโบราณฟาแดดสงยาง, 16.

33 ผาสุข อินทราวุธ, สินชัย กระบวนแสง และพเยาว นาคเวก, การศึกษาแหลงโบราณคดี

ท่ีบานกระเบ้ืองนอก ตําบลกระเบื้องนอก อําเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา, 25.

34 เขมิกา หวังสุข, “พัฒนาการทางวัฒนธรรมในลุมแมน้ํามูล : กรณีศึกษาแหลงโบราณคดี

เมืองเสมา อําเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา”, 135.

35 ผาสุข อินทราวุธ, ทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะหจากหลักฐานทางโบราณคด,ี 140.

36 กรมศิลปากร, โบราณคดีเมืองอูตะเภา,150.

37 ผาสุข อินทราวุธ และคณะ, รายงานการขุดคนเมืองโบราณฟาแดดสงยาง (นครปฐม :

สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร, 2544), 16.

38 เขมิกา หวังสุข, “พัฒนาการทางวัฒนธรรมในลุมแมน้ํามูล : กรณีศึกษาแหลงโบราณคดี

เมืองเสมา อําเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา”, 139.

39 เรื่องเดียวกัน, 140.

40 ทนงศักดิ์ หาญวงษ, การวิเคราะหโบราณวัตถุท่ีไดจากการขุดคนแหลงโบราณคดีบาน

ทาแค ตําบลทาแค อําเภอเมือง จังหวัดลพบุร,ี 149.

Page 92: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

79

ฝาภาชนะและจุกฝาภาชนะ

ฝาจุกดินเผารูปสัตว(สิงหโต) พบ 2 ช้ิน ท่ีแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร ช้ินท่ี1 หัวกลม

ตาโปน อาปากแลบล้ินฟนเต็มปาก ไมสลักแผงขนแตสลักเปนลายอยูในกรอบสามเหล่ียมแทน ช้ิน

ท่ี2 ลักษณะหัวแบตัด คิ้วตอเปนปกกา ตาโปนอาปากไมเห็นฟน สลักคนท่ีคอเปนรูปสามเหล่ียมตอ

ๆกัน และใตคอก็สลักเปนแผงขนส่ีเหล่ียมตอ ๆ กันอยูในกรอบสามเหล่ียมอีกท่ีหนึ่ง ฝาจุกรูปสัตว

นี้มักพบในแหลงโบราณคดีสมัยทาวรดีในหลายๆ แหง ฝาจุกภาชนะรูปสัตวท่ีพบนี้คงเปนฝาจุก

ภาชนะท่ีใชในโอกาสพิเศษตาง ๆซ่ึงอาจจะเปนฝาจกุของหมอน้ํามนตก็เปนได

เศษภาชนะดินเผาประเภทหมอมีสัน

เศษภาชนะดินเผาประเภทหมอมีสันนี้สามารถบงบอกถึงความนิยมท่ีนิยมมาตั้งแตสมัยกอน

ประวัติศาสตรจนถึงสมัยทวารวดี และหลังจากพุทธศตวรรษที่ 16 หมอมีสัน ดูเหมือนจะไมไดรับ

ความนิยม41 ดังนั้นการพบเศษภาชนะประเภทหมอมีสันในชุมชนโบราณสามารถบงบอกอายุสมัย

และวัฒนธรรมของชุมชนโบราณน้ันได สวนชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรีท่ีพบเศษภาชนะ

หมอมีสันไดแก บานทาแค บานวังไผ เชนเดียวกับท่ีพบตามแหลงโบราณสมัยทวารวดีเชน เมือง

นครปฐมโบราณ42 เมืองอูทอง43 จังหวัดสุพรรณบุรี บานคูเมือง44 จังหวัดสิงหบุรี เมืองจันเสน45

41 ผาสุข อินทราวุธ, รายงานการขุดคนท่ีตําบลพระประโทน อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม,

33. 42 เร่ืองเดียวกัน. 43

กรมศิลปากร, โบราณคดีและประวัติศาสตรเมืองสุพรรณบุร,ี 71. 44

ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, การขุดคนและศึกษา

วัฒนธรรมของชุมชนโบราณท่ีบานคูเมือง อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุร,ี 80. 45 Bennet Bronson and George F.Dales, “Excavation at Chansen,1968-1969”, 51.

Page 93: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

80

จังหวัดนครสวรรค เมืองอูตะเภา46 จังหวัดชัยนาท เมืองเสมา47 จังหวัดนครราชสีมา เมืองคูบัว48

จังหวัดราชบุรี โบราณสถานทุงเศรษฐี49 จังหวัดเพชรบุร ี

เตาดินเผา

ไดแก เตาเชิงกราน และเตารูปกลม เตาเชิงกรานมีการใชในประเทศไทยต้ังแตสมัยเริ่มแรก

ประวัติศาสตรถึงสมัยอยุธยา หนาท่ีของเตาเหลานี้อาจใชเพ่ือประกอบกิจกรรมในการทําอาหาร

ตะคันดินเผา

ตะคันดินเผาคือตะเกียงชนิดหนึ่งทําดวยดินเผาขนาดเล็ก มีรูปกลมใสน้ํามันมะพราวและ

ไสฝาย ใชในชีวติประจําวัน หรือในการถวายในศาสนสถาน ในประเทศไทยตะคันแบบนี้ นิยมใช

ตั้งแตสมัยทวารวดี สันนิษฐานวาในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ มีการใชตะคันดินเผาวางในชองซุม

หรือเวิ้งในกําแพง และฝาพนังภายนอกของอาคารตางๆ

เบาหลอมโลหะ

พบในแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร เกือบทุกระดับ เบาหลอมเหลานี้ มีขนาดเล็ก

พอสมควร ทําดวยดินเผาท้ังหมดยกเวนช้ินหนึ่งทําดวยดินดิบ จํานวนท่ีพบมีท้ังส้ิน 16 ช้ิน

โบราณวัตถุทําดวยเหล็ก

ตะปูท่ีใชสําหรับเครื่องไม และใชในการกอสรางอาคารเพ่ือ ตรึง ยึด ติด สวนของอาคาร

โบราณวัตถุประเภทเครื่องมือหิน

พบช้ินสวนของเคร่ืองมือหินแบบหินบด

46 กรมศิลปากร, โบราณคดีเมืองอูตะเภา, 92.

47 เขมิกา หวังสุข, “พัฒนาการทางวัฒนธรรมในลุมแมน้ํามูล : กรณีศึกษาแหลง

โบราณคดีเมืองเสมา อําเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา”, 146.

48 วิชัย ตันกิตติกรและอังคณา หงษษา, “ การขุดคนชุมชนโบราณสมัยทวารวดีท่ีตําบลคู

บัว อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ป พ.ศ.2526”, 41.

49 กรมศิลปากร, ทุงเศรษฐี โบราณสถานทวารวดีชายฝงทะเลเพชรบุร ี(กรุงเทพฯ : กรม

ศิลปากร,2543), 64.

Page 94: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

81

กระดูกสัตว

ท่ีแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรพบกระดูกสันหลังปลาฉลามจํานวน 8 ช้ิน กระดูกไก

กางปลา กระดองเตาเปนตน ท่ีแหลงโบราณคดีวัดปน พบช้ินสวนกระดองเตา เขาสัตวประเภทกวาง

เกง เตา ตะพาบ กระดูกหมู ไก เปลือกหอยทะเลและเปลือกหอยน้ําจืด สันนิษฐานวานาจะเปนการ

นําสัตวเหลานี้เพ่ือมาประกอบอาหารของกลุมคนท่ีอยูอาศัยในพ้ืนท่ีนี้ก็เปนได

ลูกกระสุนดินเผา

เปนอาวุธท่ีอาจใชในการลาสัตว ในการขุดคนครั้งนี้ไดพบลูกกระสุนปนท่ีแหลง

โบราณคดีบานวิชาเยนทรจํานวน 1 ชิ้น สภาพเหลือเพียงคร่ึงช้ิน พบท่ีแหลงโบราณคดีวัดปน 1 ช้ิน

เสนผานศูนยกลาง 2 เซนติเมตร ขวาก

ขวากเปนเครื่องดักสัตวชนิดหนึ่งมีสวนแหลมทําดวยไม ดินเผาหรือเหล็ก คนโบราณ

นิยมใชในการกีดขวางชาง สัตวตางๆ และผูบุกรุกสถานท่ีสวนบุคคล การขุดคนในครั้งนี้ ไดพบ

สวนหนามของขวาก 1 ชิ้น ทําดวย earthenware

เครื่องมือหิน

พบหินท่ีมีรองรอยการแตง รูปทรงกระบอกมีลักษณะคลาย ๆ ช้ินสวนของหินบดท่ีนิยม

ใชในประเทศไทยตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตรเรื่อมาจนถึงสมัยอยุธยา พบหินทราย 1 ช้ิน แตงเปน

รูปทรงกระบอก คลาย ๆ แทงหินบด นอกจากนี้ยังพบแทงหินบดหินทรายท่ีเหลือครึ่งเดียว

กระเบ้ืองดินเผา

กระเบ้ืองดินเผาหรือกระเบ้ืองมุงหลังคาเปนสวนประกอบหนึ่งของสถาปตยกรรม ใช

เพ่ือมุงหลังคากันแดดกันฝน โบราณวัตถุท่ีเปนกระเบ้ืองดินเผาหรือกระเบ้ืองมุงหลังคามีท้ัง

กระเบ้ืองตัวผูและตัวเมีย กลาวคือกระเบ้ืองตัวผูเปนแบบท่ีใชวางคว่ํา ลักษณะเปนรูปโคงยาวครึ่ง

วงกลม บริเวณสวนปลายมีขนาดใหญกวาสวนโคนและมีเดือยกระเบ้ืองใชสําหรับเกี่ยวกับไม

ระแนงหลังคา สวนกระเบ้ืองตัวเมียเปนแบบท่ีใชวางหงายรูปรางเปนส่ีเหล่ียมผืนผาแผนแบนยาว

ปลายจะแคบกวาดานโคนเล็กนอยท่ีปลายจะมีแทงยาวเรียกวา “นมกระเบ้ือง” ในท่ีนี้ไดพบ

กระเบ้ืองเชิงชายลายพันธุพฤษา ซ่ึงสันนิษฐานวา มาจากหลังคาของโบสถ เนื่องจากกระเบ้ือง

ลักษณะแบบนี้ มีการใชเฉพาะสําหรับศาสนสถาน กระเบ้ืองเชิงชายนี้ ใชเรียกกระเบ้ืองหนาอุดท่ีใช

ในแถวกระเบ้ืองสุดทายของหลังคาท่ีวางตัวบนเชิงชาย เพื่อกันนกเขามาภายใตหลังคา กระเบ้ือง

Page 95: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

82

กาบกลวย ท่ีนิยมใชในสมัยอยุธยาโดยเฉพาะอยางยิ่งในรัชกาลสมเด็จพระนารายณมหาราช สําหรับ

มุงอาคารท่ีสรางในสถาปตยกรรมแบบจีนหรือตะวันตก สําหรับกระเบ้ืองแบนหรือท่ีเรียกกันวา

กระเบ้ืองเกล็ดเตา ใชในการมุงหลังคากันสาด นอกจากนี้ยังพบกระเบ้ืองแบนในปริมาณท่ีมากกวา

ซ่ึงนาจะเปนลักษณะของกระเบื้องปูพ้ืน

กุณฑี

พบช้ินสวนของภาชนะเนื้อแกรงผิวตกแตงดวยน้ําดิน (slip)สีดํา มีท้ังสวนพวยและสวน

ปากกับคอ นาจะเปนช้ินสวนของภาชนะแบบกุณฑีใบเดียวกัน สมัยโบราณกุณฑีนิยมใชในการ

ประกอบพิธีกรรม

เหล็ก

พบลูกกระสุนปนทําดวยเหล็ก 1 ช้ิน ขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 6 ซม.ท่ีแหลง

โบราณคดีบานวิชาเยนทร

ประเภทลูกปด

การขุดคนแหลงโบราณคดบีานวิชาเยนทร ไดพบลูกปดจํานวน 2 ชิ้น ในระดับ 130-140

Cm.Dt. เปนลูกปดแกวสีเขียวออน รูปทรงกระบอก สวนลูกปดท่ีพบอีกหนึ่งช้ินนั้นทําดวยหินคาร

เนเลียนสีแดง รูปทรงกลม ท่ีแหลงโบราณคดีวัดปนพบช้ินสวนลูกปดแกว สีสม สีฟา สีเขียว

จํานวน 5 ชิ้น ซ่ึงแหลงกําเหนิดหรือแหลงท่ีมาของแกวนั้นปรากฏคร้ังแรกในเมโสโปเตเมียในชวง

2300ปกอนคริสตศักราช พบอุปกรณการผลิตแกวในอียิปต อายุชวง 1365 ปกอนคริสตศักราช

สวนในปาเลสไตนพบโบราณวัตถุท่ีทําจากแกวมีอายุชวง 1700 –1300 ปกอนคริสตศักราช ในเอเชีย

กลางพบโบราณวัตถุท่ีทําดวยแกวตั้งแตชวง1300 ปกอนคริสตศักราช ในประเทศจีนพบวัตถุท่ีทํา

จากแกว50 ในประเทศอินเดียชวงราวพุทธศตวรรษที่ 3-4 มีการผลิตแกวเพ่ือเปนสินคาสงออกท่ี

สําคัญ แหลงผลิตใหญอยูท่ีเมืองตักษิลา พาราณสี และอหิจฉัตร ตอมาในราวพุทธศตวรรษที่ 4-8

อินเดียไดรับเอาเทคโนโลยีการผลิตแกวใหมีหลากหลายสีสันมากขึ้น โดยรับอิทธินี้มาจากโรมัน

และมีการผลิตท้ังในภาคเหนือและภาคใตของอินเดีย ในชวงราวพุทธศตวรรษที่ 5-9 ท่ีเมืองอริก

เมฑุ เปนแหลงผลิตเคร่ืองแกวและลูกปดแกวท่ีสําคัญของอินเดียใต51

50 ผาสุข อินทราวุธ,ทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะหจากหลักฐานทางโบราณคด,ี54.

51เรื่องเดียวกัน,55.

Page 96: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

83

ช้ินสวนดินเผารูปบุคคลสวมศิราภรณรูปแบบศิลปะสมัยลพบุรี

พบท่ีแหลงโบราณคดีวัดปน ขนาด กวาง 7 เซนติเมตร สูง 12 เซนติเมตร หนา 5.2

เซนติเมตร พบจํานวน 3 ชิ้น ซ่ึงลักษณะของชิ้นสวนดินเผารูปบุคคลนี้คลายกับช้ินสวนดินเผาหนา

รูปบุคคลท่ีพบในการขุดแตงพระปรางคสามยอด52จังหวัดลพบุรีซ่ึงมีขนาดใกลเคียงกันดวย

ภาพท่ี 121 ช้ินสวนดินเผารูปบุคคลสวมศิราภรณรูปแบบศิลปะสมัยลพบุร ีพบท่ีพระปรางค สามยอด

เครื่องถวยจีน

จีนมีประวัติการทําเครื่องปนดินเผามายาวนานเปนเวลา 5,000-1,500 ปมาแลวมีการ

พัฒนารูปแบบการผลิตเรื่อยมา การพบเครื่องถวยจีนในแหลงโบราณคดีสามารถทําใหทราบอายุ

สมัยของแหลงโบราณคดีไดอยางหนึ่ง

เครื่องถวยจีนสมัยราชวงศซุง

ในสมัยราชวงศซุงนี้นับวาเปนยุคทองของเครื่องถวยจีน จัดเปนอุตสาหกรรมการทํา

เครื่องถวยเคลือบ มีแหลงเตาเผาใหมๆเกิดขึ้นเปนจํานวนมาก มีท้ังแหลงเตาหลวงและแหลงเตา

เอกชน แหลงเตาหลวงนั้นผลิตภัณฑจะเปนลักษณะพิเศษ สําหรับเตาเอกชนนิยมลวดลายท่ีแข็งและ

52 รายงานการบูรณะและปรับปรุงพระปรางคสามยอด(ขุดแตง บูรณะโบราณสถานอิฐ

ศิลาแลง และปรับปรุงภูมิทัศน) ตําบลทาหิน อําเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ปงบประมาณ2548.(เอกสาร

อัดสําเนา),165.

Page 97: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

84

มีสีสดใส มีแหลงผลิตท้ังในมณฑลเหอหนาน ฮังโจว จิ๋งเตอเจิ้น และท่ีหลวงฉวน อายุราวพุทธ

ศตวรรษท่ี15-1853

เครื่องถวยจีนสมัยราชวงศหมิง

ในสมัยนี้จีนมีแหลงผลิตเคร่ืองถวยท่ีสําคัญคือท่ีแหลงเตา จิ่งเตอเจิ้น มณฑลเจียงซี อายุ

ราวพุทธศตวรรษท่ี21-22 แหลงเตาจางโจว มณฑลฝูเจี้ยน ผลิตภัณฑจากแหลงเตานี้จะมีท้ังท่ี

ตกแตงลวดลายและไมตกแตงลวดลายลายท่ีปรากฏบอยๆ คือลายชอดอกไมและลายดอกไมกานขด

มีอายุราวพุทธศตวรรษที2่2 54 ผลิตภัณฑจากแหลงเตานี้จะเปนประเภทเคลือบขาว จะตกแตงดวยสี

น้ําเงินท่ีพรามัวคือเคลือบอยางหนา ท่ีกนภาชนะจะมีทรายติด การคาในอาณาจักรสยามโดยเฉพาะ

การคากับราชวงศหมิงมีความคลองตัวมาก สยามสงสินคาไปยังเมืองจีนและประเทศใกลเคียงมาก

ดวย และสินคาบางอยางของสยามก็ถูกสงไปขายท่ีเมืองจีนโดยผานประเทศใกลเคียง55

เครื่องถวยจีนสมัยราชวงศชิง

มีการฟนฟูการผลิตเคร่ืองถวยขึ้นอีกครั้งท่ีเมืองจิ๋งเตอเจิ้น มณฑลเจียงซี หลังจากท่ีปดทํา

การไปในปลายราชวงศหมิง ในสมัยนี้จะพบการเขียนสีลายสีครามใตเคลือบ มีการขึ้นรูปดวย

แมพิมพ แหลงเตานี้มีอายุราวปลายพุทธศตวรรษที่24 ถึงตนพุทธศตวรรษที2่5

เครื่องถวยญี่ปุน

ในการขุดคนทางโบราณคดีท่ีบานวิชาเยนทร ไดพบเศษเครื่องถวยญี่ปุนท่ีมีอายุราวพุทธ

ศตวรรษท่ี21-22 และ พุทธศตวรรษที2่2-23 ซ่ึงมีการผลิตและแหลงเตาตางกันดังนี้คือ

ในการขุดคนพบวามีเศษเครือ่งถวยญี่ปุนท่ีเนื้อดินแกรง สีน้ําตาลอมแดง การเคลือบน้ํา

เคลือบแบบเปนลายเสนโคงซอนกันหลายเสน ดานในภาชนะมีรอยกี๋ มีอายุราวพุทธศตวรรษที่21-

22 มีแหลงเตาอยูท่ีทาเรือการัตสึ ประเทศญี่ปุน แหลงเตาการัตสึนี้แตแรกในการผลิตนั้นไดรับ

อิทธิพลรูปแบบเครื่องปนดินเผามาจากชางชาวเกาหลีลักษณะภาชนะในยุคแรกๆนั้นจะเปนประเภท

53 ณัฏฐภัทร จันทวิช. เครื่องถวยจีนท่ีพบในแหลงโบราณคดีในประเทศไทย.(กรม

ศิลปากร : กรุงเทพฯ,2537),26.

54

ปริวรรต ธรรมปรีชากร.เครื่องถวยจีน รอยสัมพันธภาพระหวางไทยกับจีน.(อัดสําเนา)

,38-39.

55

สืบแสง พรหมบุญ,ความสัมพันธในระบบบรรณาการระหวางจีนกับไทยค.ศ.1282-

1853(กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร 2525),127.

Page 98: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

85

เนื้อหยาบ หนา น้ําเคลือบดานไมมีเงา ลวดลายท่ีปรากฏนั้นมักจะเปนลายขูดขีด เปนตน แตตอมาเตา

การัตสึนี้ก็ไดรับอิทธิผลการผลิตเคร่ืองถวยแบบจีนดวย ดังนั้นจึงทําใหเครื่องถวยการัตสึเปนเครื่อง

ถวยท่ีไดรับอิทธิพลท้ังเกาหลีและจีนไปพรอม ๆกัน56

เครื่องถวยญี่ปุนอีกแบบหนึ่งท่ีไดจากการขุดคนคือ เครื่องถวยคาคิเอมอนอายุราวพุทธ

ศตวรรษท่ี22 ถึง 23 ซ่ึงเปนช่ือของชาวญี่ปุนท่ีเปนผูผลิตเคร่ืองถวยตระกูลนี้ มีช่ือจริงวา Sakaida

Kizayemon อยูท่ีนานกาวารา (Nangavara) ใกลกับเมืองอาริตะ (Arita) Kizayemonไดไปเรียนรู

เรื่องการผลิตเคร่ืองถวยจากนาย ฮิกาชิจิมา (Higashijima) ซ่ึงนายฮิกาจิมา ไดไปเรียนรูเทคนิคการ

เขียนลายบนเคลือบกับชางชาวจีนท่ีเขามาท่ีเมืองนางาซากิในสมัยนั้น และท้ังสองคนก็ไดเดินทางไป

ยังเมืองอิมาริ (Imari) เพื่อทดลองผลิตเคร่ืองถวยเคลือบสี และไดผลิตใหกับเจาเมืองอิมาริซ่ึงเจา

เมืองพอใจเปนอยางมาก จึงไดเปล่ียนช่ือ Kizayemon เปน Kakiyemon และไดกลายมาเปนช่ือของ

เครื่องถวยดังกลาว เครื่องถวยคาคิเอมอน มีเทคนิคในการผลิตคือ เขียนลายลงบนเคลือบ และมีการ

เขียนสีหลายสี เชน น้ําเงินเขม แดง เหลือง เขียว และมีการใชสีทองรวมดวย เนื้อของเครื่องถวยบาง

แกรง ในสวนของลวดลายก็จะเปนรูปแบบเฉพาะแตก็มีพ้ืนฐานมาจากเคร่ืองถวยจีน ลวดลายท่ี

ปรากฏนั้นจะเปนรสนิยมแบบญี่ปุนท่ีชอบความเรียบงาย และลวดลายท่ีปรากฏก็มักจะมีการเวน

ระยะหาง(วาง)ของพ้ืนผิวภาชนะ ไมนิยมเขียนลายถ่ี ๆ หรือลวดลายท่ีซํ้า ๆกัน ถาเปนภาพทิวทัศน

เขานิยมท่ีจะเขียนเพียงเมือง ตนไม และกอนหิน สําหรับขนาดของเครื่องถวยตระกูลคาคิเอมอนนี้

จะเปนเคร่ืองถวยขนาดเล็ก เชน ถวย จาน ชาม ตอมาในราวปพ.ศ. 2189 (ค.ศ.1646)นายคาคิเยมอน

ไดสงส้ินคาของเขามาขายใหกับชาวจีนท่ีเมืองนางาซากิ และไดมีการนําไปจําหนายท่ียุโรป และใน

เวลาตอมาก็ไดเปนท่ีนิยมอยางมากในยุโรป เนื่องจากเอกลักษณท่ีไมเหมือนใคร57

เครื่องถวยเบญจรงค

เครื่องถวยเบญจรงคปรากฏขึ้นครั้งแรกในสมัยสมเด็จพระนารายณ สันนิษฐานวานาจะ

เขียนลายท่ีเมืองไทยแลวสงไปเผาท่ีเตามณฑล ประเทศจีน ซ่ึงตรงกับสมัยพระเจาพระเจาคังซีของ

จีน ลักษณะพิเศษของเครื่องถวยเบญจรงคคือ การใชสีเขียนถึง3 ,5,8 สีลงในหนึ่งใบ เชน สีแดง

เหลือง เขียว ขาว ดํา น้ําเงิน เปนการเขียนสีผสมเคลือบ(Enamel) สีจึงนูนขึ้นมา ลวดลายท่ีปรากฏ

จะเขียนแบไมมีชองวางบนพ้ืนท่ีภาชนะ ลวดลายท่ีนิยมคือ เทพพนม ลายกนก ลายพันธพฤกษา

56Gorham,Hazel H. Japanese and Oriental ceramics.Rutland,Charles E. Tuttle,

c1971.74-75.

57Gorham,Hazel H.Japanese and Oriental ceramics.Rutland,Charles E. Tuttle, c1971.73-

93.

Page 99: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

86

เครื่องถวยเวียดนาม

หรือเครื่องถวยอันหนาน ท่ีเมืองอันหนานมีการผลิตเครื่องถวยมาประมาณ 2,000 ป

มาแลว ในระยะแรกน้ันคงไดรับอิทธิพลมาจากจีน เครื่องถวยอันหนานเจริญสูงสุดในชวงพุทธ

ศตวรรษท่ี20-21 สงเปนสินคาออกอยางมาก เนื่องจากเมืองจีนมีปญหาและชะลอการผลิตลงในชวง

ปลายราชวงศหมิงถึงตนราชวงศชิง อันหนานผลิตเคร่ืองถวยหลายรูปทรง เชน ชาม จาน ถวย กาน้ํา

แจกันไหและกระปุก เปนตน ลักษณะเดนของเครื่องถวยเวียดนามคือ การเขียนสีน้ําตาลท่ีกนภาชนะ

(Choccholate Base) เครื่องถวยเวียดนามไดรับอิทธิพลเครื่องถวยสมัยราชวงศหมิงของจีนคือ ลาย

คราม ลายเขียนสีและเคลือบสีขาว58

เครื่องถวยเขมร

แหลงเตาท่ีสําคัญคือแหลงเตาบุรีรัมย ในการขุดคนของกรมศิลปากรพบวาในจังหวัด

บุรีรัมยพบเตาเผาเครื่องถวยแบบเขมรกระจายอยูท่ัวไปในอําเภอบานกรวด และอําเภอระหานทราย

พบวามีการผลิตเคร่ืองถวยแบบเขมรทุกประเภทท้ังแบบเขียวใส และเคลือบน้ําตาล และภาชนะไม

เคลือบ ซ่ึงการผลิตภาชนะท้ังรูปแบบและสีสันอาจขึ้นอยูกับความนิยมในการนํามาใชในพิธีกรรม

ทางศาสนาก็เปนไปได และผลิตเพ่ือการสงออกจําหนายไปยังท่ีตาง ๆในประเทศไทยในชวงพุทธ

ศตวรรษท่ี16-19 เคร่ืองถวยเขมรท่ีพบท่ีบานวิชาเยนทรนี้มีท้ังเคลือบสีดํา สีน้ําตาล กําหนดอายุ

ประมาณพุทธศตวรรษที่16-2059

ภาชนะดินเผาบานบางปูน

แหลงผลิตเตาบานบางปูนอยู ท่ีบานบางปูน ตําบลพิหารแดง อําเภอเมือง จังหวัด

สุพรรณบุรี แหลงเตานี้มีการขุดคนทางโบราณคดีโดยโครงการโบราณคดีประเทศไทยภาคกลางทํา

ใหทราบวามีการผลิตเคร่ืองปนดินเผามาตั้งแตพุทธศตวรรษที1่8-21 ลักษณะของเครื่องปนดินเผาเตา

บานบางปูนนี้มีเอกลักษณท่ีเดน ๆ คือ การประทับลวดลายในกรอบส่ีเหล่ียมส่ีสวนไหลของภาชนะ

เชนรูปบุคคล ชาง มา หงส เปนตน ซ่ึงเปนการบอกเลาเรื่องราวตาง ๆ เชนพระราชพิธีพืชมงคลจรด

พระนังคัล พระราชพิธีคลองชาง การตอสูของนักรบ เปนตน60 ในการขุดคนทางโบราณคดีท่ีแหลง

58

ปริวรรต ธรรมปรีชากุล.การบรรยายเรื่องเครือ่งถวยท่ีพิพิธภัณฑเครื่องถวยเอเชีย

ตะวันออกเฉียงใต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. 59

กําหนดอายุโดย คุณปริวรรต ธรรมปรีชา.

60กรมศิลปากร,แหลงเตาเผาบานบางปูน (กรุงเทพฯ : โครงการโบราณคดีประเทศไทย กอง

โบราณคดี กรมศิลปากร,2531),31-73.

Page 100: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

87

โบราณคดีบานวิชาเยนทรและแหลงโบราณคดีวัดปนไดพบเศษภาชนะท่ีมีการกดประทับลายรวม

ดวย

เครื่องถวยจีนท่ีพบในการขุดคนบานวิชาเยนทร พ.ศ.2549 สามารถจําแนกถึงสมัยท่ีพบตามระดับช้ัน

ดินดังนี้

1. เคร่ืองถวยจีนในสมัยราชวงศซุง ราวพุทธศตวรรษที่15-18 เริ่มพบในช้ันดินระดับ

290-300 Cm.Dt.จนถึง ช้ันดิน ระดับ 150-160 Cm.Dt.

2. เครื่องถวยจีนในสมัยราชวงศหยวน ราวพุทธศตวรรษที่18-19 และเครื่องถวยเวียดนาม

(พุทธศตวรรษที่ 19-20) เริ่มพบในระดับ 200-210 Cm.Dt.จนถึง ช้ันดินระดับ 140-150 Cm.Dt.

3. เครื่องถวยจีนในสมัยราชวงศหมิง ราวพุทธศตวรรษที่19-21 เริ่มพบในช้ันดินระดับ

130-140 Cm.Dt. จนถึง ช้ันดินระดับ 110-120 Cm.Dt.

4.เคร่ืองถวยจีนในสมัยราชวงศชิงราวพุทธศตวรรษท่ี21-24 เริ่มพบในระดับ 120-130

Cm.Dt.จนถึง ช้ันดินระดับ 60-90 Cm.Dt.

ซ่ึงสามารถสรุปไดดังนี ้

ในระดับ 300-210 Cm.Dt สามารถกําหนดอายุในเบ้ืองตน ไดวาเปนสมัยวัฒนธรรมรวม

แบบเขมร (ลพบุร)ี กําหนดอายุราวพุทธศตวรรษที่ 16-18

ในระดับ 210-150 Cm.Dt สามารถกําหนดอายุในเบ้ืองตน ไดวาเปนสมัยวัฒนธรรม

อยุธยาตอนตน กําหนดอายุราวพุทธศตวรรษท่ี 19-20 เนื่องจากยังพบเศษเครื่องถวยจีนในสมัย

ราชวงศซุง ท่ีอาจใชสืบเนื่องตอกันได

ในระดับ 140-110 Cm.Dt สามารถกําหนดอายุในเบ้ืองตนไดวาเปนสมัยวัฒนธรรม

อยุธยาตอนปลาย กําหนดอายุราว พุทธศตวรรษที่ 20-23

ในระดับท่ี 110-60 Cm.Dt อาจจะเปนช้ันดินรบกวนจากดินถม เนื่องจากมีเศษเครื่องถวย

ในสมัยราชวงศซุง ท่ีมีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 16-18 ปะปนอยูดวย

Page 101: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

88

ตารางแสดงเครื่องถวยตางประเทศ พบจากการขุดคนทางโบราณคดีท่ีบานวิชาเยนทรปพ.ศ.2549

ยุคสมัย/ราชวงศ ระดับ

(Cm.Dt.) ราชวงศซุง

พศต. 16- 19

ราชวงศหยวน

พศต. 19-20

เวียดนาม

พศต. 19-20

ราชวงศหมิง

พศต.20-22

ราชวงศชิง

พศต.22-25

60-90

90-100

100-110

110-120

120-130

Page 102: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

89

(ตอ)

ยุคสมัย/ราชวงศ ระดับ

(cmdt.) ราชวงศซุง

พศต. 16- 19

ราชวงศหยวน

พศต. 19-20

เวียดนาม

พศต. 19-20

ราชวงศหมิง

พศต.20-22

ราชวงศชิง

พศต.22-25

130-140

140-150

150-160

160-170

170-180

180-190

Page 103: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

90

(ตอ)

ยุคสมัย/ราชวงศ ระดับ

(cmdt.) ราชวงศซุง

พศต. 16- 19

ราชวงศหยวน

พศต. 19-20

เวียดนาม

พศต. 19-20

ราชวงศหมิง

พศต.20-22

ราชวงศ

ชิง

พศต.

22-25

190-200

200-210

210-220

220-230

230-240

240-250

250-260

Page 104: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

91

(ตอ)

ยุคสมัย/ราชวงศ ระดับ

(cmdt.) ราชวงศซุง

พศต. 16- 19

ราชวงศหยวน

พศต. 19-20

เวียดนาม

พศต. 19-20

ราชวงศหมิง

พศต.20-22

ราชวงศชิง

พศต.22-25

260-270

270-280

280-290

290-300

Page 105: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

92

บทที3่ บทวิเคราะห

ในการศึกษาเรื่องพัฒนาการเมืองลพบุรี กรณีศึกษาแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรและแหลง

โบราณคดีใกลเคียง(วัดปน) ในการศึกษาครั้งนี้ไดนําขอมูลจากการขุดคนทางโบราณคดีท้ังสองแหลงมาวิเคราะหถึงพัฒนาการทางวัฒนธรรม โดยผลของการศึกษามีดังตอไปนี ้ แหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร หลักฐานเอกสารท่ีสันนิษฐานวาไดกลาวถึงบานวิชาเยนทร ป พ.ศ.2228 มีหลักฐานเอกสารท่ีกลาวถึงดังนี ้

จดหมายเหตุรายวันการเดินทางของบาทหลวง เดอ ชัวซีย กลาววา “....ไดมีการขอใหทานราชทูตพักอยูท่ีนั่นสักสองสามวันกอน เพราะเรือนพักท่ีเมืองละโวยังไมเสร็จเรียบรอย รอปรับพ้ืนดินใหราบกอน”

ในบันทึกของบาทหลวงตาชารด กลาววา “ทางการไดจัดรับรองทานราชทูตท่ีทําเนียบของ ม. ก็องสตังซ ซ่ึงพระเจาแผนดินโปรดใหสรางพระราชทานเพ่ิงแลวเสร็จ....เขาหวังวาทานราชทูตคงจะไมรังเกียจท่ีจะพํานักอยูในเคหสถานของพวกเขา” และอีกตอนหนึ่งกลาวไววา “.....เขาไดเตรียมนิวาสสถานหลังงามซ่ึงไดสรางขึ้นมาเปนเวลา2ปมาแลวไวให ซ่ึงอยูติดกับหลังท่ีสรางขึ้นเม่ือคราวเดินทางครั้งท่ีแลว อันเปนท่ีพักรับรองทานราชทูต ซ่ึงหลังใหมนี้งดงามยิ่งขึ้นไปและนาอยูกวาหลังแรกมาก ไดรับการตกแตงอยางหรูหรา และมีหองท่ีสะดวกสบาย....มีโรงสวดท่ีหรูหรากวางขวาง...” หลักฐานทางโบราณคดี แหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรมีการขุดคนทางโบราณคด ี2 ครั้งคือ ในปพ.ศ.2530และการขุดคนในปพ.ศ.2549 สําหรับปพ.ศ.2549 บริเวณท่ีทําการขุดคนเปนช้ันดินถมจึงทําการศึกษาช้ันวัฒนธรรมไดยากและยังขุดไมถึงช้ัน sterile หลักฐานท่ีสามารถนํามาศึกษาถึงลําดับพัฒนาการทางวัฒนธรรมในการขุดคนแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรนั้นไดใชขอมูลในการขุดคนปพ.ศ.2530 เปนขอมูลหลัก หลักฐานทางโบราณคดีท่ีไดจากการขุดคนปพ.ศ.2530 นํามาวิเคราะหและลําดับพัฒนาการไดดังตอไปนี ้

Page 106: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

93 สมัยทวารวดี อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 11-16

ในช้ันวัฒนธรรมลางสุดพบหลักฐานท่ีเปนซากโบราณสถานท่ีเรียงดวยอิฐ เปนแนวเฉียงดานทิศเหนือกวาง 50 เซนติเมตร ทิศใตกวาง 100 เซนติเมตร ตรงกลางมีหลุมกลม อิฐท่ีใชมีขนาดกวาง 21 เซนติเมตร ยาว 35 เซนติเมตร หนา 2.5 เซนติเมตร สันนิษฐานวาซากโบราณสถานนี้นาจะใชเปนศาสนสถานสมัยทวารวดีและยังพบโบราณวัตถุรวมช้ันวัฒนธรรมดังตอไปนี้ ประติมากรรมรูปหนาบุคคลและรูปบุคคลจูงลิง เศษภาชนะดินเผามีสัน รูปแบบภาชนะดินเผามีสันเปนลักษณะของภาชนะดินเผาท่ีนิยมใชในสมัยกอนประวัติศาสตรท้ังในอินเดียและกลุมประเทศเอเชียอาคเนย เปนรูปแบบท่ีแพรหลายในแหลงโบราณคดีสมัยทวารวดีเกือบทุกแหง หมอมีสันใชในการหุงหาอาหาร และหลังจากสมัยทวารวดีไปหมอมีสันไดรับความนิยมนอยลงตามลําดับ กลุมภาชนะเหลานี้เปนกลุมท่ีใชในครัวเรือนซ่ึงไดเปรียบเทียบกับโบราณวัตถุในแหลงโบราณคดีอ่ืนๆท่ีมีการศึกษามาแลวในวัฒนธรรมทวารวดี แวดินเผา เปนสวนหนึ่งของเครื่องมือปนดายท่ีทําใหเสนใยจากพืชรวมตัวกันเปนเสนดาย เพ่ือนําไปทอเปนเครื่องนุงหม พบในการขุดคนทางโบราณคดีท้ังในสมัยกอนประวัติศาสตร และสมัยประวัติศาสตร พวยกาดินเผา เปนช้ินสวนของกาดินเผา หรือภาชนะดินเผาท่ีมีพวยสําหรับเทหรือริน มีหลายรูปแบบและหลายทรง พวยกาดินเผานี้มักพบในแหลงโบราณคดีสมัยทวารวดีในหลาย ๆแหง ซ่ึงเปนรูปแบบของภาชนะดินเผาท่ีรับมาจากอินเดีย ฝาจุกดินเผารูปสัตว (สิงโต) พบ 2 ช้ิน ช้ินท่ี1 หัวกลม ตาโปน อาปากแลบล้ินฟนเต็มปาก ไมสลักแผงขนแตสลักเปนสายอยูในกรอบสามเหล่ียมแทน ช้ินท่ี2 ลักษณะหัวแบตัด คิ้วตอเปนปกกา ตาโปนอาปากไมเห็นฟน สลักคนท่ีคอเปนรูปสามเหล่ียมตอ ๆกัน และใตคอก็สลักเปนแผงขนส่ีเหล่ียมตอ ๆ กันอยูในกรอบสามเหล่ียมอีกท่ีหนึ่ง ฝาจุกรูปสัตวนี้มักพบในแหลงโบราณคดีสมัยทาวรดีในหลายๆ แหง ฝาจุกภาชนะรูปสัตวท่ีพบนี้คงเปนฝาจุกภาชนะท่ีใชในโอกาสพิเศษตาง ๆซ่ึงอาจจะเปนฝาจุกของหมอน้ํามนตก็เปนได เบ้ียดินเผา พบเบ้ียดินเผาท้ังแบบ Stone ware และ Earthen ware เบ้ียดินเผานี้สันนิษฐานวานาจะใชแทนเงินตรา หรืออาจเปนของเลนเด็กก็ได แทงหินบดและหินบด พบท่ัวในแหลงโบราณคดีสมัยทวารวด ี

ตางหูตะกั่วพบตางหูโลหะในระยะการอยูอาศัยสมัยทวารวด ี จากหลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบทําใหสันนิษฐานไดวาบริเวณแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรนี้นาจะมีพัฒนาการทางวัฒนธรรมมาตั้งแตสมัยทวารวดีแลว เนื่องจากพบวัตถุทางวัฒนธรรมในสมัยทวารวดีหลายอยาง และอาจทําใหสันนิษฐานตอไปวาพ้ืนท่ีบริเวณแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรนี้นาจะ

Page 107: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

94 เปนพ้ืนท่ีของการอยูอาศัยของผูคนในสมัยทวารวดีเพราะพบโบราณวัตถุท่ีเกี่ยวเนื่องกับการใชในชีวิตประจําวัน เชน ซากโบราณสถานกอดวยอิฐ ภาชนะดินเผาประเภทหมอ พวกกาดินเผา ลูกกระสุนดินเผา ขวาก ซ่ึงเปนเครื่องมือท่ีใชในการลาสัตวและอาจนําสัตวนั้นมาประกอบอาหาร และแวดินเผาท่ีพบอาจทําใหสันนิษฐานไดวานาจะมีการทอผาเพ่ือใชเปนเครื่องนุงหมดวย สําหรับตุกตาดินเผาและเบ้ียดินเผานี้อาจจะเปนของเลนเด็กและตุกตาดินเผานี้ยังสันนิษฐานไดวาอาจจะใชในพิธีกรรมตามความเช่ือในสมัยนั้นก็เปนได

สมัยลพบุรีอายุราวพุทธศตวรรษท่ี16-18 หลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบและเกี่ยวเนื่องกับวัฒนธรรมลพบุรีในแหลงโบราณคดีบานวิ

ชาเยนทรพบเปนจํานวนนอย พบเศษภาชนะดินเผาจากแหลงเตาบานกรวดบุรีรัมย สวนหลักฐานทางโบราณคดีอ่ืน ๆนั้นไมปรากฏในการขุดคนปพ.ศ.2530 และ ปพ.ศ.2549 จึงทําใหสันนิษฐานวาพัฒนาการทางวัฒนธรรมสมัยลพบุรีในบริเวณแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรนี้มีการใชพ้ืนท่ีอยางเบาบาง สมัยสุโขทัย อายุราวพุทธศตวรรษท่ี19-20 หลักฐานทางโบราณคดีท่ีเกี่ยวกับพัฒนาการทางวัฒนธรรมในสมัยสุโขทัยบริเวณแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรนี้อาจะเปนเหมือนกับแหลงโบราณคดีอ่ืน ๆ ภายในตัวเมืองท่ีพบเพียงเศษภาชนะดินเผาเทานั้น อาจทําใหสันนิษฐานไดวาในชวงสมัยนี้เมืองลพบุรีและแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรอาจไมไดรับอิทธิพลทางวัฒนธรรม มากนัก อาจจะมีการติดตอระหวางเมืองท้ังสองโดยผานการคาและสินคาท่ีสําคัญของสุโขทัยในชวงเวลานี้คือ ภาชนะดินเผาจากแหลงเตาเมืองสุโขทัย สมัยอยุธยา อายุราวพุทธศตวรรษท่ี20-22 หลักฐานเอกสารท่ีกลาวถึงบานวิชาเยนทรมีในบันทึกและจดหมายเหตุชาวตางชาติกลาวถึงการสรางบานหลวงรับราชทูต หรือบานวิชาเยนทร มีอายุราวชวงพุทธศตวรรษท่ี22 จากหลักฐานทางสถาปตยกรรมท่ีปรากฏบริเวณแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรเปนสถาปตยกรรมแบบตะวันตกซ่ึงไดรับความนิยมในสมัยสมเด็จพระนารายณ รูปแบบท่ีโดดเดนคือการทําวงโคงท่ีชองประตูและหนาตาง ซ่ึงมักปรากฏในแหลงโบราณคดีภายในตัวเมืองลพบุรีท่ีสมเด็จพระนารายณไดทําการบูรณะไว อาคารตางๆในบริเวณบานวิชาเยนทรมีหนาท่ีการใชงานดังนี้คือ เปนบานพักรับราชทูต บานพักเจาพระยาวิชาเยนทร เปนโบสถคริสต จากหลักฐานเอกสารและหลักฐานทางโบราณคดีทําใหสันนิษฐานวาบริเวณแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรนี้มีพัฒนาการครั้งสําคัญในสมัยสมเด็จพระนารายณ มีการรับเอา วัฒนธรรมตะวันตกเขามาในงานกอสรางหรือสถาปตยกรรม มีการติดตอทางการทูตเจริญสัมพันธไมตรีระหวางอยุธยาในสมัยสมเด็จพระนารายณกับฝรั่งเศสในสมัยพระเจาหลุยสท่ี14 ซ่ึงหลักฐานเอกสารและหลักฐานทางโบราณคดีตรงกันคือมีการเจริญสัมพันธไมตรีระหวางประเทศท้ังสองจนกระท่ังมีการสรางบานเพ่ือ

Page 108: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

95 รับรองคณะทูตท่ีเดินทางเขามาในชวงเวลานั้นดวย นอกจากนี้ยังมีหลักฐานเอกสารท่ีกลาวถึงการเผยแพรศาสนาคริสตในสมัยนั้น พบหลักฐานโบราณสถานท่ีเกี่ยว ของกับศาสนาคริสตท่ีไดเผยแผมายังลพบุรี คือ โบสถทางศาสนาคริสตในบริเวณบานวิชาเยนทร นอกจากนี้ หลักฐานทางโบราณคดีอ่ืนท่ีพบเชน เศษเครื่องถวยจีนท่ีพบในปริมาณมาก และเศษเครื่องถวยเบญจรงครุนแรกของไทยซ่ึงส่ังทําจากเมืองจีน ทําใหสันนิษฐานวาเมืองลพบุรีมีการติดตอคาขายกับเมืองจีนดวย แหลงโบราณคดีวัดปน หลักฐานเอกสารตั้งแตสมัยอยุธยาลงไปท่ีกลาวถึงแหลงโบราณคดีวัดปนนั้นยังไมปรากฏ ในสวนของหลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบในการขุดคนมีดังนี้ สมัยทวารวดีอายุราวพุทธศตวรรษท่ี11-16 รองรอยแนวอิฐมีสวนผสมของแกลบขาวซ่ึงไมสามารถบอกขนาดของตัวอาคารหรือหนาท่ีการใชงานไดอยางชัดเจน บริเวณนอกหลุมขุดคนพบเศียรพระพุทธรูปสลักจากหินแอนดิไซดเหลือเพียงเส้ียวพระพักตรดานซาย ขนาดกวาง 12 เซนติเมตร หนา 8.5 เซนติเมตร สูง 18 เซนติเมตรซ่ึงมีรูปแบบศิลปะสมัยทวารวดี อยางไรก็ตามจากหลักฐานเกี่ยวเนื่องในศาสนาท่ีพบในปริมาณท่ีไมหนาแนนนัก จึงอาจเปนไปไดวาบริเวณนี้อาจจะมีการสรางศาสนสถานขนาดเล็กในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ในชวงพุทธศตวรรษท่ี11-16ก็เปนได นอกจากนั้นยังพบหลักฐานประเภท เศษภาชนะดินเผาเนื้อดินธรรมดาประเภทหมอกนกลม ทรงชาม หมอมีสัน กลุมภาชนะท่ีตกแตงดวยการทาน้ําดินนวล-แดง ขัดมัน รมควัน สันนิษฐานวาเปนกลุมภาชนะท่ีผลิตขึ้นใชในทองถ่ินท่ีมีพัฒนาการมาตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตรและยังคงใชตอเนื่องเรื่อยมาจนถึงสมัยประวัติศาสตร

พวยกาดินเผา มักพบในช้ันวัฒนธรรมทวารวดี เปนสวนหนึ่งของภาชนะดินเผาท่ีมีพวยไวริน แทนหินบด พบจํานวน 3 ช้ิน ทําจากหินทรายสีแดง หินแอนดิไซนและแกรนิต ใชในการบด

เมล็ดพืช กระสุนดินเผา อาจใชในการลาสัตว เบ้ียดินเผา ลักษณะเปนแผนดินเผากลมคลายเหรียญ แทนหินบด ทําจากหินแอนดิไซนและแกรนิต ดานบนผิวเรียบ ใชในการบดเมล็ดพืช ช้ินสวนพวยกาดินเผา ท่ีพบนี้มักพบในกลุมภาชนะดินเผาสมัยทวารวดี เศษภาชนะดินเผา,เศษภาชนะดินเผามีสัน พบวามีการกระจายตัวอยูท่ัวไปในแหลงโบราณคดี

วัดปน สวนท่ีพบมากท่ีสุดคือสวนปาก ภาชนะดินเผาเหลานี้มีพัฒนาการมาตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร

Page 109: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

96 และมีการใชงานตอเนื่องเรื่อยมา โดยอาจใชภาชนะเหลานี้ในการหุงหาอาหารซ่ึงเปนส่ิงสําคัญในชีวิตประจําวัน

จากหลักฐานในช้ันวัฒนธรรมนี้สวนใหญเปนหลักฐานท่ีมักพบในแหลงโบราณคดีสมัยทวารวดี เชนเดียวกับท่ีพบในบริเวณแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรดวย จึงทําใหสันนิษฐานไดวา พัฒนาการทางวัฒนธรรมในสมัยนี้นาจะเปนพ้ืนท่ีการอยูอาศัยและในสวนของพัฒนาการทางวัฒนธรรมในสมัยทวารวดีของแหลงโบราณคดีวัดปนนี้นาจะเปนพ้ืนท่ีท่ีมีการอยูอาศัยของมนุษยมากอนในชวงเวลาหนึ่ง และอาจจะมีการปรับเปล่ียนพ้ืนท่ีในอีกระยะเวลาหนึ่งเพ่ือสรางศาสนสถานขนาดเล็กขึ้นในบริเวณท่ีแหงนี้ก็เปนได เพราะพบแนวอิฐโบราณสถาน และพบพระพุทธรูปสลักจากหินศิลปะทวารวด ี สมัยลพบุรี ราวพุทธศตวรรษท่ี16-18 ช้ินสวนดินเผารูปบุคคลสวมศิราภรณรูปแบบศิลปะสมัยลพบุรี ขนาด กวาง 7 เซนติเมตร สูง 12 เซนติเมตร หนา 5.2 เซนติเมตร พบจํานวน 3 ช้ิน ซ่ึงลักษณะของช้ินสวนดินเผารูปบุคคลนี้คลายกับช้ินสวนดินเผาหนารูปบุคคลท่ีพบในการขุดแตงพระปรางคสามยอด1จังหวัดลพบุรีซ่ึงมีขนาดใกลเคียงกันดวย ไมพบรองรอยสถาปตยกรรมรวมสมัยดังเชน ท่ีแหลงโบราณคดีปรางคแขก แหลงโบราณคดีพระปรางคสามยอด และแหลงโบราณคดีวัดพระศรีรัตนมหาธาตุซ่ึงเปนศาสนสถานขนาดใหญท่ีเกี่ยวเนื่องกับวัฒนธรรมรวมแบบเขมร สําหรับช้ินสวนรูปบุคคลสวมศิลาภรณรูปแบบศิลปะสมัยลพบุรีท่ีพบในแหลงโบราณคดวีัดปนซ่ึงพบในจํานวนไมมากนักจึงทําใหไมสามารถตีความในภาพรวมไดชัดเจนนัด นอกจานี้ยังพบเศษภาชนะดินเผา เครื่องถวยลพบุรี จากแหลงเตาบานกรวดบุรีรัมยอายุราวพุทธศตวรรษท่ี17-19 ในช้ันวัฒนธรรมนี้ดวย จากหลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบทําใหสันนิษฐานวาพัฒนาการทางวัฒนธรรมในชวงเวลานี้พ้ืนท่ีโดยรอบอาจมีการสรางศาสนสถานซ่ึงเปนการแผยแผวัฒนธรรมแบบเขมรท่ีเขามายังเมืองลพบุรี แตบริเวณแหลงโบราณคดีวัดปนนี้ไมพบส่ิงกอสรางท่ีเกี่ยวของกับการสรางศาสนสถานแตอยางใด อาจมีการอยูอาศัยของมนุษยชวงเวลานี้ในปริมาณท่ีเบาบาง หรืออาจเปนพ้ืนท่ีรกรางในช่ัวระยะเวลาหนึ่งกอนท่ีมีมีพัฒนาการในสมัยตอไป

1 รายงานการบูรณะและปรับปรุงพระปรางคสามยอด(ขุดแตง บูรณะโบราสถานอิฐ ศิลาแลง และปรับปรุงภูมิทัศน) ตําบลทาหิน อําเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ปงบประมาณ2548.(เอกสารอัดสําเนา),165.

Page 110: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

97 สมัยสุโขทัยราวพุทธศตวรรษท่ี19-20 หลักฐานท่ีเกี่ยวของกับพัฒนาการทางวัฒนธรรมในสมัยสุโขทัยท่ีพบในแหลงโบราณคดีวัดปนนี้พบเพียงเศษภาชนะดินเผาจากแหลงเตาศรีสัชนาลัย-สุโขทัย ทําใหสันนิษฐานวาในชวงเวลาดังกลาวแหลงโบราณคดีวัดปนอาจจะเปนเชนเดียวกับแหลงโบราณคดีอ่ืนๆในตัวเมืองท่ีปรากฏหลักฐานทางวัฒนธรรมสมัยสุโขทัยเพียงเล็กนอยเทานั้น ซ่ึงมีการใชพ้ืนท่ีอยางเบาบางในสมัยนี ้สมัยอยุธยา ราวพุธศตวรรษท่ี20-23 หลักฐานเอกสารในสมัยอยุธยายังไมพบวาไดมีการกลาวถึงโบราณสถานวัดปน สําหรับหลักฐานทางสถาปตยกรรมท่ีปรากฏ คือ อาคารศาสนสถานสรางดวยอิฐ 2 หลัง คือ วิหาร จากลักษณะทางสถาปตยกรรมเปนอาคารทรงตึกท่ีสรางขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ อาคารทิศใตของอาคารประธาน ไมสามารถระบุหนาท่ีการใชงานไดเนื่องจากถูกทําลายลง เจดีย เหลือเพียงสวนฐาน สันนิษฐานวานาจะสรางในสมัยสมเด็จพระนารายณ และคงถูรื้อทําลายลงในสมัยหลังมานี้เอง

เศียรพระพุทธรูปหินทราย,เศียรพระพุทธรูปทรงเครื่อง ศิลปะอยุธยา เศษภาชนะแหลงเตาบานบางปูน ผลิตภัณฑท่ีพบนั้นมักพบเศษแตกหักของภาชนะทรงไหเปนสวนใหญ มีการตกแตงลวดลายท่ีกดประทับแบบตาง ๆ จากหลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบทําใหสันนิษฐานวาพัฒนาการทางวัฒนธรรมของแหลงโบราณคดีวัดปนในสมัยอยุธยานั้นปรากฏเดนชัดในสมัยสมเด็จพระนารายณท่ีมีการสรางศาสนสถานขึ้นในบริเวณพ้ืนท่ีนี้

Page 111: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

98 ตารางแสดงพัฒนาการทางวัฒนธรรมจากหลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบ แหลงโบราณคด ี อายุสมัย ตํานาน/

จารึก/ บันทึก

ชาวตางชาต ิ

ศิลปกรรม/สถาปตยกรรม/ประติมากรรม

โบราณวัตถ ุ

บานวิชาเยนทร ทวารวด ี(ราวพุทธศตวรรษท่ี12-16)

- -ฐานอาคารกออิฐ -ตุกตาคนจูงลิง -ภาชนะดินเผาสมัยทวารวด ี

ลพบุรี - - -เศษภาชนะดินเผาสมัยลพบุร ี

สุโขทัย - - -เศษภาชนะดินเผาสมัยสุโขทัย

อยุธยา -บาทหลวงเดอชัวซีย -บาทหลวงตาชารด

อาคารกออิฐถือปูนสถาปตยกรรมเรเนสซอง

-เศษภาชนะดินเผาบานบางปูน -เศษเครื่องถวยจีนสมัยราชวงศหยวน,หมิง,ชิง

Page 112: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

98

บทที4่ สรุป

จากการศึกษาเรื่องพัฒนาการทางวัฒนธรรมของแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรและแหลงโบราณคดีใกลเคียงสามารถสรุปผลการศึกษาไดดังนี ้ แหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร แหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรมีพัฒนาการทางวัฒนธรรมในระยะแรกเริ่มในสมัย ระยะท่ี 1 สมัยทวารวดีอายุราวพุทธศตวรรษท่ี 11-16 เพราะพบหลักฐานโบราณวัตถุท่ีเกี่ยวของกับการอยูอาศัยและเครื่องใชในชีวิตประจําวัน เชน ฐานหลุมเสาบานกอดวยอิฐ เศษหมอดินเผาแบบมีสัน แวดินเผา ลูกกระสุนดินเผา ตุกตาดินเผา ฝาจุกภาชนะดินเผารูปสิงโต ตางหูโลหะ เปนตน สันนิษฐานวานาจะเปนการตั้งถ่ินฐานในระยะแรกเริ่มของพ้ืนท่ีบริเวณนี้ ระยะท่ี 2 สมัยลพบุรี อายุราวพุทธศตวรรษท่ี16-18 พบหลักฐานโบราณวัตถุประเภทภาชนะดินเผาจากแหลงเตาบานกรวด บุรีรัมย ไมปรากฏหลักฐานประเภทโบราณสถาน สันนิษฐานวาอาจมีการใชพ้ืนท่ีในสมัยนี้อยางเบาบาง ระยะท่ี สมัยสุโขทัย อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 19-20 ปรากฏหลักฐานเบาบางในช้ันวัฒนธรรม ระยะท่ี 4 สมัยอยุธยา อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 20-23 ปรากฏหลักฐานเอกสารบันทึกของชาวตางชาติกลาวถึงการสรางบานหลวงรับราชทูตและบานวิชาเยนทร ปรากฏหลักฐานประเภทโบราณสถานสถาปตยกรรมสมัยสมเด็จพระนารายณ ทําใหทราบวาบริเวณแหลงโบราณคดีบาน วิชาเยนทรในสมัยสมเด็จพระนารายณมีการใชพ้ืนท่ีในการอยูอาศัยของคณะราชทูตท่ีเขามาเจริญสัมพันธไมตรี และเปนท่ีพักอาศัยของเจาพระวิชาเยนทร แหลงโบราณคดีวัดปน จากหลักฐานทางโบราณคดีทําใหสรุปพัฒนาการทางวัฒนธรรมบริเวณนี้ไดวา ระยะท่ี 1 สมัยทวารวดี อายุราวพุทธศตวรรษท่ี11-16 พบวาบริเวณนี้เปนอยูอาศัยของมนุษยเพราะพบหลักฐานท่ีเกี่ยวกับของใชในชีวิตประจําวัน และในระยะเวลาหนึ่งสถานท่ีแหงนี้ได

Page 113: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

99

ถูกปรับเปล่ียนเปนศาสนสถานขนาดเล็ก เพราะพบซากฐานอาคารและช้ินสวนพระพุทธรูปสลักจากหินศิลปะทวารวด ี ระยะท่ี 2 สมัยลพบุรี พบหลักฐานประเภทช้ินสวนภาชนะดินเผาจากแหลงเตาบานกรวดบุรีรัมย ช้ินสวนดินเผารูปบุคคลสวมศิราภรณมีลักษณะรูปแบบศิลปะลพบุรี ไมพบสถาปตยกรรมท่ีเกี่ยวเนื่องกับสมัยลพบุรี สันนษิฐานวาอาจมีการใชพ้ืนท่ีบริเวณนี้ในการอยูอาศัยอยางเบาบาง ระยะท่ี 3 สมัยสุโขทัย อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 19-20 พบหลักฐานเบาบางในช้ันวัฒนธรรม ระยะท่ี 4 สมัยอยุธยา อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 20-23 พบอาคารกออิฐ(วิหาร)สถาปตยกรรมสมัยสมเด็จพระนารายณ ช้ินสวนพระพุทธรูปทรงเครื่อง ทําใหทราบวามีการใชพ้ืนท่ีแหงนี้ไดมีการสรางศาสนสถานในพุทธศาสนาขึ้นในสมัยอยุธยา

Page 114: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

100

ตารางสรุปพัฒนาการทางวัฒนธรรมจากหลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบ สมัยทวารวดีราวพุทธศตวรรษที1่1-16

หลักฐานที่พบ แหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร แหลงโบราณคดีวัดปน

ซากโบราณสถานกออิฐ เศษภาชนะดินเผาหมอมีสัน,พวยกา, เบ้ียดินเผา, ช้ินสวนเครื่องถวยจีนสมัยราชวงศซุง

ซากโบราณสถานกออิฐ(ศาสนสถาน) ช้ินสวนพระพักตรพระพุทธรูปสลักจากหินแอนดิไซด ,เศษภาชนะดินเผาหมอมีสัน,หมอกนกลม, พวยกาดินเผา,เครื่องถวยจีนสมัยราชวงศซุง

สมัยลพบุรีราวพุทธศตวรรษที1่6-19 หลักฐานที่พบ

แหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร แหลงโบราณคดีวัดปน ไมปรากฏหลักฐานทางสถาปตยกรรม พบเครื่ องถวยลพบุรีแหลง เตาบานกรวด บุรีรัมย

ไมปรากฏหลักฐานทางสถาปตยกรรม ช้ินสวนดินเผารูปใบหนาบุคคลสวมศิราภรณ เครื่องถวยลพบุรีแหลงเตาบานกรวด บุรีรัมย

สมัยสุโขทัยราวพุทธศตวรรษที1่9-20 หลักฐานที่พบ

แหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร แหลงโบราณคดีวัดปน ไมปรากฏหลักฐานทางสถาปตยกรรม พบเครื่องถวยสุโขทัย

ไมปรากฏหลักฐานทางสถาปตยกรรม พบเครื่องถวยสุโขทัย

สมัยอยุธยาราวพุทธศตวรรษที2่0-23 หลักฐานที่พบ

แหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร แหลงโบราณคดีวัดปน กลุมอาคารโบราณสถานวิชาเยนทรสมัยอยุธยาตอนปลาย ช้ินสวนเครื่องถวยจ ีนสมัยราชวงศหยวนราชวงศหมิงและราชวงศชิง

โบราณสถาน(วิหาร)สมัยอยุธยาตอนปลาย เศียรพระพุทธรูปหินทราย เศียรพระพุทธรูปทรงเครื่อง

Page 115: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

101

จากผลการศึกษาขางตนสรุปไดวาบริเวณบานวิชาเยนทรและวัดปนมีการใชพ้ืนท่ีมาตั้งแตสมัยทวารวดี ราวพุทธศตวรรษท่ี 11-16 ตอมามีการใชพ้ืนท่ีสมัยลพบุรีและสุโขทัย แมวาจะพบหลักฐานทางโบราณคดีในวัฒนธรรมดังกลาวเพียงเบาบาง แตพ้ืนท่ีบริเวณนี้มีการใชพ้ืนท่ีอยางชัดเจนในสมัยอยุธยาดังหลักฐานท่ีปรากฏท้ังโบราณสถานและโบราณวัตถุ

การใชพ้ืนท่ีในแหลงโบราณคดีท้ังสองนี้ จะสอดคลองกับหลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบภายในเมืองลพบุรีซ่ึงสามารถสรุปถึงพัฒนาการทางวัฒนธรรมของเมืองลพบุรีไดเปน 4 ระยะดังนี้

ระยะท่ี1 ราวพุธศตวรรษท่ี 11-16 หลักฐานเอกสารท่ีกลาวถึงช่ือเมืองลพบุรีปรากฏในพงศาวดารเหนือกลาววาเมืองละโวสรางขึ้นเม่ือพ.ศ.1002 โดยพระยากาฬวรรณดิศราช นอกจากนี้ช่ือเมืองละโวปรากฏอยูในเหรียญเงินท่ีจารึกวา “ลวปุระ” พบท่ีเมืองอูทองจังหวัดสุพรรณบุรี นักวิชาการไดอานและแปลความวา เปนช่ือเมืองหนึ่งท่ีตั้งอยูทางภาคกลางของประเทศไทย ไดมีการกําหนดอายุเหรียญเงินนี้อยูในชวงพุทธศตวรรษท่ี12 ในสวนของหลักฐานประเภทจารึกท่ีพบ เชน จารึกบนซ่ีลอ,วงลอพระธรรมจักร,จารึกบนฐานพระพุทธรูปยืนท่ีวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ รูปแบบตัวอักษรท่ีใชจารึกเปนอักษรปลลวะ ภาษาบาลี นักภาษาศาสตรเรียกวา “อักษรปลลวะ” เปนอักษรท่ีไดรับอิทธิพลมาจากอินเดียใต สมัยราชวงศ ปลลวะ มีอายุราวพุทธศตวรรษท่ี11-12 ขอความท่ีจารึกนั้นเกี่ยวเนื่องกับคําสอนทางพระพุทธศาสนา อนึ่งจากหลักฐานเอกสารประเภทตํานานและพงศาวดารกลาวถึงไดมีการเชิญนางจามเทวี ธิดาเมืองละโวไปครองเมืองหริภุญไชยดวย แสดงใหเห็นวาเมืองลพบุรีไดมีการเผยแผวัฒนธรรมสมัย ทวารวดีไปยังภาคเหนือของประเทศไทยในราวพุทธศตวรรษท่ี13ดวย ตอมาในชวงราวอายุราว พุทธศตวรรษท่ี15 ไดกลาวถึงช่ืออาณาจักร “หลอหู” ไวในจดหมายเหตุจีนสมัยราชวงศซุง ซ่ึง นักวิชาการไดสันนิษฐานวานาจะเปนช่ือเมืองละโวนั่นเอง จากการศึกษาเรื่องชายฝงทะเลโบราณของผองศรี วนาสิน และทิวา ศุภจรรยา ทําใหทราบวาเมืองลพบุรีเม่ือราว 2,000 ปมาแลวเปนเมืองท่ีอยูชายฝงทะเลเดิม และจากลักษณะของเมืองท่ีเปนเมืองท่ีมีคูน้ําคันดินลอมรอบเปนรูปเกือบกลมซ่ึงคูน้ําคันดินนี้เปนลักษณะเดนอยางหนึ่งของเมืองในสมัยทวารวดี ซ่ึงมักจะพบในหลาย ๆแหง และจากการขุดคนและดําเนินการทางดานโบราณคดีวัดนครโกษาท่ีผานมานั้นพบหลักฐานท่ีเปนฐานของโบราณสถานสมัยทวารวดีและไดพบประติมากรรมดินเผาปูนปนท่ีใชในการประดับอาคาร เชน ปูนปนรูปคนแคระแบก ปูนปนรูปชางรูปมารูปหงส เปนตน ซ่ึงรูปแบบของศิลปกรรมท่ีพบนี้เหมือนกับท่ีพบในเมืองโบราณสมัยทวารวดีในหลาย ๆแหง เชนท่ีเมืองนครปฐม เมืองศรีเทพ เปนตน นอกจากนี้ในแหลงโบราณคดีภายในตัวเมืองลพบุรียังไดพบพระพุทธรูปศิลปะทวารวดี เชนท่ีวัดพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี พบประติมากรรมพระพุทธเจาและองคพระสาวก มีการกําหนดอายุไวราวพุทธศตวรรษท่ี12-13 ช้ินสวนรูปเคารพ

Page 116: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

102

พระพุทธเจาประทับยืนเหนือครุฑ อายุราวพุทธศตวรรษท่ี12-13 เศียรพระพุทธรูปอายุราวพุทธศตวรรษท่ี14-15 พระพิมพดินเผาเรื่องราวเกี่ยวกับพุทธประวัติอายุราวพุทธศตวรรษท่ี14-15 เปนตน นอกจากนี้ยังโบราณวัตถุประเภทภาชนะดินเผามีสัน ตุกตาดินเผารูปบุคคลและรูปคนจูงลิง ส่ิงเหลานี้มักพบเสมอในการขุดคนทางโบราณคดีของแหลงโบราณคดีสมัยทวารวดี โดยเฉพาะหมอมีสันนี้เปนวัตถุทางวัฒนธรรมท่ีรับมาตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตรแลวและยังคงนิยมใชตอมาในสมัยทวารวดี นอกจากนี้ยังพบเครื่องถวยจีนสมัยราชวงศซุง ซ่ึงแสดงใหเห็นวาในชวงระยะเวลานี้เมืองลพบุรีอาจมีการติดตอกับประเทศจีน จากหลักฐานท่ีกลาวมาขางตนทําใหสันนิษฐานไดวา เมืองลพบุรีเปนเมืองหนึ่งท่ีมีพัฒนาการทางวัฒนธรรมในสมัยทวารวดีในบริเวณภาคกลางของประเทศไทย มีอายุราวพุทธศตวรรษท่ี11-16 อนึ่งจากหลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบเชนพระพุทธรูป จารึก พระพิมพดินเผา ซ่ึงเปนหลักฐานท่ีเกี่ยวของกับศาสนาพุทธ หลักฐานเหลานี้อาจแสดงใหเห็นวาในสมัยทวารวดีนี้เมืองลพบุรีมีการรับเอาศาสนาพุทธเขามาในเมืองลพบุรี ซ่ึงศาสนาพุทธนี้ถือกําเนิดขึ้นท่ีประเทศอินเดียและมีการเผยแผเขามายังภูมิภาคนี้ในชวงเวลาดังกลาว จึงทําใหเห็นไดวาเมืองลพบุรีอาจมีการติดตอกับอินเดียโดยตรง สําหรับหลักฐาน เชนหมอมีสัน เศษภาชนะดินเผา ตุกตาดินเผาคนจูงลิง,หนาบุคคล เปนตน ซ่ึงหลักฐานเหลานี้แสดงใหเห็นวา เมืองลพบุรีมีการอยูอาศัยของคนในสมัยทวารวดีมาแลวอยางนอยตั้งแตราวพุทธศตวรรษท่ี 11-16 ระยะท่ี 2 ราวพุทธศตวรรษท่ี 16-18

ในราวพุทธศตวรรษท่ี17 หลักฐานประเภทจารึกไดกลาวถึงเมืองลพบุรีท่ีจารึกระเบียงปราสาทนครวัดกลาวถึงการนําทัพของพระเจาสุริยวรมันท่ี2 นําพลยกทัพละโว ในราวพุทธศตวรรษท่ี18 ไดปรากฏขอความจารึกท่ีปราสาทพระขรรค ขอความกลาวถึงการสงพระพุทธมหานาถไปยังเมืองตาง ๆ และมีช่ือเมืองลพบุรีดวย นอกจากนี้ในราวพุทธศตวรรษเดียวกันนี้ยังมีขอความปรากฏท่ีปราสาทพิมานอากาศ ไดกลาวถึงสรอยพระนามของพระโอรสพระเจาชัยวรมันท่ี 7 มีสรอยพระนามวา “ลโวทเยศ”นักวิชาการไดแปลความวา ผูเปนใหญในเมืองละโว

หลักฐานทางสถาปตยกรรมสมัยลพบุรีท่ีปรากฏในเมืองลพบุรีไดแก ปรางคแขกซ่ึงจากการขุดคน1ทําใหทราบวาปราสาทองคกลางและปราสาทองคทิศใตนาจะสรางในราวพุทธศตวรรษ ท่ี15สําหรับพระปรางคสามยอด มีการกําหนดอายุศิลปกรรมไวราวพุทธศตวรรษท่ี172 สมัยพระเจา

1 สฤษดิ์พงศ ขุนทรง, “ปรางคแขกเมืองลพบุรีกับประเด็นกรศึกษาใหม” (วิทยานิพนธปริญญาศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรศิลปะ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2548), 76.

2 อรสา แสงทอง, พระปรางคสามยอด ต.ทาหิน อ.เมือง จ.ลพบุร.ี(วิทยานิพนธปริญญาศิลปะศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,

Page 117: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

103

ชัยวรมันท่ี7 สวนหลักฐานประเภทศิลปกรรมท่ีพบภายในเมืองลพบุรี พบประติมากรรมหินทรายประเภททับหลังสลักภาพพระอินทรทรงชางเอราวัณ อายุราวพุทธศตวรรษท่ี15 นอกจากนี้ยังพบพระพุทธรูปศิลปะเขมรแบบนครวัดอายุราวพุทธศตวรรษท่ี17 พบศิลปะเขมรแบบบายน-หลังบายน นักวิชาการไดกําหนดอายุไวราวพุทธศตวรรษท่ี18 พบพระพุทธรูปปางนาคปรกศิลปะลพบุรีอายุราวปลายพุทธศตวรรษท่ี18-19 และยังพบพระพิมพศิลปะลพบุรีอายุราวปลายพุทธศตวรรษท่ี18-19 พระพุทธรูปศิลาปางมาวิชัยกําหนดอายุไวราวปลายพุทธศตวรรษท่ี 18และพระพุทธรูปองคนี้นักวิชาการไดสันนิษฐานวานาจะเปนตนแบบใหแกพระพุทธรูปแบบอูทองรุนท่ี2 และรุนท่ี2 ซ่ึงมีอายุราวพุทธศตวรรษท่ี 19-203 อีกดวย หลักฐานประเภทโบราณวัตถุท่ีพบนั้นมีประเภทภาชนะดินเผา เศษภาชนะดินเผา จากแหลงเตาบุรีรัมยซ่ึงเปนเครื่องถวยในวัฒนธรรมรวมแบบเขมรซ่ึงนักวิชาการไดกําหนดอายุไวราวพุทธศตวรรษท่ี15-18

จากหลักฐานท่ีพบทําใหสันนิษฐานไดวาเมืองลพบุรีในชวงพุทธศตวรรษท่ี15เปนตนมาไดมีการเผยแพรวัฒนธรรมเขมรเขามาในดินแดนแถบภาคกลางของประเทศไทยโดยปรากฏท่ีปรางคแขกท่ีองคปราสาททิศองคกลางและทิศใตในระยะเริ่มแรกราวพุทธศตวรรษท่ี15 และตอมาก็ไดมีการเผยแพรอิทธิพลทางวัฒนธรรมของเขมรเขามายังเมืองลพบุรีในชวงพุทธศตวรรษท่ี17 อยางมากจึงทําใหปรากฏหลักฐานการกอสรางพระปรางคสามยอดและพบพระพุทธรูปในศิลปะรวมแบบเขมรและพัฒนาจนเปนศิลปะลพบุรีในท่ีสุด ระยะท่ี 3 ราวพุทธศตวรรษท่ี 18-19

ในราวชวงพุทธศตวรรษท่ี18เปนตนมาเกิดเมืองใหมท่ีมีบทบาทความสําคัญขึ้นในบริเวณทางภาคเหนือของประเทศไทยนั่นคือการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยซ่ึงเปนเมืองท่ีมีบทบาทความสําคัญท้ังในดานเศรษฐกิจในชวงพุทธศตวรรษท่ี18 และชวงเวลานี้เมืองลพบุรีก็ไดมีปรากฏในหลักฐานประเภทพงศาวดาร คือในประชุมพงศาวดารภาคท่ี1 ไดกลาวถึงนายคงเคราซ่ึงเปนบิดาของนายรวง ตอมาก็คือพระรวงแหงเมืองสุโขทัยไดสงสวยน้ําจากเมืองละโวไปกัมพูชา

หลักฐานทางโบราณคดีท่ีปรากฏอิทธิพลทางวัฒนธรรมสมัยสุโขทัยนั้น พบท่ีวัดพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรีคือ ลายปูนปนพระพุทธรูปปางลีลาและเทพนมท่ีปรางค 6ข มีอิทธิพลของศิลปะสุโขทัยและการเรียงอิฐแบบอิงลิชบอนด4ซ่ึงเปนท่ีนิยมในสมัยสุโขทัยประเภทสถาปตยกรรมศิลปะ

3 สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์,ม.ร.ว., พระพุทธรูปศิลาปางมารวิชัยในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ

สมเด็จพระนารายณ : การกําหนดรูปแบบและอายุสมัยครั้งใหม, 115. 4 อนุวิทย เจริญศุภกุล, “วัดมหาธาตุ ลพบุร,ี” เมืองโบราณ 2, 2 (ม.ค.-มี.ค.2519), 30.

Page 118: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

104

สุโขทัยท่ีพบในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี ในสวนของหลักฐานประเภทโบราณวัตถุนั้นพบเศษภาชนะดินเผาจากแหลงเตาสุโขทัยเสมอตามแหลงโบราณคดีในหลาย ๆแหลงของเมืองลพบุร ี

จากหลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบทําใหสันนิษฐานวาเมืองลพบุรีในชวงราวพุทธศตวรรษท่ี18-19นี้คงไดรับการเผยแผอิทธิพลทางวัฒนธรรมสุโขทัยคอนขางนอยท้ังในทางศาสนาและทางการเมือง แตในสวนของเครื่องใชในชีวิตประจําวันเชนเครื่องถวยจากแหลงเตาเมืองสุโขทัยท่ีพบมากนั้นอาจทําใหสันนิษฐานไดวาเมืองลพบุรีและเมืองสุโขทัยมีความสัมพันธทางการคาตอกัน

ระยะท่ี 4 ราวพุทธศตวรรษท่ี 19-23 หลักฐานเอกสารในชวงราวพุทธศตวรรษท่ีปรากฏในจดหมายเหตุจีนสมัยราชวงศหยวน

พ.ศ.1832-1911กลาวถึงการถวายเครื่องราชบรรณาการของเมืองหลอหูและกลาวถึงเมือง “หลอหู” วาเปนเมืองท่ีตั้งอยูบนท่ีราบลุมเหมาะแกการเพาะปลูก ตอมาราวพ.ศ.1911-2187ในจดหมายเหตุจีนสมัยราชวงศหมิง ไดกลาวถึงวาเมืองหลอสัวเริ่มมีความสันพันธกับจีนมาตั้งแตสมัยราชวงศซุง และในปลายราชวงศหยวน มีการสงทูตจากหลอสัวไปจีนถึง 5 ครั้ง และในสมัยราชวงศหมิง หลอสัวไดสงโอรสไปเมืองจีนในปพ.ศ.1930 ในสวนของบันทึกการเดินทางชาวตางชาติ จดหมายเหตุรายวันการเดินทาง มีปรากฏช่ือเมืองลพบุรีดังนี้ ในพ.ศ.2221 บันทึกของคณะราชทูตเปอรเซียเขามากรุงศรีอยุธยา สําเภากษัตริยสุลัยมานไดกลาววา เขาเฝาสมเด็จพระนารายณท่ี “ละโว” ราวปพ.ศ.2224นิโกลาส แชรแวส กลาวถึงสมเด็จพระนารายณทรงบูรณะเมืองละโวใหม และทรงสรางพระราชวังขึ้นท่ีเมืองละโว พ.ศ.2225 จารึกบนแผนไมบุษบกธรรมาสน วัดมณีชลขันฑ กลาวถึงประวัติการสรางบุษบกธรมาสนในปพ.ศ.2225และคาใชจายในการการสราง ในปพ.ศ.2228 ไดมีจดหมายเหตุหลายฉบับเขียนถึงเมืองลพบุรี ดังปรากฏตอไปนี้ มูฮัมหมัด อิบราฮิม มูฮัมหมัด ราบี กลาววาเมืองลพบุรีกลาววาเมืองลพบุรีมีอากาศดี จึงทําใหสมเด็จพระนารายณโปรดท่ีจะประทับเมือง“ละโว”9เดือน ในจดหมายเหตุรายวันการเดินทางสูประเทศสยามปค.ศ.1685และ1686โดยบาทหลวง เดอ ชัวซีย กลาวถึงพระนารายณทรงโปรดประทับท่ีเมืองลพบุรีคราวละ7-8เดือนและกลาววาใหลาแมรซอมปอมปนท่ีเมืองละโว ในจดหมายเหตุการเดินทางสูประเทศสยามของบาทหลวง กีย ตาชารด กลาวถึงเมืองละโว การเขาเฝาของคณะราชทูตฝรั่งเศส และการทอดพระเนตรจันทรุปราคาท่ีทะเลชุบศร ในจดหมายเหตุฟอรแบ็ง กลาววาเมืองละโวเปนท่ีประทับในชนบทของสมเด็จพระนารายณ ตอมาในราวพ.ศ.2231 ในจดหมายเหตุลาลูแบร ราชอาณาจักรสยาม กลาวถึงท่ีตั้งเมืองละโว การสรางและการตกแตงพระราชวังนารายณและการจัดสวนท่ีเมืองลพบุรี เมืองลพบุรีปราฏในรูปของแผนท่ี ซ่ึงเขียนโดยวิศวกรชาวฝรั่งเศส ม. เดอ ลาเมร เปนตน

Page 119: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

105

ในสวนของเอกสารประเภทพงศาวดารท่ีกลาวถึงเมืองลพบุรีปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงเกา(ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ) กลาวถึงสมัยอยุธยาตอนตนมีการสงพระราชโอรสมาครองเมืองลพบุรี และกลาวถึงพระมหาจักรพรรดิปฏิสังขรณวัดพระศรีรัตนมหาธาตุเมืองลพบุรี ในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับพระจักรพรรดิพงศ(จาด) กลาวถึงการพบชางเผือกท่ีเมืองลพบุรีและการตระเตรียมการกบฏท่ีเมืองลพบุรี ประชุมจดหมายเหตุสมัยอยุธยาภาคท่ี1 กลาวถึงเมืองลพบุรีในสมัยสมเด็จพระนารายณวาเปนท่ีใชทําสัญญาทางการคาระหวางไทยกับฝรั่งเศส ในสวนของหลักฐานทางโบราณคดีปรากฏในรูปแบบของสถาปตยกรรมท่ีแหลงโบราณคดีวัดนครโกษา คือ เจดียองคปรางคประธานไดรับการบูรณะในสมัยอยุธยา และท่ีเจดียทรงปรางคมีพระพุทธรูปปูนปนศิลปะอยุธยาตอนตนประดิษฐานอยูในซุมเรือนแกว อาคารวิหารหลวงมีการเจาะชองหนาตางแบบลูกมะหวด และชองหนาตางแบบวงโคงยอดแหลม และภายในแหลงโบราณคดีวัดนครโกษานี้ยังพบพระพุทธรูปศิลปะอูทองและศิลปะอยุธยาตอนตน และพบลวดลายปูนปนกลีบขนุนศิลปะสมัยอยุธยาตอนตนรวมดวย ท่ีแหลงโบราณคดีวัดพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรีพบวาองคปรางคมีลายปูนปนสมัยอยุธยา นอกจากนี้ท่ีเจดียรายและปรางค วิหารเกาหอง ก็ปรากฏอิทธิพลศิลปะอยุธยาตั้งอยุธยาตอนตนและในสมัยสมเด็จพระนารายณดวย นอกจากนี้ยังพบพระพุทธรูปท่ีมีอายุราวพุทธศตวรรษท่ี21-22รวมดวย ท่ีแหลงโบราณคดีปรางคแขกและแหลงโบราณคดีปรางคสามยอดพบวาในสมัยสมเด็จพระนารายณไดมีการบูรณะและสรางอาคารท่ีมีสถาปตยกรรมในสมัยสมเด็จพระนารายณปรากฏอยูดวย ท่ีแหลงโบราณคดีพระราชวังนารายณพบสถาปตยกรรมสมัยสมเด็จพระนารายณ เปนตน จากหลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบทําใหทราบไดวาในสมัยอยุธยาตอนตนนั้นเมืองลพบุรี มีฐานะเปนเมืองลูกหลวงของกรุงศรีอยุธยา หลักฐานเอกสารไดกลาวถึงการสงพระราเมศวร มาครองเมืองลพบุรี ในชวงเวลานี้เมืองลพบุรีคงจะไดรับอิทธิพลทางวัฒนธรรมมาจากอยุธยาและปรากฏหลักฐานในแหลงโบราณคดีวัดนครโกษา แหลงโบราณคดีวัดพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี อิทธิพลทางวัฒนธรรมท่ีไดรับปรากฏในรูปแบบของศิลปกรรม สถาปตยกรรม ท่ีเกี่ยวของกับศาสนาเปนสวนใหญ และเมืองลพบุรีมีบทบาทท่ีสําคัญอีกครั้งในชวงราวพุทธศตวรรษท่ี 22 ตรงกับสมัยสมเด็จพระนารายณ ตามหลักฐานจดหมายเหตุและบันทึกของชาวตางชาติทําใหทราบวาเมืองลพบุรีเปนราชธานีแหงท่ีสองในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีการกอสรางและบูรณะเมืองลพบุรีในชวงเวลานี้เปนอยางมากดวยซ่ึงปรากฏหลักฐานทางสถาปตยกรรมในแหลงโบราณคดีหลาย ๆ แหลงภายในตัวเมืองลพบุร ี

Page 120: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

106

สรุป จากหลักฐานท่ีกลาวมาท้ังหมดนี้จะเห็นไดวาพัฒนาการทางวัฒนธรรมของแหลงโบราณคดีโบราณคดีบานวิชาเยนทรและแหลงโบราณคดีวัดปนมีพัฒนาการทางวัฒนธรรมมาตั้งแตสมัยทวารวดี พบพ้ืนท่ีการอยูอาศัยของคนในสมัยทวารวดี ในสวนพ้ืนท่ีบริเวณแหลงโบราณคดีวัดปนอาจมีการปรับพ้ืนท่ีเพ่ือใชในการสรางศาสนสถานขึ้นในสมัยทวารวดี สวนในสมัยลพบุรีนั้นพ้ืนท่ีของแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรและแหลงโบราณคดีวัดปนไมพบรองรอยศาสนสถานขนาดใหญเชนเดียวกับ พระปรางคสามยอด ปรางคแขก ซ่ึงเปนศาสนสถานขนาดใหญท่ีสรางขึ้นในเมืองลพบุร ีแตพบวามีการอยูอาศัยในชวงสมัยลพบุรีเปนช้ันบาง ๆ ในสมัยอยุธยาพบพ้ืนท่ีบริเวณแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรและแหลงโบราณคดีวัดปน มีการใชพ้ืนท่ีอยางโดดเดน ปรากฏหลักฐานท่ีเปนกลุมอาคารภายในแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทร และวิหารในบริเวณแหลโบราณคดีวัดปน ซ่ึงเปนสถาปตยกรรมรวมสมัยสมเด็จพระนารายณเชนเดียวกับแหลงโบราณคดีอ่ืน ๆ ภายในเมืองลพบุร ี ขอเสนอแนะ จากหลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบท่ีแหลงโบราณคดีบานวิชาเยนทรและแหลงโบราณคดีวัดปนนั้นพบวามีความเกี่ยวเนื่องกับแหลงโบราณคดีอ่ืน ๆ หลายแหงในจังหวัดลพบุรีและจังหวัดอ่ืน ๆในเขตภาคกลาง ซ่ึงอาจแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธกับชุมชนอ่ืนในเขตภาคกลางของประเทศไทย ซ่ึงเปนกรณีท่ีนาสนใจทําการศึกษาตอไป

Page 121: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

107

บรรณานุกรม กรมทรัพยากรธรณี, กองนโยบายท่ีดินและแผนงาน. การศึกษาสถานภาพเกี่ยวกับทรัพยากรน้ํา ปา

ไมและแร จังหวัดลพบุรี พ.ศ. 2524 (ม.ป.ท.),2525. กรมพระยาวชิรญาณวโรรส,สมเด็จพระมหาสมณเจา. ประวัติศาสตร-โบราณคดี.พระนคร : ศิวพร,

2514. กรมวิชาการ. ลพบุร:ี ธานีแหงอารยธรรม. กรุงเทพฯ : กระทรวง, 2542. กรมศิลปากร. กรุงสยามสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราชในสายตาของชาวตะวันตก. กรุงเทพฯ:

โรงพิมพการศาสนา, 2518. __________ . จดหมายเหตุสงทูตไทยไปกรุงโรมครั้งท่ี2 ในแผนดินสมเด็จพระนารายณมหาราช.

พระนคร : โรงพิมพสามมิตร, 2515. __________. จารึกโบราณรุนแรกพบท่ีลพบุรีและใกลเคียง. กรุงเทพฯ : กรม, 2524. (พิมพใน

โอกาสเปดหองนิทรรศการเรื่องจารึกพบท่ีจังหวัดและจังหวัดใกลเคียง ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติสมเด็จพระนารายณมหาราชลพบุร)ี.

__________. จารึกในประเทศไทย เลม 1 อักษรปลลวะ หลังปลลวะ พุทธศตวรรษท่ี 12-14. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2529.

__________. จารึกในประเทศไทย เลม 2 อักษรปลลวะ อักษรมอญ พุทธศตวรรษท่ี 21-21. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร,2529.

__________. จารึกในประเทศไทย เลม 3 อักษรขอม พุทธศตวรรษท่ี 15 -16. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร,2529.

__________. จารึกในประเทศไทย เลม 4 อักษรขอม พุทธศตวรรษท่ี17 -18. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2529.

__________. บันทึกเรื่องสัมพันธไมตรีระหวางประเทศไทยกับนานาประเทศในศตวรรษท่ี17.แปลโดย ไพโรจน เกษแมนกิจ. พระนคร. 2512.

__________. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยธุยาฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ.์ พระนคร : องคการคาของคุรุสภา, 2504.

__________.พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับพระจักรพรรดิพงศ(จาด).พระนคร : คลังวิทยา, 2507.

__________. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับพระพนรัตน. พระนคร : คลังวิทยา, 2514. __________. พระราชพงศาวดารกรุงกัมพูชา. พระนคร : แพรพิทยา, 2513.

Page 122: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

108

__________. แหลงโบราณคดีในประเทศไทย. เลม 2. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2531. __________. บันทึกเรื่องสัมพันธไมตรีระหวางประเทศไทยกับนานาประเทศในศตวรรษท่ี17 เลม

2. แปลโดย ไพโรจน เกษแมน. พระนคร: กรมศิลปากร,2512. __________. แหลงโบราณคดีในประเทศไทย.เลม2 กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2531. กรพินธุ พยัคฆประการณ.การนําน้ํามาใชในพระราชวังนารายณราชนิเวศน จังหวัดลพบุรี .สาร

นิพนธปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร,2528. ขจร สุขพานิช. ออกญาวิไชเยนทร และการตางประเทศในสมัยสมเด็จพระนารายณ. พระนคร:

อักษรสัมพันธ, 2506. คณะกรรมการฝายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอํานวยการจัดงานเฉลิมพระ

เกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร เอกลักษณ และภูมิปญญาจังหวัดลพบุร.ี กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2542. (จัดพิมพเนื่องในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542).

คณะกรรมการชําระประวัติศาสตร. “การสืบคนประวัติศาสตรไทยเกี่ยวกับจีนในเอกสารภาษาจีน.” โบราณคดี 7,2 (เมษายน-มิถุนายน2516) : 66-74.

โครงการขุดคนทางโบราณคดีโบราณสถานวัดปน ตําบลทาหิน อําเภอเมือง จังหวัดลพบุรี . กรุงเทพฯ: หางหุนสวนเอกพรไพศาล, 2551.

จารึก วิไลแกว. เฉลิม ยงบุญเกิด,ผูแปล. “เมืองไทยในจดหมายเหตุจีน.” ศิลปากร 7,2 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2506) :

31-42. __________. “การพัฒนาเมืองเกาลพบุร”ี.เมืองโบราณ 20,4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2537) : 17-29. ชมรมอนุรักษโบราณวัตถุสถานและส่ิงแวดลอมจังหวัดลพบุรี.โบราณวัตถุสถานและส่ิงแวดลอม

ลพบุร.ี ลพบุร ี: โรงพิมพอุทัยพิทยา, 2518. __________. สยามดึกดําบรรพ. กรุงเทพฯ : ประพันธสาสน, 2521. ชารลส ไฮแอมและรัชนี ทศรัตน. สยามดึกดําบรรพ ยุคกอนประวัติศาสตรถึงสมัยสุโขทัย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพริเวอรบุคส,2542. ชิน อยูด.ี ชินอยูดี บิดาแหงวิชากอนประวัติศาสตรไทย. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร,2529. (จัดพิมพ

เนื่องในงานพระราชทานเพลิงศพศาสตราจารยชิน อยูดี 13 ตุลาคม 2529.) __________. สมัยกอนประวัติศาสตรในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร,2529. (จัดพิมพ

เนื่องในโอกาสเชิดชูเกียรติในฐานะปรมาจารยแหงวิชากอนประวัติศาสตรในประเทศไทย พ.ศ. 2529.)

Page 123: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

109

ณัฏฐภัทร จันทวิช. เครื่องถวยจีนท่ีพบจากแหลงโบราณคดีในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2529.

เดสนิส ที เบอรกาโด และคนอ่ืนๆ. รายงานการประเมินสภาพฐานรากและวิธีการซอมแซมพระ

ปรางคสามยอด เทวสถานปรางคแขกและเจดียวัดมณีชลขันธในจังหวัดลพบุรี(ระยะ3). กรุงเทพฯ : แผนวิศวกรรมธรณีเทคนิคและการขนสง สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย, 2530.

เดอ ชัวซีย,บาทหลวง. จดหมายเหตุรายวัน การเดินทางสูประเทศสยามในป ค.ศ.1685 และ 1686ฉบับสมบูรณ, แปลโดย สันต ท.โกมลบุตร. กรุงเทพ ฯ : กาวหนา, 2516.

เดอ แบส. ก็องสตังซ ฟอลคอล. แปลโดย สันต ท. โกมลบุตร. กรุงเทพฯ: กาวหนา, 2508. ตรี อมาตยกุล. จังหวัดลพบุร.ี พระนคร : กรมศิลปากร, 2509. ตรึงใจ บูรณสมภพ. และคนอ่ืนๆ.รายงานการวิจัยการศึกษาสถาปตยกรรมตะวันตกท่ีมีอิทธิพลตอ

สถาปตยกรรมไทยในแผนดินสมเด็จพระนารายณมหาราชจังหวัดลพบุรี. กรุงเทพฯ : คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2537.

__________. “รายงานการวิจัยยอ : การศึกษาสถาปตยกรรมตะวันตกท่ีมีอิทธิพลตอสถาปตยกรรมไทยในแผนดินสมเด็จพระนารายณมหาราช จังหวัดลพบุร.ี”หนาจั่ว 11 (2534) : 87-101.

ตาชารด กวยี,บาดหลวง. การเดินทางของบาทหลวงตาชารด เลม1-3: ฉบับลายมือเขียนท่ีคัดมาจากตางประเทศ. กรุงเทพ : กรมศิลปากร,2521.

ทนงศักดิ์ หาญวงษ. “การวิเคราะหโบราณวัตถุท่ีไดจากการขุดคนแหลงโบราณคดีบานทาแค ตําบลทาแค อําเภอเมือง จังหวัดลพบุรี .” วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2528.

นิธิ สีแพร. “เทวสถานปรางคแขก จังหวัดลพบุร.ี” สารนิพนธปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา นพชัย แดงดีเลิศ. “จารึกทวารวดี : การศึกษาเชิงอักขรวิทยา.” วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตร

มหาบัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2542. นิติกร สังแกว. การศึกษาสถาปตยกรรมบานวิไชเยนทร บานหลวงรับราชทูต.กรุงเทพฯ : สาขาวิชา

ประวัติศาสตรสถาปตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร,2549. (รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาวิชา 262-433 สุนทรียศาสตรกับสถาปตยกรรม สาขาวิชาประวิศาสตรสถาปตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2549.)

นิ ธิ เ อียวศรีวงศ . การเ มืองไทยสมัยพระนารายณ . กรุงเทพฯ : สถาบันไทยคดี ศึกษ ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2523.

Page 124: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

110

นิโคราส เดอ แชรแวส. ประวัติศาสตรธรรมชาติและการเมืองแหงราชอาณาจักรสยาม. แปลโดย สันต ท. โกมลบุตร. พระนคร : กาวหนา, 2506

นงคราญ ศรีชาย. “โบราณสถานในจังหวัดลพบุรีท่ีเกี่ยวเนื่องกับดาราศาสตรไทย”. เมืองโบราณ20,4(ตุลาคม-ธันวาคม 2537) : 109-114.

บรรจบ เทียมทัด. นําชมโบราณวัตถุสถานในจังหวัดลพบุร.ี พระนคร : กรมศิลปากร, 2540. บุญเยี่ยม แยมเมือง. เท่ียววังเวียงละโว. กรุงเทพฯ : เม็ดทราย, 2531. บุณยฤทธ์ิ ฉายสุวรรณ. “ระบบชลประทาน : ระบบการประปาสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช.”

เมืองโบราณ. 25, 1 (ม.ค.-มี.ค. 2542) : 59-72. __________. อางแกวกับการประปาเมืองลพบุรีในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช.กรุงเทพฯ :

สํานักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติท่ี3 พระนครศรีอยุธยา, 2534. บุหลง ศรีกนก. “แนวทางการศึกษาประวัติศาสตรเมืองลพบุรีจากหลักฐานเอกสารโบราณ.” เอกสาร

ในการสัมมนาทางวิชาการประวัติศาสตรลพบุรี 2-4 กุมภาพันธ 2528, (เอกสารอัดสําเนา).

โบราณคดีและประวัติศาสตรประเทศไทย : ฉบับคูมือครูสังคม. กรุงเทพฯ : ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545.

ประชุมพงศาวดารภาคท่ี46 เรื่องจดหมายเหตุของคณะพอคาฝรั่งเศส ซ่ึงเขามาตั้งครั้งกรุงศรีอยุธยา ตอนแผนดินสมเด็จพระนารายณมหาราช ภาคท่ี6 . พระนคร : กรมศิลปากร, 2505.

ประชุมพงศาวดาร ภาคท่ี 42 เรื่องจดหมายเหตุของคณะพอคาฝรั่งเศส ซ่ึงเขามาตั้งครั้งกรุงศรีอยุธยา ตอนแผนดินสมเด็จพระนารายณมหาราช ภาค3. พระนคร : โรงพิมพบํารุงนุกูลกิจ, 2470. (จัดพิมพงานศพนางรัฎกิจพิพัฒน (เทียบ ทวีศร)ี พ.ศ.2470.)

ประภัสสร ชูวิเชียร. “หลักฐานโบราณคดีและศิลปกรรมของวัดนครโกษา.” เมืองโบราณ. 34, 2 (เม.ย.-มิ.ย.2551) : 166-181

__________. “พระปรางคสามยอด” อารคิเทคเจอรแอนดดีซายน. 1, 3 (ก.พ. 2537) : 174-179. __________. “พระนารายณราชนิเวศน” อารคแอนดไอเดีย. 3, 27 (พ.ย. 2538) : 64-70. ผ.คติการ [นามแฝง]. พระนารายณมหาราช หรือ ประวัติลพบุร.ี พระนคร : โรงพิมพฟุกเฮง, 2480. ผาสุข อินทราวุธ. “เครื่องรางสําหรับพอคา” ในปจจุบันของโบราณคดีไทย. กรุงเทพฯ : คณะ

โบราณคดีมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2528. (จัดพิมพขึ้นในโอกาสครบรอบ 30 ปการกอตั้งคณะโบราณคดี)

__________. ดรรชนีภาชนะดินเผาสมัยทวารวดี. กรุงเทพฯ : สยามการพิมพ, 2528. __________. “ตํานานเมืองลพบุร.ี” ดํารงวิชาการ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545

Page 125: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

111

__________. ทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะหจากหลักฐานทางโบราณคดี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอักษรสมัย, 2542.

ผองศรี วนาสิน และทิวา ศุภจรรยา. เมืองโบราณบริเวณชายฝงทะเลเดิมของท่ีราบภาคกลางประเทศไทย : การศึกษาตําแหนงท่ีตั้งและภูมิศาสตรสัมพันธ . กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2524.

ภูธร ภูมะธน. “เหรียญเงินตราสมัยทวารวดี พบท่ีจังหวัดลพบุรี”. ศิลปากร 28,4 (กันยายน 2527) : 55-63.

พระโพธ์ิรังษี.ตํานานจามเทวีวงศ. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพ ฯ : ม.ป.ท., 2510. (พิมพแจกในงานฉลองอายุครบ 6 รอบ ของนางกิมฮอ นิมมานเหมินท 20 มีนาคม 2510)

พระพุทธพุกาม และพระพุทธญาณ. ตํานานมูลศาสนา. พิมพครั้งท่ี2. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2518 (พิมพพระราชทานในงานพระราชทานเพลิงศพหมอมหลวงเดช สนิทวงศ 17 ธันวาคม 2518.)

พูนศรี จีบแกว. “ตึกแบบฝรั่งในเมืองลพบุรี”. เมืองโบราณ 18,3-4 (กรกฎาคม.- ธันวาคม 2535) : 120-128.

พัชรี สาริกบุตร. เทคโนโลยีสมัยโบราณ. กรุงเทพฯ : คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2523. __________. พระนารายณราชนิเวศน. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2531. พรหมศักดิ์ เจิมสวัสดิ,์ฉลวย จาระภานานนท. “พระพิมพดินเผาวดันครโกษาลพบุรี”. ศิลปากร 32,6

(มกราคม-กุมภาพันธ 2532) : 40-55. ภาพเกาเลาอดีตลพบุร.ี ลพบุร:ี ศูนยศิลปวัฒนธรรมสถาบันราชภัฏเทพสตรีลพบุร,ี 2540. มหาวิทยาลัยศิลปากร,คณะสถาปตยกรรมศาสตร.โครงการจัดทําแผนการจักการอนุรักษและ

ปรับปรุงสภาพแวดลอมเมืองเกาลพบุรี/เสนอตอสํานักนโยบายและแผนส่ิงแวดลอม กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและส่ิงแวดลอมโดยคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร,2537.

มานิต วัลลิโภดม. ตํานานสิงหลวัติกุมาร ฉบับสอบคน. กรุงเทพ : คณะกรรมการจัดพิมพเอกสารทางประวัติศาสตรสํานักนายกรัฐมนตรี, 2516.

มานิตา เขื่อนขันธ. พระนารายณราชนิเวศน. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2545. เมธี สุขสําเร็จ.ความสัมพันธของชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรีกับชุมชนภายนอกในชวงกอน

พุทธศตวรรษท่ี18.วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,2544.

ยงยุทธ ปองประภา และคนอ่ืนๆ. คูมือนําเท่ียวลพบุร.ี ลพบุร ี: บุญสืบการพิมพ, 2522.

Page 126: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

112

รัตนปญญาเถระ. ชินกาลมาลีปกรณ,พิมพครั้งท่ี4. แปลโดย แสงมนวิทูร. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2517. (พิมพเปนอนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ ศาสตราจารย ร.ต.ท. แสง มนวิทูร 20 เมษายน 2517).

ราศี บุรุษรัตนพันธุ. “ความสําคัญของเมืองลพบุรีในฐานะเปนแหลงกระจายวัฒนธรรมทวารวดีบริเวณลุมแมน้ําปาสัก.” วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2529.

วิจิตร ทันดวน และคณะ. รายงานการสํารวจดินของจังหวัดลพบุรี/ของกองสํารวจดิน กรมพัฒนาท่ีดิน. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2519.

วิทยาลัยครูเทพสตร.ีเอกสารประกอบการสัมมนาประวัติศาสตรเมืองลพบุรี ณ วิทยาลัยครูเทพสตรี ลพบุรี 6-8 ธันวาคม 2522. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเรือนแกว, 2524.

วิไลเลขา ถาวรธนสาร และคนอ่ืนๆ. พ้ืนฐานวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2530.

วันวลา วิโรจนารมย. “การศึกษารูปแบบการตั้งถ่ินฐานของชุมชนสมัยกอนประวัติศาสตรในพ้ืนท่ีจังหวัดลพบุรีและนครสวรรคดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร.” วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยกอนประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2544.

วัลลภา รุงศิริแสงรัตน. ลพบุร:ี อดีต-ปจจุบัน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2537. ศราวุธ ดรุณวัติ. “วัดพระศรีรัตนมหาธาตุจังหวัดลพบุรี.” วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหา

บัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรสถาปตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2544.

สฤษดิ์พงศ ขุนทรง. “บานวิชาเยนทร การขุดคนทางโบราณคดีครั้งลาสุด.” เมืองโบราณ 32,4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2549) : 16-17.

__________. “ ปรางคแขกเมืองลพบุรี : ปราสาทแบบขอมท่ีเกาท่ีสุดในภาคกลางของประเทศไทย.”เมืองโบราณ 32,3 (กรกฎาคม-กันยายน 2549) : 102-113.

__________. “ปรางคแขกลพบุรีกับประเด็นศึกษาใหม .” วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรศิลปะ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,2548.

__________. “ ทับหลังของปรางคแขกเมืองลพบุรีหายไปไหน?” เมืองโบราณ 35,3 (เมษายน-มิถุนายน 2552) : 118-123.

สวาง เลิศฤทธ์ิ. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณพัฒนาการของความซับซอนทางเศรษฐกิจและสังคมจากสมัยกอนประวัติศาสตรตอนปลายถึงยุคแรกเริ่มประวัติศาสตรในเขตท่ีสูงทาง

Page 127: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

113

ตะวันออกของภาคกลางของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : คณะโบราณคดีมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2547.

__________. “กอนประวัติศาสตรตอนปลายในภาคกลางของประเทศไทย : หลักฐานจากลุมแมน้ําปาสักตอนลางและท่ีสูงทางตะวันออก” .เมืองโบราณ. 29, 2 (เม.ย. - มิ.ย. 2546) : 72-87.

สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์. “พระพุทธรูปศิลาปางมารวิชัยในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติสมเด็จพระนารายณ : การกําหนดรูปแบบและอายุสมัยครั้งใหม.” เมืองโบราณ. 17, 2 (เม.ย. - มิ.ย. 2534) : 109-116

แสงอรุณ กนกพงศชัย. “การผูกตํานานจากสถานท่ี : กรณีตํานานทองถ่ินเมืองลพบุรี”. เมืองโบราณ 15,1(มกราคม-มีนาคม 2532) : หนา65-69.

สุทัตตะ มานพ. ตํานานเมืองลพบุรี:ตํานานพระปรางคสามยอด. กรุงเทพฯ : การพิมพพระนคร, 2525.

สุภัทรดิศ ดิศกุล. ศิลปสมัยลพบุร.ี กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2510. สุรพล นาถะพินธุ และคนอ่ืนๆ. แหลงโบราณคดีบานทาแค. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2527. (กรม

ศิลปากรจัดพิมพเนื่องในโอกาสพิพิธภัณฑสถานแหงชาติสมเด็จพระนารายณ จังหวัดลพบุรี เปดนิทรรศการพิเศษเรื่องแหลงโบราณคดีบานทาแค ธันวาคม 2527)

สมจัย อนุมานราชธน. การทูตไทยสมัยศรีอยุธยา. พระนคร : โรงพิมพพระจันทร, 2509. ศิริวรรณ เวชวิทย. การศึกษารูปแบบซุมประตูหนาตางอาคารอิทธิพลตะวันตกบานหลวงรับราชทูต

หรือบานวิชาเยนทร จ.ลพบุรี.กรุงเทพฯ : สาขาวิชาประวัติศาสตรสถาปตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.2531.

ศรีศักร วัลลิโภดม. “ลุมลพบุร-ีปาสัก : ภาพรวมสมัยกอนประวัติศาสตรถึงทวารวดีตอนตน.” เมืองโบราณ 22,2 (เมษายน-มิถุนายน 2539) : 14-38. หนวยอนุรักษส่ิงแวดลอมศิลปกรรมทองถ่ิน. “สถาปตยกรรมท่ีมีคุณคาในเขตชุมชนเมืองจังหวัด

ลพบุร.ี” ลพบุร ี: หนวย, 2531. หลวงจินดาสหกิจ, ผูแปล. ประชุมพงศาวดารภาคท่ี 81 : จดหมายเหตุเรื่องการจราจลเม่ือปลาย

แผนดินสมเด็จพระนารายณมหาราช. พระนคร : กรมศิลปากร,2510. หวน พินธุพันธ. ลพบุรีท่ีนารู. ลพบุร:ี หัตถโกศการพิมพ, 2512. อาษา รามาน. “ระบบนิเวศน : การตั้งถ่ินฐานของชุมชนกอนประวัติศาสตรจังหวัดลพบุรี.” สาร

นิพนธ ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2527.

Page 128: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

114

อพิสิทธ์ิ ธีระจารุวรรณ. “ปุระกับบารายมุมมองใหมในการสรางบานแปลงเมืองสมัยลพบุรี ”ศิลปวัฒนธรรม 21, 10 (ส.ค. 2543) : 68-71

อรสา แสงทอง. “พระปรางค 3 ยอด ต.ทาหิน อ.เมือง จ.ลพบุรี.” สารนิพนธปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2528.

อนุวิทย เจริญศุภกุล. “วัดมหาธาตุลพบุร”ี. เมืองโบราณ 2,2 (มกราคม-มีนาคม 2519) : 21-33. Gorham,Hazel H.Japanese and Oriental ceramics.Rutland,Charles E. Tuttle, c1971. H.G.Quaritch Wales. Dvaravati : The Earliest Kingdom of Siam. London : W.S. Maney and Son

Ltd., 1969. Ian C.Glover,.การแลกเปล่ียนระหวางอินเดียและไทยในสมัยกึ่งกอนประวัติศาสตร แปลโดย พูล J.J.Boeles. “A note on the ancient city called Lavapura” Journal of the Siam Society LV. Part I

(January 1967) Ritt Vichayarath. “Narai Eajanives Palace Lopburi.” ไอดีไซน. 68 (มี.ค. 2550) : 92-95. Simon de la loubere. A New Historical Relation of the Kingdom of Siam. K.L.:Oxford University,

1969. Veerapan Maleipan. “Sab Champa” โบราณคดี 3,4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2514) : 93-101. W.O. Wolters, “A Western Teacher and The History of Early Ayuthaya” สังคมศาสตรปริทัศน

ฉบับพิเศษ (มิถุนายน 2529 ) : 92.

Page 129: โบราณคดีใกล เคียง · 2010-11-08 · A STUDY OF CULTURAL DEVELOPMENT OF LOP BURI : THE ARCHAEOLOGICAL SITE AT BAN VICHARJEN AND ITS ENVIRONS By Pornkamol

115

ประวัติผูวิจัย

ช่ือ-สกุล นางสาว พรกมล แสงอรุณ ท่ีอยู 978/164 หมูบานมัณฑนา 2 ถนนรังสิต-นครนายก ต.ประชาธิปตย

อ.ธัญบุรี จังหวัดปทุมธาน ีประวัติการศึกษา พ.ศ.2542 สําเร็จการศึกษาปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย

รามคําแหง คณะมนุษยศาสตร สาขาส่ือสารมวลชน พ.ศ.2548 ศึกษาตอปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร