สมาส สนธิ 2 ครบ

Post on 20-Jul-2015

37 Views

Category:

Documents

3 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

หลักสังเกตค ำสมำสในภำษำไทย

๑. เกิดจำกค ำมูลภำษำบำลี สันสกฤต ตั้งแต่สองค ำขึ้น

๒. เป็นค ำที่มีรำกศัพท์มำจำกภำษำบำลีและสันสกฤต เท่ำนั้น เช่น

กิจกำร รัฐบำล สำธำรณสมบัติ ภูมิศำสตร์

รำชวงศ์ อักษรศำสตร์ อรรถคดี ฯลฯ

อทุกภยั

หลักสังเกตค ำสมำสในภำษำไทย

๓. พยำงค์สุดท้ำยของค ำหน้ำ หำกมีสระ อะ หรือมีตัว

กำรันต์อยู่ ให้ยุบตัวนั้นออก เช่น

ศิลปะ สมำสกับ ศำสตร์ จะเป็น ศิลปศำสตร์

(ยกเว้นค ำบำงค ำ เช่น กิจจะลักษณะ เป็นต้น)

๔. แปลควำมจำกหลังมำหน้ำ เช่นรำชบุตร แปลว่ำ บุตรของพระรำชำ

เทวบัญชำ แปลว่ำ ค ำสั่งของเทวดำ

รำชกำร แปลว่ำ งำนของพระเจ้ำแผ่นดิน

หลักสังเกตค ำสมำสในภำษำไทย

๕. ส่วนมำกออกเสียงพยำงค์ท้ำยของค ำหน้ำ แม้จะไม่มี

รูปสระก ำกับอยู่ โดยจะใช้เสียง อะ อิ และ อุ เช่น

เทพบุตร แต่บำงค ำก็ไม่ออกเสียง เช่น

สมัยนิยม สมุทรปรำกำร รสทิพย์

๖. ค ำบำลีสันสกฤตท่ีมีค ำว่ำ พระ ซึ่งกลำยเสียงมำ

จำกบำลีสันสกฤต ก็ถือว่ำเป็นค ำสมำส เช่น

พระกร พระจันทร์ พระพักตร์

หลักสังเกตค ำสมำสในภำษำไทย

๗. ส่วนใหญ่จะลงท้ำยว่ำ กำร กร กรรม ภำพ คดี ธรรม บดี ภัย ภัณฑ์ ภำพ ลักษณ์ วิทยำ ศึกษำ ศำสตร์ เช่น

กิจกำร กำยกรรม สำรคดี ธรณีพิบัติภัย คณบดี พิพิธภ ณฑ์ ชีวภำพ ศึกษำศำสตร์ จิตวิทยำ จิตรกร ศีลธรรม

๘. อ่ำนออกเสียงสระระหว่ำงค ำ เช่น

ภูมิศำสตร์ อ่ำนว่ำ พู – มิ - สำด

ประวัติศำสตร์ อ่ำนว่ำ ประ – หวัด – ติ – สำด

วิศวกรรมศำสตร์ อ่ำนว่ำ วิด – สะ – วะ – ก ำ - มะ – สำดนิจศีล อ่ำนว่ำ นิจ – จะ – สีน

ไทยธรรม อ่ำนว่ำ ไท – ยะ – ท ำ

ข้อสังเกต

๑. ค ำที่ไม่ได้มำจำกภำษำบำลีสันสกฤตทั้งหมด ไม่จัดเป็นค ำสมำส เช่น เทพเจ้ำ (เจ้ำ เป็นค ำไทย) รำชวัง (วัง เป็นค ำไทย)พระโทรน (โทรน เป็นค ำอังกฤษ)บำยศรี (บำย เป็นค ำเขมร)

๒.ค ำที่ไม่สำมำรถแปลควำมจำกหลังมำหน้ำได้ไม่ใช่ค ำสมำส เช่น

ประวัติวรรณคดี แปลว่ำ ประวัติของวรรณคดีนำยกสมำคม แปลว่ำ นำยกของสมำคมวิพำกษ์วิจำรณ์ แปลว่ำ กำรวิพำกษ์และกำรวิจำรณ์

ข้อสังเกต

๓. ค ำสมำสบำงค ำไม่ออกเสียงสระตรงพยำงค์ของ

ค ำหน้ำ เช่น

ปรำกฏ อ่ำนว่ำ ปรำ – กด – กำน

สุภำพบุรุษ อ่ำนว่ำ สุ – พำบ – บุ – หรุด

สุพรรณบุรี อ่ำนว่ำ สุ – พรรณ – บุ – รี

ชัยนำท อ่ำนว่ำ ไช-นำด

อุดรธำนี อ่ำนว่ำ อุ – ดอน – ทำ - นี

ค ำสมำสแบบสนธิ

กำรสนธ ิเป็นการเปล่ียนแปลงเสียงตามหลกัภาษาบาลีสนัสกฤต เม่ือเสียงสองเสียงอยู่ใกลก้นั จะมีการกลมกลืนเป็นเสียง

เดียวกนั โดยมีการเปล่ียนแปลงพยญัชนะสระและนิคหิตท่ีมาเช่ือมเพ่ือการกลมกลืนเสียง

ใหเ้ป็นธรรมชาติของการออกเสียง และท าใหค้ าเหล่านัน้มีเสียงสัน้เขา้ เช่น

สุข + อภิบาล เป็น สุขาภิบาล

นร + อินทร์ เป็น นรินทร์ หรือ นเรนทร์

กำรสนธ ิมี ๓ ลักษณะ คือ

๑. สระสนธิ ๒. พยัญชนะสนธิ ๓. สระสนธิ

สระสนธิ เป็นกำรน ำค ำที่ลงท้ำยสระไปสนธิกับค ำที่ขึน้ต้นด้วยสระ

เม่ือสนธิแลว้จะมีการเปล่ียนแปลงรปูสระ เพ่ือใหเ้สียงสระ 2 เสียงได้

กลมกลืนเป็นเสียงสระเดียวกนั สระท่ีเป็นค าทา้ยของค าหนา้จะไดแ้ก่

สระอะ อา อิ อี อุ อู เป็นส่วนใหญ่ เช่น

๑. สระอะ อา สนธิกบัสระอะ อา ดว้ยกนั จะรวมเป็นสระอะ อา เช่น

เทศ + อภิบาล = เทศาภิบาล ศิลปะ+ อาชีพ = ศิลปาชีพ

ธนะ+อาคาร = ธนาคาร กาญจน + อาภรณ์ = กาญจนาภรณ์

** ถา้สระอะ อา สนธิกบัสระอะ อาของพยางคท่ี์มีตวัสะกด จะรวมเป็น

สระอะท่ีมีตวัสะกด เช่นมหา + อรรณพ = มหรรณพ

มหา + อศัจรรย ์ = มหศัจรรย ์

สระสนธิ เป็นกำรน ำค ำที่ลงท้ำยสระไปสนธิกับค ำที่ขึน้ต้นด้วยสระ (ต่อ)

** ถา้สระอะ อา สนธิกบัสระอิ อี จะรวมเป็น สระอิ อี หรือเอ เช่น

นร + อินทร=์นรินทร/์นเรนทร์ มหา + อิสิ = มหิสี/ มเหสี

** ถา้สระอะ อา สนธิกบัสระอุ อู จะรวมเป็น สระอุ อู หรือโอ

เช่น มคัค+อุเทศก์ = มคัคเุทศก์ สุข + อุทยั - สุโขทยั

นย+อุบาย = นโยบาย ราช + อุปถมัภ์ = ราชูปถมัภ ์

** ถา้สระอะ อา สนธิกบัสระเอ ไอ โอ เอา จะรวมเป็น สระเอ ไอ โอ

เอา

เช่น อน + เอก = อเนก มหา + โอฬาร = มโหฬาร

โภค+ ไอศวรรย ์= โภไคศวรรย ์ ปัญญา+ โอภาส = ปัญโญภาส

สระสนธิ (ต่อ)

๒. สระอ ิอี สนธิกับสระอ ิจะรวมเป็นสระอิ เช่นภมิู + อินทร์ = ภมิูนทร์ มุนี + อินทร์ = มุนินทร์

แต่ถ้ำสระอิ อี สนธิกับสระอื่น เช่น อะ อำ อุ โอ มีวิธีกำร ๒คือ

ก. แปลงรูปอ ิอี เป็น ย ก่อน แล้วจงึน ำไปสนธิตำมแบบ อะ แต่ถ้ำค ำนัน้มีตวัสะกด ตวัตำม ต้องตัดตัวตำมออกเสียก่อน เช่นรัตต ิ เป็น รัตย ไม่ใช่ รัตตยิ อัคคี เป็น

แล้วจงึน ำมำสนธิ ดังนี ้มต ิ+ อธิบำย เป็น มัตย + อธิบำย = มัตยำธิบำยอัคคี + โอภำส เป็น อัคย+ โอภำส =อัคโยภำส

ข. ตัดอ ิอี ออก แล้วสนธิแบบ อะ อำ เช่น หตัถี +อำจำรย์ = หตัถำจำรย์ ศักด ิ+ อำนุภำพ = ศักดำนุ

สระสนธิ (ต่อ)

๓. สระอุ อู สระอุ อู สนธิกนั รวมกนัเป็นรปูสระอุ อู

เช่น คร,ุ ครุ ุ+ อุปถมัภ ์ = ครปุกรณ ์คุรุปกรณ์ ครุปูกรณ์

คร,ุ ครุ ุ+ อุปถมัภ ์ = ครปุถมัภ ์คุรปุถมัภ์ ครุปูถมัภ์

แต่ถา้สระอุ อู น้ีสนธิกบัสระอ่ืน จะตอ้งเปล่ียนรปู อุ อู เป็น ว

แลว้สนธิตามแบบ อะ อา

เช่น จกัขุ+อาพาธ เป็น จกัขว+อาพาธ = จกัขวาพาธ

ธนู + อาคม เป็น ธนว+อาคม = ธนัวาคม

พยัญชนะสนธิ

คือการเช่ือมค าระหว่างพยญัชนะ กบั พยญัชนะ โดยมีการ

เปล่ียนแปลง

พยญัชนะค าเดิมก่อนน ามาสนธิ ซ่ึงเป็นค าบาลีสนัสกฤตท่ีไทยเรา

รบัมาใช ้

มีเพียงไม่ก่ีค า มกัจะเปล่ียน ส เป็น โ หรือ ร ไดแ้ก่

มนสฺ + ภาพ = มโนภาพ มนสฺ + ธรรม = มโนธรรม

รหสฺ + ฐาน = รโหฐาน เตชสฺ + ธาตุ = เตโชธาตุ

นิสฺ + ภยั = นิรภยั นิสฺ + ทกุข ์ = นิรทกุข์

ทสฺุ + กนัดาร = ทรุกนัดาร ทุสฺ + ลกัษณ ์ = ทรลกัษณ์

ศิรสฺ + เพฐน ์ = ศิโรเพฐน ์ เตชสฺ + ชย = เตโชชย (ไทยใชเ้ดโช

ชยั )

พยัญชนะวรรคของบำลี

วรรค/ แถว ๑ ๒ ๓ ๔ ๕

ก ก ข ค ฆ ง

จ จ ฉ ช ฌ ญ

ต ต ถ ท ธ น

ฏ ฎ ฐ ฑ ฒ ณ

ป ป ผ พ ภ ม

เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ นิคหิต

นิคหติสนธิ

เป็นการน าค าท่ีลงทา้ยดว้ยนิคหิต ไปสนธิกบัอีกค าหน่ึง มีหลกัเกณฑด์งัน้ี

๑. นิคหิตสนธิกบัสระ เปล่ียนนิคหิตเป็น ม เช่น

ส +อาทาน = สมาทาน ส +อาคม = สมาคม ส + อาจาร =

สมาจาร

ส + อิทธิ = สมิทธิ ส + อุทยั = สมุทยั ส + ฤทธ์ิ = สมัฤทธ์ิ

๒. นิคหิตสนธิกบัพยญัชนะวรรคใด ใหเ้ปล่ียน นิคหิตนัน้เป็นพยญัชนะ

ตวัสุดทา้ยของวรรคนัน้ๆ เช่น

ส + กร = สงักร ส + ขาร = สงัขาร ( วรรค ก )

ส + จร = สญัจร ส + ชาติ = สญัชาติ ( วรรค จ )

ส + ฐาน = สณัฐาน ส + ฐิตา = สณัฐิตา ( วรรค ฏ )

ส + ธาน = สนัธาน ส + นิบาต = สนันิบาต ( วรรค ต )

ส + ภาร = สมภาร ส + ผสั = สมัผสั ( วรรค ป )

นิคหติสนธิ(ต่อ)

นิคหติสนธิกับเศษวรรค (ย ร ล ว ศ ส ษ ห) เปลี่ยนนิคหติเป็น ส ก่อนแล้วจงึสนธิกัน เช่น

ส + โยค = สังโยค ส + หรณ์ = สังหรณ์

ส + วร = สังวร ส + สำร = สังสำร

ส + สรรค์ = สังสรรค์ ส + สนทน = สังสันทน์

ส + วำส = สังวำส ส + หำร = สังหำร

top related