บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล

Post on 22-Jul-2015

1.360 Views

Category:

Education

2 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

ครูณัฐพล บัวอุไร

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ล าลูกกา

การสื่อสารข้อมูล

ระบบการสื่อสารข้อมูล

การถ่ายโอนข้อมูล

เครือข่ายคอมพิวเตอร ์

- ทิศทางการสื่อสาร - ชนิดของสญัญาณ

- รูปแบบของการถ่ายโอนข้อมลู - ตวักลาง - ระบบบสั

- ประเภทของคอมพิวเตอร์ - โครงสร้างเครือขา่ย - ชนิดของเครือขา่ย

การสื่อสารข้อมูล

ระบบการสื่อสารข้อมูล

การถ่ายโอนข้อมูล

เครือข่ายคอมพิวเตอร ์

- ทิศทางการสื่อสาร - ชนิดของสญัญาณ

- รูปแบบของการถ่ายโอนข้อมลู - ตวักลาง - ระบบบสั

- ประเภทของคอมพิวเตอร์ - โครงสร้างเครือขา่ย - ชนิดของเครือขา่ย

• การสื่อสารข้อมูล (Data Communication) คือการรับ ส่ง โอน ย้ายหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลและข่าวสาร (Information) ส่งผู้ส่งไปยังผู้รับ

• ระบบการสื่อสารมี 5 องค์ประกอบ

1. ผู้ส่งข้อมูล (Sender)

2. ผู้รับข้อมูล (Receiver)

3. ข้อมูล (Data)

4. สื่อน าข้อมูลหรือตัวกลาง (Medium)

5. โพรโทคอล (Protocol)

•สามารถแบ่งการสื่อสารข้อมูลตามทิศทางการสื่อสารได้ 3 รูปแบบ 1. การสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว (Simplex Transmission)

2. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน (Half-Duplex Transmission)

2. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน (Full-Duplex Transmission)

สามารถแบ่งลักษณะของสัญญาณข้อมูลได้ 2 ประเภท คือ

1. สัญญาณแอนะล็อก (Analog Signal)

2. สัญญาณดิจิทัล (Digital Signal)

การสื่อสารข้อมูล

ระบบการสื่อสารข้อมูล

การถ่ายโอนข้อมูล

เครือข่ายคอมพิวเตอร ์

- ทิศทางการสื่อสาร - ชนิดของสญัญาณ

- รูปแบบของการถ่ายโอนข้อมลู - ตวักลาง - ระบบบสั

- ประเภทของคอมพิวเตอร์ - โครงสร้างเครือขา่ย - ชนิดของเครือขา่ย

การถ่ายโอนข้อมูลในคอมพิวเตอร์มี 2 รูปแบบ คือ

1. การส่งสัญญาณข้อมูลแบบอนุกรม (Serial Data Transmission)

1.1 การส่งสัญญาณข้อมูลแบบอะซิงโครนัส (Asynchronous Transmission)

1.2 การส่งสัญญาณข้อมูลแบบซิงโครนัส (Synchronous Transmission)

2. การส่งสัญญาณข้อมูลแบบขนาน (Parallel Data Transmission)

เป็นสื่อกลางที่ใช้ในการรับ-ส่งข้อมูล โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่

1. ตัวกลางประเภทมีสาย

2. ตัวกลางประเภทไร้สาย

1. สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair Cable)

2. สายตัวร่วมแกนหรือสายโคแอกเชียล (Coaxial Cable)

3. ใยแก้วน าแสง (Optical Fiber Cable หรือ Fiber Optic)

1. แสงอินฟราเรด (Infrared)

- เช่น สัญญาณจากรีโมตคอนโทรล สัญญาณจากโทรศัพท์มือถือที่เรียกว่า Bluetooth

2. สัญญาณวิทยุ (Radio Wave)

- ใช้อากาศเป็นตัวกลาง หากสภาพ

อากาศไม่ดี จะมีผลต่อสัญญาณ

- ได้แก่ สัญญาณโทรทัศน์ วิทยุ

สายการบิน เป็นต้น

3. ไมโครเวฟ (Microwave) เป็นสัญญาณวิทยุแต่มีความถี่ในระดับกิกะเฮิรตซ์ (Gigahertz)

3. ไมโครเวฟ (Microwave) เป็นสัญญาณวิทยุแต่มีความถี่ในระดับกิกะเฮิรตซ์ (Gigahertz)

4. ดาวเทียม (Satellite)

- Uplink และ Downlink

- ใช้สัญญาณไมโครเวฟ

• ระบบบัส คือ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ท าหน้าที่รับและส่งสัญญาณข้อมูลระหว่างฮาร์ดแวร์ในคอมพิวเตอร์

1. ความเร็วของระบบบัส คือ ความสามารถในการรับส่งสัญญาณข้อมูล ซึ่งขึ้นอยู่กับความกว้างของระบบบัส

- ความถี่ของช่องสัญญาณเรียกว่าแบนด์วิดท์ (Bandwidth)

- บัส 32 บิต หมายความว่าสามารถส่งข้อมูลได้พร้อมๆ กัน 32 บิต

- การที่คอมพิวเตอร์มีบัสมากจะท าให้ความถี่เพิ่มขึ้น และอาจเกิดการรบกวนต่อการส่งสัญญาณ

2. ส่วนประกอบของระบบบัส ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่

1. เส้น (Line) คือเส้นสัญญาณบนเมนบอร์ด

2. ชิปควบคุม (Control Chip) ควบคุมการท างานของบัส ดูแลการส่งสัญญาณข้อมูล

3. ช่องเสียบต่อขยายหรือสล็อต (Slot) คือช่องเสียบแรม (Ram) หรืออุปกรณ์เสริมอื่นๆ

3. โครงสร้างบัส (Bus Structure) บัสสามารถแบ่งตามลักษณะของการส่งข้อมูลได้ 3 ประเภท คือ

1. บัสข้อมูล (Data Bus) เป็นบัสเชื่อมต่อกับฮาร์ดแวร์ต่างๆ เพื่อส่งข้อมูล

2. บัสต าแหน่ง (Address Bus) บอกต าแหน่งในการรับส่งข้อมูล

3. บัสควบคุม (Control Bus) ควบคุมการรับส่งข้อมูล และระบุว่าจะต้องท าอย่างไรกับข้อมูลนี้

การสื่อสารข้อมูล

ระบบการสื่อสารข้อมูล

การถ่ายโอนข้อมูล

เครือข่ายคอมพิวเตอร ์

- ทิศทางการสื่อสาร - ชนิดของสญัญาณ

- รูปแบบของการถ่ายโอนข้อมลู - ตวักลาง - ระบบบสั

- ประเภทของคอมพิวเตอร์ - โครงสร้างเครือขา่ย - ชนิดของเครือขา่ย

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) คือ การน าคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อกันผ่านสื่อ

• เพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกัน

• เพื่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล

• เพิ่มความน่าเชื่อถือในการประมวลผลข้อมูล

• ควบคุมการท างานของคอมพิวเตอร์ระยะไกล

คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานในระบบเครือข่ายมีหลายประเภท ดังนี้

1. เครื่องเซิร์ฟเวอร์ (Server)

2. เครื่องไคลเอนต์ (Client)

เครื่อง terminal เครื่อง workstation

1. เครือข่ายแบบบัส (Bus Topology)

• ใช้สายส่งข้อมูลหลัก (Backbone) เป็นแกนกลาง

• ปลายสายจะมีเครื่องเทอร์มิเนเตอร์เพื่อดูดกลืนข้อมูล

• ส่วนใหญ่ใช้สายโคแอกเชียล

• ข้อดี • ใช้สายส่งสัญญาณน้อย ประหยัดค่าใช้จ่าย

• ข้อเสีย • ไม่เหมาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์จ านวนมาก

1. เครือข่ายแบบบัส (Bus Topology)

2. เครือข่ายแบบดาว (Star Topology)

• รูปร่างคล้ายดาว ใช้อุปกรณ์ที่เรียกกว่า ฮับ (Hub)

• ใช้สายคู่บิดเกลียว

• ข้อดี • เชื่อมต่อได้ง่าย

• ถ้าเครื่องใดเสีย ระบบยังท างานต่อได้

• ข้อเสีย • ถ้าฮับเสีย เครือข่ายจะท างานไม่ได ้

2. เครือข่ายแบบดาว (Star Topology)

3. เครือข่ายแบบวงแหวน (Ring Topology)

• การเชื่อมต่อคล้ายวงแหวน

• ส่งข้อมูลในทิศทางเดียวกัน

• ต้องส่งข้อมูลผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเป็นวงกลม

• ข้อดี • ข้อมูลไม่ชนกัน ใช้สายส่งสัญญาณน้อยกว่าเครือข่ายแบบดาว

• ข้อเสีย • หากสายสัญญาณช ารุด ระบบจะไมส่ามารถท างานได้

3. เครือข่ายแบบวงแหวน (Ring Topology)

1. เครือข่ายแบบส่วนบุคคล (PAN : Personal Area Network

2. เครือข่ายแบบท้องถิ่น (LAN : Local Area Network)

2. เครือข่ายแบบท้องถิ่น (LAN : Local Area Network)

Peer to Peer

2. เครือข่ายแบบท้องถิ่น (LAN : Local Area Network)

Client/Server

3. เครือข่ายแบบเชื่อมโยงภายในเมืองเดียวกัน (MAN : Metropolitan Area Network)

4. เครือข่ายแบบระยะทางไกล (WAN : Wide Area Network)

top related