บทที่ 7 ตัวแบบมาร์คอฟ (markov model)

Post on 13-Mar-2016

231 Views

Category:

Documents

9 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

บทที่ 7 ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model). ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model) คือ ตัวแบบทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์พฤติกรรมของตัวแปร เพื่อพยากรณ์พฤติกรรมในอนาคตของตัวแปรนั้น วิธีการใช้ตัวแบบมาร์คอฟ ได้รับ การพัฒนาโดยนักคณิตศาสตร์ ชาวรัสเซีย ชื่อ อังเดร เอ มาร์คอฟ. คุณสมบัติสำคัญของปัญหา - PowerPoint PPT Presentation

TRANSCRIPT

บทท่ี 7ตัวแบบมารค์อฟ

(Markov Model)

ตัวแบบมารค์อฟ (Markov Model)

คือ ตัวแบบทางคณิตศาสตรท่ี์ใชใ้นการวเิคราะห์พฤติกรรมของตัวแปร เพื่อพยากรณ์

พฤติกรรมในอนาคตของตัวแปรนัน้

วธิกีารใชตั้วแบบมารค์อฟ ได้รบั

การพฒันาโดยนักคณิตศาสตร์

ชาวรสัเซยี ชื่อ อังเดร เอ มารค์อฟ

คณุสมบติัสำาคัญของปัญหาท่ีจะนำาตัวแบบมารค์อฟมาแก้ปัญหา

1. ปัญหานัน้ต้องมผีลลัพธท่ี์จะเกิดขึน้จำานวนท่ีแน่นอนจำานวนหนึ่ง

2. ค่าความน่าจะเป็นของผลลัพธถั์ดไป ต้องขึน้อยูกั่บผลลัพธก่์อนหน้านัน้

?

3. ค่าความน่าจะเป็นของการเกิดผลลัพธต่์างๆ ต้องมค่ีาคงท่ีเสมอไมเ่ปลี่ยนแปลงตามเวลาท่ีเปล่ียนไป

ลกูโซม่ารค์อฟ

ลกูโซม่ารค์อฟ (Markov Chain)คือ ลำาดับของการเกิดเหตกุารณ์ ซึง่ค่าความน่าจะเป็นของการเกิดเหตกุารณ์

แต่ละเหตกุารณ์จะขึน้อยูกั่บเหตกุารณ์ที่เกิดขึน้

ก่อนหน้านัน้

2. สถานะ (State) : สภาพท่ีเป็นอยูใ่นเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึง่

สถานะนัน้ๆ อาจจะเปลี่ยนแปลงหรอืไมเ่ปลี่ยนแปลงก็ได้ แต่ในระยะยาว สถานะนัน้ๆ จะคงท่ี

1. เหตกุารณ์ (Event) : สิง่ท่ีอาจเกิดขึน้หรอื การเปลี่ยนแปลงท่ี

เกิดขึน้

สญัลักษณ์สญัลักษณ์ SS แทนสถานะ j ใดๆ (เมื่อ j = 1, 2, 3, …n) เชน่ บรษัิทหนึ่งมพีนักงาน 3 สถานะ

(ระดับ)S1 = พนักงานระดับปฏิบติัการ

S2 = หัวหน้างานS3 = ผู้บรหิาร

3. ความน่าจะเปน็แบบทรานสชิัน่

(Transition Probability)

สญัลักษณ์ Pij แทน ความน่าจะเป็นของการเปลี่ยนแปลงสถานะจาก Si ไป Sjเชน่ P12 = 0.1 หมายถึง ความน่าจะเป็นของการเปลี่ยนแปลงสถานะจาก S1 ไปเป็น S2 มค่ีาเท่ากับ 0.1

3. ความน่าจะเป็นแบบทรานสชิัน่ (Transition Probability)

การแสดงค่าความน่าจะเป็นแบบทรานสชิัน่ สามารถทำาได้ 2 วธิีวธิท่ีี 1 การใชไ้ดอะแกรมแสดงสถานะ (State Diagram)

S2S1P11

P12 = 0.4

P21 = 0.3

P220.6 0.7

วธิท่ีี 2 การใชท้รานสชิัน่ แบบเมทรกิซ ์(Transition Matrix)

จากสถานะ

เปล่ียนไปเป็นสถานะ

รวมS1 S2

S1 0.6 0.4 1S2 0.3 0.7 1

4. ค่าความน่าจะเปน็แบบทรานเชยีนท์ (Transient

Probability)

4. ค่าความน่าจะเป็นแบบทรานเชยีนท์ (Transient robability)

ค่าความน่าจะเป็นของการอยูใ่นสถานะใดสถานะหนึ่งของลกูโซม่ารค์อฟ (ค่าความน่าจะเป็นระยะสัน้) ก่อนท่ีจะเขา้สูส่ถานะคงตัว

สตูรP(S1) = P11 P(S1) + P21 P(S2) + P31 P(S3) + … Pn1 P(Sn)P(S2) = P12 P(S1) + P22 P(S2) + P32 P(S3) + … Pn2 P(Sn) นำาค่าความน่าจะเป็นในตารางทรานสชิัน่ เมทรกิซ ์มาแทนค่าในสตูร เพื่อหาค่าความน่าจะเป็น

P(S3) = P13 P(S1) + P23 P(S2) + P33 P(S3)

ตัวอยา่งท่ี 7.2 หน้า 172กรณีลกูโซม่ารค์อฟม ี3 สถานะ

จากไดอะแกรมขา้งต้นนำามาเขยีนในรูปของเมตริกซ์

เพื่อง่ายในการคำานวณ

S3S1

S2

0.10.3

0.1

0.3

0.8

0.6

0.1

0.3

0.4

จากสถาน

เปล่ียนไปเป็นสถานะ รวมS1 S2 S3

S1 0.4 0.3 0.3 1S2 0.1 0.8 0.1 1S3 0.1 0.3 0.6 1

กำาหนดให้P(S1) = 0.4P(S2) = 0.3P(S3) = 0.3(ค่าความน่าจะเป็น ณ ปัจจุบนั)

การหาค่าความน่าจะเป็นในระยะสัน้ (ทรานเชยีนท์)

(ค่าความน่าจะเป็นในครัง้ถัดไป)

โดยการนำาค่าความน่าจะเป็น ณ ปัจจุบนัไปคณูกับความน่าจะเป็นของการเปลี่ยนสถานะหน่ึงไป

ยงัอีกสถานะหนึ่ง

สตูรP(S1) = P11 P(S1) + P21 P(S2) + P31 P(S3)= (0.4)(0.4) + (0.1)(0.3) +

(0.1)(0.3)= 0.16 + 0.03 + 0.03= 0.22

P(S2) = P12 P(S1) + P22 P(S2) + P32 P(S3)= (0.3)(0.4) + (0.8)

(0.3) + (0.3)(0.3)= 0.12 + 0.24 + 0.09= 0.45

P(S3) = P13 P(S1) + P23 P(S2) + P33 P(S3)= (0.3)(0.4) + (0.1)

(0.3) + (0.6)(0.3)= 0.12 + 0.03 + 0.18= 0.33

ผลของการคำานวณค่าความน่าจะเป็นแบบทรานเชีย่น

ในครัง้ต่อๆ ไปครัง้ท่ี P(S1)

P(S2)

P(S3)

 1 0.4 0.3 0.3 = 12 0.2

20.45

0.33

= 13 0.1

660.525

0.309

= 14 0.1

500.565

0.285

= 15 0.1

450.580

0.275

= 1

ครัง้ท่ี 3

P(S1) = (0.4)(0.22) + (0.1)(0.45) + (0.1)(0.33)

= 0.088 + 0.045 + 0.033= 0.166

P(S2) = (0.3)(0.22) + (0.8)(0.45) + (0.3)(0.33)

= 0.066 + 0.36 + 0.099= 0.525

P(S3) = (0.3)(0.22) + (0.1)(0.45) + (0.6)(0.33)

= 0.066 + 0.045 + 0.198= 0.309

หรอื P(S3) = 1 – P(S1) – P(S2)

= 1 – 0.166 – 0.525= 0.309

5. ความน่าจะเปน็แบบสเตดีเสตท

(Steady – State Probability)

ความน่าจะเป็นของการอยูใ่นสถานะใดสถานะหน่ึงของ

ลกูโซม่ารค์อฟซึง่มค่ีาคงตัว (ค่าความน่าจะเป็นในระยะยาว)

ความน่าจะเป็นแบบสเตดีเสตท (Steady – State

Probability)

ตัวอยา่ง 7.3 หน้า 175จาก

สถานะเปล่ียนไปเป็น

สถานะS1 S2S1 0.75 0.25S2 0.25 0.75

สตูรP(S1) = P11 P(S1) + P21 P(S2)P(S2) = P12 P(S1) + P22 P(S2)P(S1) + P(S2) = 1หาค่าความน่าจะเป็นของ P(S1), P(S2), P(S3) โดยวธิ ีแก้สมการ

วธิทีำาแทนค่า P11 = 0.75, P21 = 0.25

P12 = 0.25, P22 = 0.75

P(S1) = P11 P(S1) + P21 P(S2)

= 0.75 P(S1) + 0.25 P(S2)

P(S2) = P12 P(S1) + P22 P(S2)

= 0.25 P(S1) + 0.75 P(S2)

P(S1) + P(S2) = 1

1

2

3

แก้สมการหาค่า P(S1) จากสมการ 1

P(S1) = 0.75 P(S1) + 0.25 P(S2)

P(S1) – 0.75 P(S1) = 0.25 P(S2)

0.25 P(S1) = 0.25 P(S2)

P(S1) = P(S2)

แก้สมการหาค่า P(S2) จากสมการ 2P(S2) = 0.25 P(S1) +

0.75 P(S2)P(S2) – 0.75 P(S2) = 0.25

P(S1) 0.25 P(S2) = 0.25 P(S1)

P(S2) = P(S1)

จากสมการ 3 P(S1) + P(S2) = 1จากการแก้สมการ 1, 2, 3 จะได้ P(S1) = P(S2)

P(S1) = 0.5P(S2) = 0.5

โจทย ์หน้า 180 – 182

บรษัิทแห่งหนึ่งมพีนักงานในระดับต่างๆ รวมท้ังสิน้ 500 คน ดังนี้

ระดับ 1 มจีำานวน 350 คน คิดเป็น 70%ระดับ 2 มจีำานวน 100 คน คิดเป็น 20%ระดับ 3 มจีำานวน 50 คน คิดเป็น 10%

พนักงานแต่ละระดับมกีารเปลี่ยนแปลงสถานะ ดังนี้

จากสถานะ เปล่ียนไปเป็นสถานะ1 2 3

1 0.90 0.10 0.002 0.20 0.75 0.053 0.10 0.00 0.90

นโยบายของบรษัิท กำาหนดไวว้า่ เมื่อไรท่ีมคีนออกไมว่า่จะเป็นพนักงานระดับใด จะทำาการจา้งพนักงานระดับ 1 เขา้มาทดแทนจำานวนท่ีขาดไป

ให้วเิคราะห์หาสดัสว่นของพนักงานในปีหน้า และสดัสว่นของพนักงานในระยะยาว

วธิทีำา

1. หาสดัสว่นพนักงานปีหน้า(ความน่าจะเป็นแบบ ทรานเชยีนท์)

กำาหนดให้ P(S1) = พนักงานระดับ 1 = 0.7

P(S2) = พนักงานระดับ 2 = 0.2

P(S3) = พนักงานระดับ 3 = 0.1

สตูร P(S1) = P11 P(S1) + P21 P(S2) + P31 P(S3)

= (0.9)(0.7) + (0.2)(0.2) + (0.1)(0.1) = 0.63 + 0.04 + 0.01 = 0.68

P(S2) = P12 P(S1) + P22 P(S2) + P32 P(S3)

= (0.1)(0.7) + (0.75)(0.2) + (0)(0.1)

= 0.07 + 0.15 + 0 = 0.22

P(S3) = P13 P(S1) + P23 P(S2) + P33 P(S3)

= (0)(0.7) + (0.05)(0.2) + (0.9)(0.1)

= 0 + 0.01 + 0.09= 0.10

หรอื P(S3) = 1 - P(S1) - P(S2)

= 1 – 0.68 – 0.22= 0.10

ในปีหน้าจำานวนพนักงานในระดับต่างๆ จะเป็นดังน้ี

จำานวนพนักงานระดับ 1 มสีดัสว่นเป็น 68% หรอื 340 คนจำานวนพนักงานระดับ 2 มสีดัสว่นเป็น 22% หรอื 110 คนจำานวนพนักงานระดับ 3 มสีดัสว่นเป็น 10% หรอื 50 คน

2. หาสดัสว่นพนักงานในระยะยาว(ความน่าจะเป็นแบบสเตดีสเตท)

สรา้งสมการจากตัวแบบมารค์อฟP(S1) = 0.9 P(S1) + 0.2 P(S2) + 0.1 P(S3)P(S2) = 0.1 P(S1) + 0.75 P(S2) + 0 P(S3)P(S3) = 0 P(S1) + 0.05 P(S2) + 0.9 P(S3)P(S1) + P(S2) + P(S3) = 1

1

3

4

2

แก้สมการหาค่า P(S1), P(S2), P(S3)พจิารณา สมการ 2

P(S2) = 0.1 P(S1) + 0.75 P(S2) + 0

P(S2) – 0.75 P(S2) = 0.1 P(S1) 0.25 P(S2) = 0.1 P(S1)

(0.1 หาร) 2.5 P(S2) = P(S1)

หรอื เอา 0.25 หาร จะได้P(S2) = 0.4 P(S1)

5

พจิารณา สมการ 3P(S3) = 0 + 0.05 P(S2)

+ 0.9 P(S3) P(S3) – 0.9 P(S3) = 0.05 P(S2)

0.1 P(S3) = 0.05 P(S2) (0.1 หาร) P(S3) = 0.5 P(S2)

หรอื เอา 0.05 หาร จะได้ 2 P(S3) = P(S2)

6

แทนค่าใน P(S1) + P(S2) + P(S3) = 1 2.5 P(S2) + P(S2) + 0.5 P(S2) = 1

4 P(S2) = 1 P(S2) =

0.25

แทน P(S2) ใน สมการ 5, 6P(S1) = 2.5 P(S2)

= 2.5 (0.25) = 0.625

P(S3) = 0.5 P(S2) = 0.5 (0.25) =

0.125

จะได้ :P(S1) = 0.625P(S2) = 0.25P(S3) = 0.125

พนักงานระดับ 1 มสีดัสว่น 62.5% หรอื 312 คน (312.5)พนักงานระดับ 2 มสีดัสว่น 25% หรอื 125 คนพนักงานระดับ 3 มสีดัสว่น 12.5% หรอื 63 คน (62.5)

หมายเหต ุพนักงานระดับ 1, 3 ได้จากการปัดเศษให้เป็นจำานวนเต็ม

top related