การสำรวจและรวบรวม internet reference resources

Post on 21-May-2015

420 Views

Category:

Education

2 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

1. ค้นจาก Search Tools ประเภท Subject Directories, Search Engines หรือ Meta Search Engines

2. ค้นจากเว็บไซต์องค์กรด้านการศกึษา/วิจัยทีร่วบรวม และใหบ้ริการทรัพยากรสารสนเทศส าคัญ ๆ (เช่น ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ห้องสมุดวิจัย สมาคมวิชาชีพ เป็นต้น)

3. เป็นสมาชิก Mailing List เพื่อรับข่าวสารเกี่ยวกับ Reference Resources ใหม่ๆ ทางอีเมล์

4. ติดตามข่าวสารจากวารสารวิชาชีพที่ให้บทวิจารณ์ Reference Resources ชื่อเรื่องใหม่ๆ(เช่น Choice Library Journal Booklist เป็นต้น)

5. ติดตามข่าวสารจาก Catalogs ของส านักพมิพ์ หรือเว็บไซตส์ านักพิมพ์

Subject Directorieshttp://www.ipl.org/div/subject/

ตัวอย่าง Subject Directories

Subject Directories (ต่อ)

http://infomine.ucr.edu/

ตัวอย่าง Subject Directories

Subject Directories (ต่อ)

http://vlib.org/

ตัวอย่าง Subject Directories

Subject Directories (ต่อ)

http://www.dmoz.org/ตัวอย่าง

Subject Directories

Subject Directories (ต่อ)

http://dir.yahoo.com/

ตัวอย่าง Subject Directories

เป็นเว็บไซต์จัดท าขึ้นเพื่อให้บริการค้นคืนสารสนเทศจาก WWW

โดยจัดแบ่งเว็บไซต์ต่าง ๆ ออกเป็นหมวดหมู่ หรือท่ีเรียกว่า Categories หรือ Directories

น าเอาเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาเหมือนกันไว้ในกลุ่มเดียวกัน

มนุษย์เป็นผู้จัดท าฐานข้อมูล (ผู้เชี่ยวชาญ)

Most directories provide a search capability.

Many directories annotate their resources. These annotations describe or evaluate site content.

ผลการสืบค้นได้เป็นเว็บไซต์จ านวนหนึ่งไม่มากนัก

แหล่งรวม Subject Directories ที่ส ำคัญ ๆhttp://www.internettutorials.net/subject.asp

When to use directories? Directories are useful for general topics, for topics that you don't know much about, for the value of human-selected content, for in-depth research, and for browsing.

(http://www.internettutorials.net/world-of-subject-directories.asp)

http://www.internettutorials.net/subject.asp

แหล่งรวม Subject Directories ที่ส าคัญ ๆhttp://www.internettutorials.net/subject.as

p

วิธีกำรรวบรวม Reference Resources

• 1. เลือก Subject Directories ชื่อเรื่องที่ต้องการจากเว็บไซต์ที่รวมแหล่ง Subject Directories (http://www.internettutorials.net/subject.asp)

• 2. จาก Subject Directory ชื่อเรื่องที่เลือกมาแล้ว เช่น ipl2 (http://www.ipl.org/)

Resources by Subjectพบเว็บไซต์สมพัตสร ที่ต้องการ

ตัวอย่างหน้าเว็บไซต์ Infoplease

ต้องการรวบรวมเว็บไซต์อักขรานุกรมชีวประวัติ(ใช้ Subject Directories ท่ีชื่อว่า ipl2

เป็นเครื่องมือในการรวบรวม)

http://www.internettutorials.net/subject.asp

http://www.ipl.org/

หมวดย่อยของ Biography

เลือกเว็บไซต์อักขรานุกรมชีวประวัติจาก 147 แหล่ง หรือ เลือกไปที่หมวดย่อยก่อนแล้วจึงค่อยเลือกเว็บไซต์ที่ต้องการ

• วิธีการเลือกเว็บไซต์

1. เนื่องจากเว็บไซต์ที่ค้นจาก Subject Directories ผ่านการประเมินคุณค่าจากบรรณารักษ์และผู้เช่ียวชาญแล้ว จึงไม่ต้องท าการประเมินค่าอีก แต่หากใช้ Search Engines หรือ Meta Search Engines ค้นหาควรใช้เกณฑ์การประเมินค่าเว็บช่วยในการประเมินคุณค่าก่อนน าไปใช้

2. อ่านบรรณนิทัศนป์ระกอบเว็บนั้นๆ3. พิจารณาว่าเนื้อหาของเว็บมีประโยชน์ต่อการเรียนการสอน การศึกษาค้นคว้า

ส าหรับผู้ใช้ในหน่วยงานบริการสารสนเทศของตน

• เมื่อเลือกเว็บไซต์อกัขรานกุรมชีวประวัติ ได้เรียบร้อยแล้ว (คือเลือกมา 3 เว็บ) ในขั้นตอนต่อไปควรท าอะไร ????

• ศึกษา ขอบเขตเนื้อหา และวิธีการสืบค้น และเทคนิคการสืบค้นของเว็บไซต์ต่าง ๆ เหล่านั้น และจัดท าคู่มือแนะน าการใช้ (ในรูปแบบไฟล์ PPT Word PDF)

• หากเป็นเว็บไซต์ที่ให้ใช้ฟรี ให้ท าการ Link มาไว้ในส่วนของ Reference Databases หรือ Internet Resources for Reference (Virtual Reference Desk)หรือ Online Reference Shelf (Selected Reference Resources on the Web)ของห้องสมุดต่อไป โดยน าเว็บไซต์จัดเรียงภายใต้ประเภทของ Reference Resources (เช่น Almanac Dictionaries Encyclopedias)

• ต่อไปจะให้ดูตัวอย่างของห้องสมุดมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ที่ได้เช่ือมโยงเว็บไซต์ของ Reference Resources ที่ใหบ้ริการฟรีไว้บนเว็บไซต์ของห้องสมุด

http://www.princeton.edu/~pressman/genref.htm#ency

http://libguides.rutgers.edu/referencecontents

Search Engines หรือ Meta Search Engines

พิมพ์ค าค้นลงไปในช่อง Search เช่นdictionaries encyclopedias almanac เป็นต้น

http://www.internettutorials.net/engines.asp (เป็นเว็บไซต์ที่เปน็แหล่งรวม Search Engines และ Meta Search Engines ช่ือเรื่องส าคัญ ๆ)

http://www.internettutorials.net/engines.asp

http://www.internettutorials.net/engines.asp

ต้องการรวบรวมเว็บไซต์พจนานุกรม(ใช้ Search Engines ท่ีมีชื่อว่า Yahoo! ประเทศไทย

เป็นเครื่องมือในการรวบรวม)

http://th.yahoo.com/

พจนานุกรม

http://dict.longdo.com/

http://www.internettutorials.net/engines.asp

ต้องการรวบรวมเว็บไซต์อักขรานุกรมชีวประวัติ(ใช้ Meta Search Engines เป็นเครื่องมือในการรวบรวม)

http://www.dogpile.com/

http://www.biography.com/

http://www.who2.com/

2. ค้นจากเว็บไซต์องค์กรด้านการศึกษา/วิจัยทีร่วบรวมและให้บรกิารทรัพยากรสารสนเทศส าคัญ ๆ (ส่วนหนึ่งจะเป็น Reference Resources)

เช่น ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ห้องสมุดวิจัย สมาคมวิชาชีพ เป็นต้น

เช่น University of Delaware Library American Library Association

ฯลฯ

http://plato.stanford.edu/contents.html

http://www.libraries.rutgers.edu/

http://www.chambersharrap.co.uk/chambers/features/chref/chref.py/main

3. เป็น สมาชิก Mailing List เพื่อรับข่าวสารใหม่ๆ เกี่ยวกับReference Resources

http://infoserv.inist.fr/wwsympa.fcgi/info/refsc-l

http://lists.ala.org/sympa

http://lists.ala.org/sympa

http://lists.ala.org/sympa/lists/subject/ref

http://lists.ala.org/sympa/info/marsbestfree

4. ติดตามข่าวสารจากวารสารวิชาชีพที่ให้บทวิจารณ์ หรือ

แนะน า Reference Databases ใหม่ ๆ เช่น

Choice, Booklist, Digital L J เป็นตน้

http://www.ala.org/acrl/choice//

http://reviews.libraryjournal.com/?ref=menu

5. ติดตามข่าวสารจาก Catalogs ของส านักพิมพ์ หรือจากเว็บไซต์ของส านักพิมพ์นั้น ๆโดยเฉพาะถ้าเป็น Reference Resources ที่ต้องสั่งซ้ือ

http://www.ebscohost.com/wilson

http://www.ebscohost.com/academic/book-review-digest-plus

top related