รศ.ดร.พรรณี...

Post on 06-Feb-2016

46 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

การเขียนบทความวิชาการเพื่อการตีพิมพใน

วารสารวิชาการ

รองศาสตราจารย ดร. พรรณี บัวเล็ก

วารสารวิชาการสามารถแบงเปน 2 ประเภทคือ

1. วารสารที่เปนสาขาความรูใหญ เชน วารสารทางสังคมศาสตร วารสารธรรมศาสตร วารสารศิลปากร วารสารรมพฤกษฯ

2. สาขาความรู เฉพาะ เชน วารสารเศรษฐศาสตร วารสารกฎหมาย วารสารประวัติศาสตรฯ

การสงบทความที่ตีพิมพ เราตองเลือกวารสารที่มีคา impact factor และมีการ citation สูง

วารสารที่มีคุณสมบัตินี้ก็จะเปนวารสารเฉพาะทาง ที่มีนักวิชาการในสาขาวิชาเขามาอานมาใชผลงานเพื่ออางอิงทางวิชาการ ไมใชอานโดยขาดความมุงหมายทางวิชาการ

บทความที่ตีพิมพในวารสารวิชาการจะตองมี peer reviewer คือเพื่อนนักวิชาการที่จะมาอานบทความ อยางนอย 2 คน

What is a good journal ?

• Be international documents

• High total citations

• High impact factors

• Highly recommended by researchers in the field

• Hard-print and online publication

บทความในวารสารมี 4 ประเภท

1. บทความวิชาการ เปนความที่เรียบเรียงจากหนังสือหรืองานวิจัยที่มีอยู

แลว บทความประเภทนี้มีจุดมุงหมายที่จะเสนอความรู หรือมุมมองบาง

มุมมองจากความรูที่มีอยูเดิม

2. บทความที่มาจากงานวิจัย ซึ่งก็จะตองมีลักษณะเฉพาะที่ตางจากงานวิจัย

3. บทความที่เปนการวิจารณหรือแนะนําหนังสือ(book review) คือการอาน

หรือการวจิารณผลงานเพื่อนนักวิชาการดวยกัน

4. บทความที่เปนวรรณกรรมปริทัศน(literature review) เปนบทความ

ประเภทประมวลความรูในเรื่องหรือประเด็นใดประเด็นหนึ่ง

บทความที่มาจากงานวิจัยนับวามีความที่มีการนับคามากกวาบทความประเภทอื่นๆสําหรับการตีพิมพในวารสาร เพราะวาบทความประเภทนี้เปนการแสดงการเคลื่อนไหวของความรูใหมอยางชัดเจนซึ่งตรงกับวัตถุประสงคของวารสารวิชาการ

ลักษณะของบทความวิจัยมีอยู 2 อยางคือ1. บทความที่เขียนขึ้นกอนเริ่มตนการทําวิจัย หรือยังอยูระหวาง

การทําวิจัย

2. บทความที่เขียนขึ้นหลังจากทําวิจัยเสร็จแลวการตีพิมพบทความวิชาการ จะตองคัดเลือกวารสารที่เหมาะสม

กับเรื่องและสาขาวิชาที่วารสารนั้นถนัด

ขั้นตอนการตพีิมพบทความในวารสารบทความที่ตีพิมพในวารสารวิชาการ ผานการพิจารณาอยางนอย

2 ขั้นตอน คือ

1. บรรณาธิการ(editor) หรือกองบรรณาธิการ

จะทําหนาที่พิจารณาเบื้องตน ซึ่งเปนการพิจาณา

ภายนอก โดยดูที่บริบท (context) ของบทความ เชน

ความทันสมัย การนําไปใชประโยชนวงกวาง

รูปแบบการเขียน การอางอิง

2. peer reviewer เปนผูเชี่ยวชาญและมีความรูเฉพาะสาขาที่กองบรรณาธิการคัดเลือกขึ้นมาทําหนาที่พิจารณาทั้งหมด ซึ่งจะตองมีอยางนอย 2 คน ในขั้นตอนนี้จะเนนที่เนื้อหา ความถูกตองตามหลักวิชาการในสาขา

เกณฑระดบัวารสารวิชาการสายสังคมศาสตร

1.1. ระดบันานาชาติระดบันานาชาติ

1.1 บทความในวารสารตองตีพิมพเปนภาษาอังกฤษทั้งหมด

1.2 กองบรรณาธิการวารสารติองมีผูมีทรงคุณวุฒิจากภายนอกประเทศ

ไมนอยกวา 25%

1.3 ตองมบีทความที่ผูเขียนมาจากภายนอกประเทศไมนอยกวา 25%

ของจํานวนบทความทั้งหมด

1.4 บทความในวารสารวิชาการ ตองมีผูประเมินจากภายนอกประเทศไมนอยกวา 50%

ชื่อวารสารที่ผานเกณฑวารสารนานาชาติ ประกอบดวย 9 รายชื่อ ดงันี้

1. MANUSUYA: Journal of Humanities (ISSN:0859-9920)

2. Mon-Khmer Studies (ISSN:0147-55207)

3. PASAA (ISSN:0125-2488)

4. Prajna Vihara (ISSN:15136442)

5. Sasin Journal of Management (ISSN:0859-22659)

6. The Journal of the Siam Society (ISSN:0857-7099)

7. Journal of Population and Social Studies (ISSN:0857-717X)

8. Thammasat Review (ISSN:0859-5747)

9. Journal of Asian Review(ISSN:0125-3638)

2.2. วารสารวิชาการระดับชาติวารสารวิชาการระดับชาติ

มาตรฐานวารสารเบื้องตน

(Basic Journal Standard)

1. วารสารตองออกตรงเวลาและตอเนื่อง

2. วารสารตองตีพิมพไมนอยกวา 2 ฉบับตอป และ

ควรมี 16 บทความตอป

3. วารสารตองมีบทวิจารณหนังสือ และควร

ตีพิมพบทความปริทรรศนเปนครั้งคราว

4. บทความแต ละบทความต องมี บทคั ดย อ

ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

5. วารสารตองมีรูปแบบตนฉบับสม่ําเสมอ เชน

แสดงชื่อบทความ ชื่อผูแตง ตนสังกัด และ

รายการอางอิงที่มีรูปแบบเดียวกัน

6. บทความแตละบทความตองมผีูประเมนิไมนอยกวา 2 ทาน และควรเปนผูประเมนิจากภายนอกหนวยงานอยางนอย 1 ทาน

7. กําหนดใหมีการประเมนิคณุภาพวารสารทุก 2 ป

องคประกอบกองบรรณาธิการ(Editorial Content)

8. กองบรรณาธิการของวารสารวิชาการในประเทศตองมศีาสตราจารยหรือผูทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอกจากภายนอกสถาบันที่จัดพิมพวารสารนัน้ หรือผูทรงคุณวุฒทิีม่ผีลงานโดดเดนอยางตอเนื่องเปนที่ยอมรับในสาขาวิชานัน้ๆ

9. หัวหนากองบรรณาธิการหรือกองบรรณาธิการของวารสารมผีลงานวจิัยตีพิมพอยางตอเนื่อง

ความหลากหลายผูนิพนธและการอางอิง

(Contribution Diversity and Citations)

10. บทความที่ตีพมิพในวารสารวิชาการ

ตองมบีทความที่ผูเขียนมาจากสถาบัน

อื่นที่มิใชสถาบันที่จัดทําวารสารนั้นไม

นอยกวา 25 % ของจํานวนบทความ

ทั้งหมด

11. วารสารทีม่ีคา Journal Impact Factors

ใน 3 ปที่ผานมา

Common reasons why journals reject article

บทความที่จะไมไดรับการตีพิมพ มีลกัษณะ 10 ประการดังนี้1. too narrow or too broad ไมมีประโยชนกับ

ผูอาน ถาเปน narrow problem ก็ตอง relate to larger problems

2. off topic แตกตางจากหัวขอหลัก ไมเชื่อมตอกับปจจุบัน ไมตรงกับวารสารและไมอยูในความสนใจ บรรณาธิการวารสารสามารถไมตีพิมพไดเลย

3. not scholarly การไมเปนวิชาหรือไมถูกตองตามหลักวิชาการมีหลายลักษณะไดแก เรื่องหรือประเด็น เลอะเทอะ งายเกินไป ไมถูกตอง มคีวามผิดทั้งการหลักฐานและการอางอิงฯ

4. too defensive คือปองกันตัวเองมากเกินไป บทความวชิาการไมใชรายงานในชั้นเรียน ที่สงใหครูตรวจ ที่นักศึกษาจะตองทําการเพื่อปองกันตัวเองหลายอยาง เชน การใชการอางอิงมากเกินและอางอิงคนที่มีชื่อเสียงมากเกินไป ใชขอมูลบางอยางมากเกินไปเพื่อพยามแสดงวาไดอานมามาก เปนตน

5. not sufficient original บทความที่ไมสามารถนําไปสูการสรางความรูใหม “no knew knowledge” เราจะตองบอกกับผูที่อานบทความของเราอะไรคือความใหมในงานของเรา ไดแก หลักฐาน วิธีการศึกษา การวิเคราะห หรือทฤษฎี เนนใหเห็นอะไรคือความแตกตางในงานของเรา อะไรคือสิ่งที่นักวิชาการยังไมรู

6. poor structure, งานประเภทโครงสรางการเขียนที่ไมดี poor writing, poor organization เขียนแลวอานไมรูเรื่อง ประเภทไมชัดเจนวาจะสื่ออะไร การเขียนที่ดีจะตองมุงประเด็นใหชัดเจน ตัดสิ่งที่ไมเกี่ยวของออก

7. not significant งานวิจัยที่ไมสรางความแตกตางจากความรูที่มีอยูเดิมขอคนพบของงานก็ออน (weak finding)

8. theoretically or methodologically flawed งานวิจัยประเภทมรีะเบียบวิธีวิจัยไมถูกตอง เชน การออกแบบงานวิจัยผิด ขอแยงไมสอดคลองกับขอมูล การวิเคราะหหรือการตีความออน ทฤษฎทีี่นํามาใชไมเพียงพอ

9. too many misspelling and grammatical error งานประเภทเขียนแบบลวกๆ สุกเอาเผากิน มีความผิดทั้งการสะกดคํา และการใชไวยากรทางภาษา การสงบทความไปตีพิมพในวารสารจะตองผานการตรวจอยางดี

10. no argument งานวิจัยจํานวนมากถูกปฏิเสธเหตุผลสําคัญเพราะขาดสิ่งนี้ หรือไมไดเขียนเนนใหเห็นอยางชัดเจนไวตั้งแตตน การที่ไมมีสิ่งนี้แสดงวางานชิ้นนี้ บทความจะถูกพิจารณาเปนงานประเภท not original, not significant, disorganized หลังจากที่สราง argument เราจะตองเขียนบทความตามที่เราสรางขึ้น ตองจําไววา argument drive article not data drive article, organizing your article around your argument.

How to make good argument?

What is an argument ?What is an argument ?

คือวาทกรรม(discourse) ที่เขียนขึ้นเพื่อตองการเสนอความคิดใหเกิดขอ

สงสัย และนําเสนอขอมูลเพื่อแกขอสงสัยนั้น

คือความพยายามที่จะชักชวนใหผูอานเชื่อในบางสิ่งบางอยาง ที่มคีวามสําคัญ

สมมุตฐิานก็จะอยูในฐานะที่เปนสวนของ argument ดวย

argument จะมีองคประกอบอยางนอยอยู 2 สวนคือ a claim and evidence

for the claim สิ่งที่อางขึ้นและขอมูลที่สนับสนุน หรือที่เรียกวาสิ่งที่จะมา

พิสูจน

การสราง argument ตองมาจากการสํารวจความรูที่ดพีอ

การเขียนมักจะเปนวา งานวิจัยชิ้นนี้ตองการโตแยง หรือ

ตองการจะสรางขอถกเถียงในประเด็น ( In this article,

I argue that…) นอกจากนี้ตองแสดงหลักฐาน

(evidence)ตามที่เราสรางขอโตแยง หรือขอถกเถียงที่

สรางขึ้นดวย

วิธีการเขียน

ลักษณะของบทความวิจัย

1. จะตองเปนบทความที่ลดรูปหรอืนํางานวิจัยมาเขียนใหม 2. ตองมี major argument ที่ชัดเจนโดยนําประเด็นที่เดนที่สุดใน

งานวิจัยมาเขียนเพียง 1 หรือ 2 ประเด็น ดังนั้นจะตองปรับชื่อเรือ่งและเนื้อหาใหมีความสอดคลองกับบทความที่เขียนขึ้นใหม ขณะที่เนื้อหาในบทความตองมีความสมบูรณในแบบมาตรฐานของงานวิชาการ

3. บทความวิจัยไมใชสรุปยองานวิจัย

4. ตองมีความสําคัญเพียงพอในสาขาความรู 5. การเขียนจะตองกะทัดรดั ตรงประเด็น บอกกระบวนการ มีสาระที่

ชัดเจน มีระบบอางอิงที่ถูกตอง ขอมูลตามหลักวิชาที่ถูกตอง

บทความบทความ

วิจารณวิจารณ

หนังสือหรือหนังสือหรือ

งานวิจัยงานวิจัย

1ตองเปนอารยะวิจารณ

2เสนอความเห็นที่ตรงไปตรงมา ไมใชเกรงใจ ไมกลาแสดงความคิดเห็น

3ไมใชแคเพียงยอหนังสือแตเปนการวิจารณทั้งขอดีและขอดอยของงาน

ผูวิจารณควรมีลักษณะดังนี้

4ผูวิจารณตองมีความรูในเรื่องที่ตนจะวิจารณอยางดี

และบางครั้งตองมีการคนควาเพื่อทาํหนาที่นัก

วิจารณที่ดี

เรื่องสําคญัในการทํา Book Review

1. Argument ที่หยิบยกขึ้นมาเปนประเด็นปญหาหรือคําถามในการวิจัยนาสนใจ มีประโยชน มีความสําคัญหรือไม มีหลักฐานที่นํามาสนับสนุนเพียงพอหรือไม ตองดูวาArgument มีความชัดเจนเพียงพอและมีความซับซอนในการวิจัยเพื่อหาความรูเพียงพอ ตองวิเคราะหวาคําถามหรือปญหาในการวิจัยมาจากทฤษฎีหรือเปนเพียงแคปรากฏการณในสังคมเทานั้น คําถามที่ดีตองเชื่อมโยงระหวางปรากฏการณกับทฤษฎีใหได คําถามการวิจัยเปนเรื่องสําคัญมาก และเปนจุดเริ่มตนในขบวนการวิจัยทั้งหมด วิเคราะหวาวัตถุประสงคของเรื่องสอดคลองกับปญหาหรือคําถามในการวิจัยที่ตั้งไวหรือไม

2. กรอบแนวคิดที่ใช มาจากพื้นฐานการสํารวจวรรณกรรมทั้งทางดานความคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่ผานมา อยางรอบดานหรือไม กรอบคิดที่นํามาใชนั้นเหมาะสมกับประเด็นปญหาที่ตั้งไวในการวิจัยหรือไม กรอบคิดนั้นเปนทิศทางของการทํางาน หากวางผิดทิศแลวก็เหมือนเดินทางผิด ในการทําวิจัยผูวิจัยตองใชเวลาและความละเอียดรอบครอบในการสรางกรอบคิด ความคมชัดในกรอบคิดจะชวยการทําวิจัยใหไดดี

วิธีการศึกษาความเหมาะสมของวิธีการศึกษา ผูวิจัยใชวิธีการศึกษาแบบไหนวิ ธีการที่สรางหรือนํามาใชนั้นสามารถนําไปสูการแสวงหาขอมูลเพื่อตอบคําถามการวิจัยไดหรือไม กลุมตัวอยางหรือประชากรที่เ ลือกใชนั้นมีความเหมาะสมนําไปสูการตอบคําถามการวิจัยไดจริง

ก ารวิ เ คร าะห และตี คว ามขอมูล คือ ความสามารถในการนํ าขอมูลที่หามาไดมาวิเคราะห ไดแกทําการจัดใหเปนระบบ หาความหมาย แยกแยะองคประกอบรวมทั้งเ ชื่อมโยงหาความ สัมพันธของขอมูล และอธิบายการเกิดขึ้น การดํารงอยูและการเปลี่ยนแปลง ขั้นตอนนี้ตองมีการนําทฤษฎีและงานวิจัยที่ผานมามาชวยในการอธิบาย

ผลการวิจัยที่ศึกษาออกมาสามารถตอบคําถามการวิจัยไดหรือไม เรื่ องที่ คนพบมีค ว า ม น า ส น ใ จ แ ล ะ มีความสําคัญอยางไร งานบางชิ้นอาจจะไมสามารถตอบถามการวิจัยที่ตองการได และไมไดคนพบอะไรที่สําคัญเลย จนบางครั้งอาจกลาวไดวาเปนงานไมมีคุณคา การคนพบในการวิจัยทําใหงานมีคุณคา

3 4 5

6.งานวิจัยมีความนาเชื่อถือหรือไม ซึ่งมาจากการใชหลักฐานและทฤษฎีที่นํามาใชในการตีความหลักฐาน งานวิชาการที่ดีตองมาจาการใชหลักฐานและทฤษฏีที่ เชื่อถือได ความสัมพันธที่เปนเหตุเปนผลระหวางหลักฐานกับทฤษฎีมีความสัมพันธอยางเปนเหตุเปนผลมากนอยแคไหน งานบางชิ้นอาจมาจากหลักฐานที่ไมจริงหรือหลักฐานที่ไมรอบดานพอ ผูอานจะตองประเมินสิ่งเหลานี้ใหได หรือการใชทฤษฎีที่ไมตรงกับเรื่องจึงไมอาจนําไปสูการตีความหลักฐานไดอยางเพียงพอ จึงทําใหงานขาดความคมชัด

7.ประโยชนจากการอานงานวิจัย และขอเสนอแนะที่งานวิจัยมอบใหแกผูอานดีหรือไม ดังที่กลาวไวตั้งแตตนวาการทําวิจัยคือการตอยอดความรู ดังนั้นประโยชนในการอานงานวิจัยควรมีมากกวาเนื้อหาเฉพาะเรื่องเทานั้น แตตองเปนองคความรูที่จะนําไปอธิบายเรื่องอื่นๆในทํานองเดียวกันไดดวย

Criteria for Critiquing a Research Report

from Leddy&Ormrod J,E.(2005) . Practial Research :

Planning and design .8 th ed Pearson Merrill Prentice

Hall. ,298-300.Step.1 The Problem

• --- Is the problem clearly and concisely started?

• --- Is the problem adequately narrowed down into a

research problem ?

• --- Is the problem significant enough to warrant a

formal research effort?

• --- Is the relationship between the indentified

problem and previous

• --- Research clearly described?

Step.2 Literature review

• --- Is the literature review

logically organized?

• --- Does the review provide a

critique of the relevant studies?

• --- Are gaps in knowledge about

the research problem

indentified?

• --- Are important relevant

references included?

Step.3 Theoretical or Conceptual

Framework

• --- Is the theoretical

framework easily linked with

the problem

(or does it seem forced)?

• --- If a conceptual framework

is used, are the concepts

adequately defined , and are

the relationships among these

concepts clearly indentified?

Step.4 Research Variables

• --- Are the independent and dependent variables operationally defined?

• --- Are any confounding variables? If so , are they indentified?

Step.5 Hypotheses

• --- Are the hypotheses clear , testable , and specific?

Does each hypothesis describe a predicted relationship between two or more

variables included in each hypothesis?

• --- Do the hypotheses logically flow from the theoretical or conceptual

framework ?

Step.6 Sampling

• --- Is the sample size adequate?

• --- Is the sample representative of the defined population?

• --- Is the method for selection of the sample appropriate ?

• --- Is any sampling bias in the chosen method

acknowledged?

• --- Are the criteria for selecting the sample clearly

indentified?

Step.7 Research Design

• --- Is the research design adequately described?

• --- Is the design appropriate for the research problem?

Does the research design address issues related to the

internal and

• --- external validity of the study?

Step.8 Data Collection

Methods

• --- Are the data collection

methods appropriate for the

study?

• --- Are the data collection

instruments described

adequately?

• --- Do the measurement tools

have reasonable validity and

reliability?

Step.9 Data Analysis

• --- Is the results collection clearly and logically organized?

• --- Is the type of analysis appropriate for the level of measurement for each variable?

• --- Are the tables and figures clear and understandable?

• --- Is the statistical test the correct one for answering the research question?

Step.10 Interpretation and Discussion of the findings

• --- Does the investigator clearly distinguish between actual findings and interpretations?

• --- Are the interpretation based on the data obtained?

• --- Are the findings discussed in relation to previous research and to the conceptual /theoretical framework?

• --- Are the generalizations warranted and defended?

• --- Are the limitations for future results identified?

• --- Are recommendations for future research identified?

• --- Are the conclusions justified?

บทความวรรณกรรมปริทัศน

• คือการสํารวจงานวิจัยที่มีอยูแลว • คือบทความที่แสดงการเคลื่อนไหว ความเปนมา เปนไป และชี้แนว

ทางการทําวิจัยที่ควรจะเกิดขึ้น

• คือการประเมินสถานะความรูที่ผานมา

• คือการใหขอมูลแกผูอาน ถกเถียง ตีความ อภิปราย ชี้แนวทาง ใหขอเสนอแนะ บอกทางบวก ทางลบ

• การทําวรรณกรรมปริทัศนตองมาจากการอานทั้งเลมไมใชการอานเฉพาะ

บทคดัยอหรือบทนําและบทสรุปเทานั้น

ความสําคัญบทความปรทิัศน1. ทําใหเกิดการประมวลความรู สถานะและความ

กาวของสาขาวิชาการ

2. ผูที่ทํางานวิชาการไดรับความรู และไดรับการยอมรับจากผูรวมสาขาวิชาหรือประชาคมนักวิชาการ

3. ทําใหเห็นจุดแข็ง จุดออน ของสาขาวิชา นําไปสูการพัฒนาสาขาวชิา

4. ทําใหเห็นประเด็นที่เปนปญหาทีจ่ะนําไปใชทําการวิจัยตอไปได

5. เปนสวนหนึ่งของการเรียน การสอนวิจัย

6. ทําใหเกิดการ organization body of knowledge รวมประเดน็ ปญหาของสาขาวิชา

7. ทําใหเกิดการสราง argument มีการพัฒนา และยกระดับความรู

The End

top related