08-es_somchai

Post on 03-Oct-2014

98 Views

Category:

Documents

5 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

การกระตุนดวยกระแสไฟฟา ในผูปวยทางระบบประสาท

ภาควิชากายภาพบําบัดคณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน

รศ.สมชาย รัตนทองคาํ

Electical Stimulati

ประเด็นวันนี้ ทบทวนสรีรวิทยาของกลามเนื้อและประสาท กลไกการกระตุนฯ กระตุนอยางไร ประโยชนที่ได อภิปรายรวมกัน

Resting membrane potential

Action potential

Action potential

propagation

Sensory-Motor P’way

Neuromuscular Junction

Electrical stimulation

Sub-threshold/threshold/supra-threshold

Electical Stimulati

1. กระแสไฟตรง2. กระแสไฟสลับ

กระแสไฟฟาที่ใชกระตุน

Electical Stimulati

พื้นฐานกระแสไฟฟาที่ใชกระตุน ความแรง, ความเขม (intensity) ชวงกระตุน (pulse duration) ชวงพัก (pause duration) ความถี่ (frequency) ลักษณะคลื่น (wave form) การปลอยกระแส (pattern)

Wave form / Rate of change

ความเขม

ชวงกระตุนa d

b c

a

b, c

d

Strength Duration (SD) curve

Strength Duration (SD) curve

Frequency of stimulus

Electical Stimulati

พื้นฐานกระแสไฟฟาที่ใชกระตุน ความแรง, ความเขม (intensity) ชวงกระตุน (pulse duration) ชวงพัก (pause duration) ความถี่ (frequency) ลักษณะคลื่น (wave form) จังหวะปลอยกระแส (pattern)

Electical Stimulati

กระแส/เครื่องกระตุนฯ ทีใ่ชในปจจุบันGalvanic Current (DC, True DC)IDC (Interrupted Direct Current)Diady (Diadynamic Current)TENS (Transcutaneous Electrical Nerve Stimulation)

High Voltage (High Voltage Galvanic Current)IFC (Interferential Current)etc ...

Electical Stimulati

กระแส/เครื่องกระตุนฯ ทีใ่ชในปจจุบัน

Electical Stimulati

อุปกรณพืน้ฐานที่ใชสาํหรับการกระตุน เครือ่งกระตุนกลามเนื้อ สายไฟนํากระแสไฟฟา ขั้วกระตุน: active, dispersive electrode ขัว้กระตุน: โลหะ, ยางสังเคราะห,สําเร็จรูป สารหรือตัวนําไฟฟา

Electical Stimulati

Role of Electrical Stimulation

Strength training (NMES)Endurance trainingFunctional Electrical Stimulation (FES)Management of SpasticityMuscle re-educationDelay denervated musclePain relieveTissue healingIontophoresis

Electical Stimulati

ชะลอการลบีของกลามเนื้อ แนวคิด

กระแสไฟฟาทําใหเกิดการตอบสนองตอ excitability tissue (กลามเนื้อ และเสนประสาท)

วิธีการกระตุนกลามเนื้อ (partial

denervated m) ใหหดตัวเพื่อชะลอการลีบ, improve circulation

Electical Stimulati

ชะลอการลบีของกลามเนื้อ กระแส/เทคนคิที่ใช

IDC ที่มีชวงกระตุนที่เหมาะสม, triangular

ทํา SD curvebipolar technique

การนําไปใชpartial nerve injury: facial palsymuscle re-learning: tendon transplantation

Electical Stimulati

ฝกความแข็งแรง/ทนทาน (NMES)

แนวคิดกระแสไฟฟาทําใหเกิดการตอบสนองตอ excitability tissue (กลามเนื้อ และเสนประสาท)max-contraction improve strength

วิธีการกระตุนกลามเนื้อ ใหหดตัว maximum tetanic contraction

PRE technique

Electical Stimulati

กระแส/เทคนิคที่ใชFaradic, HVGC, IFC

maximum contraction

bipolar technique

การนาํไปใชimprove strength, maintain ROM,

correct contracture, spastic management, correct scoliosis

ฝกความแข็งแรงทนทาน (NMES)

Electical Stimulati

กระตุนกลามเนื้อใหทํางาน (FES) แนวคิด

กระแสไฟฟาทําใหเกิดการตอบสนองตอ excitability tissue (กลามเนื้อ และเสนประสาท)stimulated paralysis muscle

วิธีการกระตุนกลามเนื้อใหหดตัว tetanic

contraction เพื่อใหเกิด normal function

Electical Stimulati

กระแส/เทคนิคที่ใชIDC ที่เหมาะสม ฝงขั้วกระตุน, ติดขั้วกระตุนแบบพิเศษ,หลายชุดควบคุมการทํางานระยะไกล

การนาํไปใชfoot drop (electrical brace), spinal

cord injury

กระตุนกลามเนื้อใหทํางาน (FES)

Electical Stimulati

การระงับอาการปวด แนวคิด

ใยประสาทเสนใหญนําไฟฟาไดเร็วกวา (Gate Control Theory)

กระแสไฟฟาสามารถกระตุนใหหลั่ง endorphin

กระแสไฟฟาสามารถชวยเพิ่ม circulation & healing

วิธีการกระตุนเสนประสาท ไมมีการหดตัวของกลามเนื้อ

Electical Stimulati

กระแส/เทคนิคที่ใชTENS, HVGC, IFC, Diadynamic

วางขั้วที่จุดฝงเข็ม, จุดเจ็บปรับกระแสใหพอรูสึก

การนาํไปใชระงับปวด

การระงับอาการปวด

Electical Stimulati

การซอมแซมเนื้อเยื่อ แนวคิด

ขั้วลบมีผลตอการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคขั้วบวกเกิดการกระตุนใหเกิดการเคลื่อนที่ของเซลลทีซ่อมแซมฯ เกิดความสมดุลของศักยไฟฟาบริเวณแผล

วิธีการกระตุนบริเวณแผลเรื้อรัง

Electical Stimulati

กระแส/เทคนิคที่ใชDC, IDC, HVGC

ปรับกระแสใหนอยที่สุด การนาํไปใช

แผลเรื้อรังตางๆปจจุบันไมคอยใชแลวเพราะมีวิธีอื่นที่ดีกวา

การซอมแซมเนื้อเยื่อ

Electical Stimulati

การผลกัดันตัวยาผานผิวหนังแนวคิด

ขั้วไฟฟามีประจุบวก, ลบ,ประจุไฟฟาเหมือนกนัผลักกัน

วิธีการใชไฟฟาผลักดันไอออนในสารละลายผานผิวหนัง

Electical Stimulati

การผลกัดันตัวยาผานผิวหนัง กระแส/เทคนคิที่ใช

DC ปริมาณนอย พอทนไอออนลบวางใตขั้วลบ, ไอออนบวกไวใตขั้วบวกแชตัวในสารละลาย แลวจุมขั้วไฟฟา

การนําไปใชDentistry: เปนแผลในชองปากENT: serous otitis media

Cosmetic ?

top related