โครงงานคอม

Post on 06-Dec-2014

465 Views

Category:

Design

4 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

โครงงาน

เรือ่ง ค าบาล-ีสนัสกฤต

จดัท าโดย

นาย ธนพล วรรณชัย เลขที ่3

นาย ภูมพิัฒน์ สาธิตคุณ เลขที่ 19

ชั้นม.6/7

Home

หน้าหลัก

Back Next

ที่มาและความส าคญั

วัตถุประสงค์

ขอบขา่ยโครงงาน

แผนการด าเนนิงาน

ตารางการท างาน

ค าบาล ี

ค าสนัสกฤต

แหล่งขอ้มูล

ตารางเทยีบบาลี-สนัสกฤต

ชือ่โครงงาน : สื่อการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย เรือ่ง ค าบาลี-สันสกฤต

ชือ่โครงงาน : Instruction media : Pali-Sanskrit Words

ประเภทโครงงาน: โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการการศึกษา

ชือ่ผู้ท าโครงงาน 1. นาย ธนพล วรรณชัย

2. นาย ภูมิพัฒน ์ สาธิตคุณ

ชือ่ที่ปรกึษา: ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ ์

ระยะเวลาด าเนนิงาน: 17 สัปดาห ์

Back Next Home

ที่มาและความส าคัญของโครงงาน

เป็นผลมาจากในอดีตท่ีประเทศของเราได้มีความสัมพันธ์กับชาตอิื่นในรูปแบบต่างๆ

เช่น การคา้ การทูต การเผยแผ่ศาสนา หรือสงคราม ความสัมพันธ์เหล่าน้ีท าให้เกิดการ

กลมกลืนทางวัฒนธรรม ภาษาก็เช่นกัน มกีารน าค าจากภาษาอื่นมาใช้ในชีวิตประจ าวัน

การท ากจิกรรมต่างๆ โดยเราน าค าจากภาษาบาลี-สันสกฤตมาใชม้ากที่สุด ซึง่ทั้งสอง

ภาษามีความคล้ายคลึงกันมากจนท าใหห้ลายคนแยกไม่ออก ผู้จดัท าเห็นปัญหาน้ีจึงได ้

จัดท าโครงงานพัฒนาการสอนเรื่องนี้ในรูปแบบของ Power point ซึ่งจะท าให้มคีวาม

น่าสนใจยิ่งขึ้น

Home Back Next

วัตถุประสงค ์

• เพื่อน าเสนอความรู้ในเรื่องค าบาลี-สันสกฤต ให้มีความน่าสนใจ

• เพื่อน าความรู้ที่ได้น าไปปรับใช้ในชีวิตประจ าวัน

Back Next Home

ขอบเขตของโครงงาน

เป็นสื่อการเรียนการสอนส าหรับผู้ท่ีศึกษาในระดับมัธยมศึกษาและที่สนใจท่ัวไป

Back Next Home

แผนการด าเนินงาน

1. คิดหัวข้อโครงงาน

2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

3. จัดท าโครงร่างงาน

4. ปฏิบัติการสร้างโครงงานโดยจัดท าเป็นสื่อการสอนอย่างง่าย

5. ปรับปรุงทดสอบ

6. การท าเอกสารรายงาน

7. ประเมินผลงาน

8. น าเสนอโครงงาน

Home Back Next

ขั้นตอนและแผนด าเนินงาน ล าดับ ขั้นตอน สัปดาห์ที ่ ผู้รับผิดชอบ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

1 คิดหัวข้อโครงงาน / ทุกคน

2 ศึกษาค้นคว้าข้อมูล / / / ทุกคน

3 จัดท าโครงร่างงาน / / ทุกคน

4 ท าโครงงาน / / / / ทุกคน

5 ปรับปรุงทดสอบ / / ทุกคน

6 ท าเอกสารรายงาน / / / ทุกคน

7 ประเมินผลงาน / ทุกคน

8 น าเสนอโครงงาน / ทุกคน

Home Back Next

วิธีสังเกตค าบาลี

• สังเกตจากพยญัชนะตัวสะกดและตวัตาม

ตัวสะกด คอื พยญัชนะที่ประกอบอยู่ขา้งทา้ยสระประสมกบัสระและพยญัชนะตน้

เชน่ ทกุข ์= ตัวสะกด

ตัวตาม คอื ตัวทีต่ามหลังตวัสะกด เชน่ สัตย สัจจ ทุกข เปน็ตน้

ค าในภาษาบาลีจะตอ้งมสีะกดและตัวตามเสมอ โดยดจูากพยญัชนะบาลี มี 33 ตัว

แบง่ออกเปน็วรรคดังนี้

Back Next Home

แถวที ่ 1 2 3 4 5

วรรค กะ ก ข ค ฆ ง

วรรค จะ จ ฉ ช ฌ ญ

วรรค ฏะ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ

วรรค ตะ ต ถ ท ธ น

วรรค ปะ ป ผ พ ถ ม

เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ

Back Next Home

มีหลักสงัเกต ดังนี ้

• ก. พยญัชนะตวัที่ 1, 3, 5 เป็นตัวสะกดไดเ้ทา่นัน้ (ตอ้งอยู่ในวรรคเดียวกนั)

• ข. ถา้พยญัชนะตวัที่ 1 สะกด ตัวที่ 1 หรอืตวัที่ 2 เป็นตวัตามได ้เชน่ สักกะ ทกุข สจัจ

ปัจฉิม สตัต หัตถ บุปผา เปน็ตน้

• ค. ถา้พยญัชนะตัวที่ 3 สะกด ตวัที ่3 หรอื 4 เป็นตวัตามได้ในวรรคเดยีวกนั เชน่

อคัค ี พยคัฆ ์ วชิชา อชัฌา พุทธ คพภ (ครรภ)์

• ง. ถ้าพยญัชนะตวัที่ 5 สะกด ทุกตวัในวรรคเดยีวกนัตามได ้เชน่ องค์ สงัข ์องค ์สงฆ ์

สัมปทาน สัมผัส สัมพันธ ์ สมภาร เป็นตน้

• จ. พยญัชนะบาลี ตัวสะกดตัวตามจะอยูใ่นวรรคเดียวกนัเทา่นัน้จะข้ามไปวรรคอืน่ไมไ่ด้

Back Next Home

วิธีสังเกตค าบาลี • สังเกตจากพยญัชนะ “ฬ” จะมีใช้ในภาษาบาลีในไทยเทา่นัน้ เชน่ จฬุา ครฬุ

อาสาฬห ์วิฬาร ์โอฬาร ์พาฬ เปน็ตน้

• สังเกตจากตัวตามในภาษาบาลี

จะมาเป็นตวัสะกดในภาษาไทยโดยเฉพาะวรรค ฎ และวรรคอืน่ ๆ บางตวั จะตัดตวัสะกดออก

เหลือแต่ตวัตามเมือ่น ามาใช้ในภาษาไทย เชน่

บาล ี ไทย บาล ี ไทย

รัฎฐ รฐั อฎัฐ ิ อฐั ิ

ทิฎฐิ ทฐิ ิ วัฑฒนะ วฒันะ

ปุญญ บญุ วิชชา วชิ

Back Next Home

วิธีสังเกตค าสันสกฤต มดีังนี ้

• พยัญชนะสนัสกฤต

มี 35 ตัว คือ พยัญชนะบาลี 33 ตัว + 2 ตัว คือ ศ, ษ ฉะนั้น

จึงสังเกตจากตัว ศ, ษ มักจะเป็นภาษาสันสกฤต

• ไมม่หีลักการสะกดแนน่อน

ภาษาสันสกฤต ตัวสะกดตัวตามจะอยู่ข้ามวรรคกนัได้ ไม่ก าหนด

ตายตัวเช่น อัปสร เกษตร ปรัชญา อักษร เป็นต้น

Back Next Home

วิธีสังเกตค าสันสกฤต • สงัเกตจากสระ

สระในภาษาสันสกฤต คือ สระภาษาบาล ี 8 ตัว + เพิ่มอีก 6 ตัว

คือ สระ ฤ ฤา ภ ภา ไอ เอา

ถ้ามีสระเหล่าน้ีอยู่และสะกดไม่ตรงตามมาตราจะเป็นภาษาสันสกฤต

เช่น ตฤณมัย ไอศวรรย์ เสาร ์ ไปรษณีย์ ฤๅษ ี คฤหาสน์ เป็นต้น

• สงัเกตจากพยญัชนะควบกล้ า ภาษาสันสกฤตมักจะมีค าควบกล้ า

ข้างท้าย เช่นจกัร อัคร บุตร สตร ี ศาสตร์ อาทิตย์ จันทร์ เป็นต้น

Back Next Home

วิธีสังเกตค าสันสกฤต • สงัเกตจากค าทีม่คี าว่า “เคราะห”์ มักจะเป็นภาษาสันสกฤต เช่น

เคราะห์ พิเคราะห์สังเคราะห ์ อนุเคราะห ์ เป็นต้น

• สงัเกตจากค าทีม่ี “ฑ”อยู่ เช่น จุฑา กรีฑา ครุฑ มณเทียร จณัฑาล เป็นต้น

• สงัเกตจากค าทีม่ี “รร”อยู่ เช่น สรรค ์ ธรรม ์ วรรณ บรรพต ภรรยา

บรรณารักษ์ มรรยาท กรรม ทรรศนะ สรรพ เป็นต้น

Back Next Home

ตารางเปรียบเทียบภาษาบาลี – สันสกฤต ภาษาบาล ี ภาษาสนัสกฤต

1. สระม ี8 ตวั คอื อะ อา อ ิอ ีอ ุอ ูเอ โอ 1. สระม ี14 ตวัเพิม่จากบาล ี6 ตวั

คอื ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไอ เอา

2. มพียญัชนะ 33 ตวั(พยญัชนะวรรค) 2. มพียญัชนะ 35 ตวั เพิ่มจากภาษา

บาล ี2 ตวั คอื ศ ษ

3. มตีวัสะกดตวัตาม

แนน่อน เชน่ กญัญา จกัข ุ

คมัภรี ์เปน็ตน้

3. มตีวัสะกดและตวัตามไม่

แนน่อน เชน่ กนัยา จกัษ ุทกัษณิ เปน็ตน้

4. นิยมใช ้ฬ เชน่ กฬีา จฬุา ครฬุ 4. นิยมใช ้ฑ เชน่ กรฑีา จฑุา ครฑุ

Next Back Home

ตารางเปรียบเทียบภาษาบาลี – สันสกฤต ภาษาบาล ี ภาษาสนัสกฤต

5. ไมน่ิยมควบกล้ าและอกัษรน า

เชน่ ปฐม มจัฉา สาม ี ฐาน เปม เปน็

ตน้

5. นิยมควบกล้ าและอกัษรน า เชน่ ประถม

มตัสยา สวาม ี เปรม กรยิา เปน็ตน้

6. นิยม

ใช ้"ร"ิ เชน่ ภรยิา จรยิา อจัฉรยิะ เปน็ตน้

6. นิยมใช ้รร เชน่ ภรรยา จรรยา อศัจรรย ์เป็น

ตน้

7. นิยมใช ้ณ น าหน้าวรรค

ฏะ เชน่ มณฑล ภณัฑ ์

หรอื ณ น าหนา้ ห เชน่ กณัหา ตณัหา

7. นิยม "เคราะห"์ เชน่ วิเคราะห ์สงัเคราะห ์อ

นุเคราะห ์

เปน็ตน้

Back Next Home

แหล่งข้อมูล

• http://archive.wunjun.com/thailpru/2/320.html

• http://www.oknation.net/blog/Duplex/2009/03/26/entry-2

• www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/20038-00/‎

Home

top related