ประชากรและการคัดเลือก...

Post on 06-Nov-2020

0 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

บทที ่4

ประชากรและการคดัเลอืกกลุม่ตวัอยา่ง

ประชากร (Population) คือ ส่วนทัง้หมดของทุกหน่วยซ่ึงเป็นไปตามเง่ือนไขท่ีต้องการศึกษา

กลุ่มตวัอย่าง (Sample) คือ ส่วนหน่ึงของประชากรท่ีถกูสุ่มหรือเลือกขึ้นมาใช้ในการศึกษาแทนประชากร เพ่ือน าผลสรปุจากหลกัฐานเชิงตวัเลขไปบรรยายลกัษณะของส่ิงท่ีท าการศึกษาหรือสรปุอ้างอิงถึงลกัษณะประชากร

การเลือกกลุ่มตวัอย่าง

• การเลือกกลุ่มตวัอย่างโดยอาศยัหลกัความน่าจะเป็น เป็นการเลือกกลุ่มตวัอย่างแต่ละหน่วยมาศึกษาโดย

กลุ่มตวัอย่างมีโอกาสได้รบัเลือกในการวิจยัเท่ากนั • การเลือกกลุ่มตวัอย่างโดยไม่อาศยัหลกัความน่าจะเป็น เป็นการเลือกกลุ่มตวัอย่างข้ึนมาศึกษาแบบเจาะจง

ตามความต้องการของผู้วิจยั

เหตผุลการสุ่มกลุ่มตวัอย่าง

1. ประชากรขนาดใหญ่ ยากท่ีจะเกบ็รวบรวมข้อมูลข้อมูลจากทุกหน่วยประชากร

2. ประหยดัเวลา ค่าใช้จ่าย และงบประมาณ 3. ท าให้นักวิจยัได้ผลทนัเวลา 4. ท าให้ได้ผลท่ีมีความแม่นย า เช่ือถือได้ ถ้า

สุ่มตวัอย่างโดยมีหลกัการ

ลกัษณะของกลุ่มตวัอย่างท่ีดี

1. เป็นตวัแทนท่ีดี (representative) 2. ได้ตวัอย่างท่ีมีการกระจายเหมือน

ประชากร 3. ตวัอย่างควรมีขนาดใหญ่พอ

(large sample)

ล าดบัขัน้การสุ่มตวัอย่าง 1. ศึกษาปัญหาการวิจยัให้ละเอียดรอบคอบ 2. ศึกษาจดุมุ่งหมายของการวิจยัให้ชดัเจน 3. ให้นิยามประชากรและกลุ่มตวัอย่างท่ีต้องการ 4. ก าหนดหน่วยการสุ่ม (sampling unit) ว่าจะสุ่มจากอะไร 5. จดัท าบญัชีหน่วยการสุ่มแต่ละหน่วยให้ครอบคลมุประชากร 6. ก าหนดขนาดกลุ่มตวัอย่าง (sample size) 7. วางแผนการสุ่ม (sampling plan) ว่าจะสุ่มอย่างไรและวิธีใด 8. ด าเนินการสุ่มตวัอย่างตามวิธีการสุ่มและแผนการสุ่ม

การเลือกกลุ่มตวัอย่าง

การเลือกกลุ่มตวัอย่างแบบไม่ทราบค่าความน่าจะเป็น 1. การเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) 2. การเลือกแบบโควต้า (quota sampling) 3. การเลือกแบบสโนวบ์อลล ์(snowball sampling) 4. การเลือกแบบบงัเอิญ (accidental sampling) 5. การเลือกแบบอาสาสมคัร (volunteer sampling)

การเลือกกลุ่มตวัอย่าง

การเลือกกลุ่มตวัอย่างโดยอาศยัหลกัความน่าจะเป็น 1.การสุ่มอย่างง่าย (simple random sampling)

1.1 การจบัสลาก 1.2 การใช้ตารางเลขสุ่ม ข้อดี ง่าย ไม่ซบัซ้อน ข้อเสีย ไม่เหมาะกบัประชากรท่ีแต่ละหน่วยแตกต่าง

กนัมาก ต้องใช้ตวัอย่างขนาดใหญ่เพ่ือลด ความคลาดเคล่ือน ค่าใช้จ่ายสงู กรณีท่ี ตวัอย่างอยู่กระจดักระจาย

การเลือกกลุ่มตวัอย่าง การเลือกกลุ่มตวัอย่างโดยอาศยัหลกัความน่าจะเป็น

2. การสุ่มแบบมีระบบ (systematic random sampling) K = N N คือ ขนาดประชากร n n คือ ขนาดกลุ่มตวัอย่าง เช่น สุ่มคร ู100 คน จากคร ู1,000 คน เป็นการสุ่ม 1 คน จากทุก 10 คน เร่ิม

โดยให้หมายเลข 1-1,000 แก่ครทูุกคน ค านวณค่าตามสูตร ซ่ึงเท่ากบั 10 แล้วจึงท าการสุ่มครคูนแรกจากหมายเลข 1-10 สมมติได้หมายเลข 6 หมายเลขต่อไปจะเป็นครหูมายเลข 16, 26,36…

ข้อดี ง่าย รวดเรว็ ท าได้แม้ไม่มีกรอบตวัอย่าง ข้อเสีย ต้องมีรายช่ือกลุ่มตวัอย่างแน่นอน

การเลือกกลุ่มตวัอย่าง

การเลือกกลุ่มตวัอย่างโดยอาศยัหลกัความน่าจะเป็น 3. การสุ่มแบบแบง่ชัน้ (stratified random sampling) แยกประชากรออกเป็นชัน้ (Strata) ให้ทุกหน่วยในชัน้เดียวกนั

ใกล้เคียงกนัมากท่ีสุด และแตกต่างระหว่างชัน้มากท่ีสุด จากนัน้สุ่มแต่ละหน่วยจากแต่ละชัน้โดยวีการสุ่มอย่างง่ายตามสดัส่วน

ข้อดี ได้ตวัอย่างจากทุกชัน้ เป็นตวัอย่างท่ีใกล้เคียงประชากร ข้อเสีย ต้องระมดัระวงัเร่ืองเกณฑก์ารแบ่งชัน้ ถ้าชัน้มากเกินไปก็

ยุ่งยาก

stratified random sampling Population

Sample

Stratification

Stratum 1 Stratum 2 Stratum 3 Stratum 4

การเลือกกลุ่มตวัอย่าง

การเลือกกลุ่มตวัอย่างโดยอาศยัหลกัความน่าจะเป็น 4. การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (cluster random sampling) ประชากรมีหลายกลุ่ม แต่ละกลุ่มมีความคล้ายกนั แต่ละกลุ่มมี

ลกัษณะเช่นเดียวกบัประชากร โดยหน่วยภายในกลุ่มมีความหลากหลาย และระหว่างกลุ่มมีความคล้ายกนั จึงไม่จ าเป็นต้องสุ่มทุกกลุ่ม เช่น แบ่งตามภาค จงัหวดั ต าบล

ข้อดี ใช้ได้เม่ือมีกรอบตวัอย่าง ประหยดัเวลา แรงงาน ค่าใช้จ่าย ข้อเสีย ยุ่งยากในการประมาณค่า

การเลือกกลุ่มตวัอย่าง

การเลือกกลุ่มตวัอย่างโดยอาศยัหลกัความน่าจะเป็น 5. การสุ่มหลายขัน้ตอน (multi-stage random sampling) มีการสุ่มมากกว่า 1 ครัง้ เช่น สุ่มภาค สุ่มจงัหวดั สุ่ม

อ าเภอ สุ่มต าบล เป็นต้น ข้อดี ใช้ได้เม่ือไม่มีกรอบตวัอย่าง ประหยดัเวลา แรงงาน

ค่าใช้จ่าย มีระเบียบแบบแผนสุ่มชดัเจน ข้อเสีย ยุ่งยากในการประมาณค่าพารามิเตอร ์

การก าหนดขนาดกลุ่มตวัอย่าง

1. ใช้ตารางส าเรจ็รปูเก่ียวกบัการก าหนดขนาดกลุ่มตวัอย่าง

2. ใช้สตูรการคิดค านวณของ Yamane n = N/(1+Ne2)

การก าหนดขนาดของกลุม่ตัวอยา่ง :

สตูรของ Taro Yamane :

Ne

Nn

21

n = ขนาดของกลุม่ตัวอยา่ง N = จ านวนประชากร e = คา่ความคลาดเคลือ่น (ความเชือ่มั่นอยูท่ี ่ 95% จะมคีวามคลาดเคลือ่นอยูท่ี ่5%)

สรปุ 1. เป้าหมายของการสุ่ม คือ การได้กลุ่มตวัอย่างท่ีลกัษณะ

เป็นตวัแทนของประชากร 2. หลกัการสุ่มท่ีจะท าให้ได้กลุ่มตวัอย่างท่ีดีต้องใช้วิธีสุ่มท่ี

เหมาะสม และก าหนดขนาดกลุ่มตวัอย่างท่ีใหญ่เพียงพอ 3. วิธีการสุ่มตวัอย่างท่ีเหมาะสม เป็นการสุ่มท่ีไม่ล าเอียง

โดยใช้หลกัความน่าจะเป็น ซ่ึงท าให้สมาชิกแต่ละหน่วยของประชากรมีโอกาสได้รบัเลือกเท่าเทียมกนั

4. การก าหนดขนาดกลุ่มตวัอย่างท่ีใหญ่เพียงพอ สามารถด าเนินการได้โดยใช้สตูรค านวณขนาดกลุ่มตวัอย่างท่ีเหมาะสม หรือการใช้ตารางส าเรจ็รปู

top related