ทะเลไทยและการเปล่ียนแปลง ... science 3...

Post on 16-Aug-2020

0 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

ทะเลไทยและการเปลี่ยนแปลง

ภายใต้กระแสโลกาภวิัตน์ 2 ระบอบ

บณัฑูร เศรษฐศิโรตม์

www.gsei.or.th www.measwatch.orgสถาบันธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม

ความเปลีย่นแปลงทะเลไทยในเชงิการบรหิารจดัการ

ในชว่ง 2 ทศวรรษ ( 2535 – 2555 )

กรอบวเิคราะหจ์ากทฤษฎกีารบรหิารปกครองหลายระดบั

Multi‐level Governance (Gary Marks, 1992)

Global Level

Regional Level

National Level

Sub‐National Level

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ชุมชนท้องถิ่น

อํานาจรัฐถกูถ่ายโอนไปยงัระดบั

เหนือรัฐ และระดบัตํ่ากวา่รัฐ

รวมทัง้Non-state Actors :

ตลาด, NGOs

2 Globalization

Interaction

Regional Integration เพิ่มขึน้

FTA เพิ่มขึน้

Globalization + Localization Glocalization

ความตกลงพหภุาคีด้านสิ่งแวดล้อม

MARPOL-1973

UNCLOS-1982

CDB-1992

UNFCCC-1992

ความกา้วหน้าของการจดัการในระดบัทอ้งถิน่

(Sub-National Level)

Institutional Arrangements for ICM Implementation

Supported by Provincial Orderand  Local Government Order

ชมุชนบา้นเปรด็ใน – ปา่ชายเลน 12,500 ไร่

ชมุชนบา้นเปรด็ใน – ปา่ชายเลน 12,500 ไร่

ชุมชนบา้นเปร็ดใน – ป่าปลูกในพื้นที่นากุง้ซื้อคืน 40 ไร่

บทบาทขององค์กรปกครองสว่นท้องถิ่น (Sub-National Level)

บทบาทขององคก์รปกครองส่วนทอ้งถิ่น

ปฏสิมัพนัธร์ะหวา่งโลกาภวิตัน์ 2 ระบอบ

( Supra-National Level )

Multi‐level Governance

Global Level

Regional Level

National Level

Sub‐National Level

อํานาจรัฐถกูถ่ายโอนไปยงัระดบั

เหนือรัฐ และระดบัตํ่ากวา่รัฐ

รวมทัง้Non-state Actors :

ตลาด, NGOs

2 Globalization Interaction

Globalization + Localization Glocalization

พฒันาการระหว่างโลกาภิวตัน์ 2 ระบอบ

Economic      Globalization (Neo‐Liberalism)

ทดลองใช้ในชลิี

ใชใ้น UK, US, LA , AF

ฉนัทมตวิอชงิตนั (1989)

WTO (1995)

FTA (2004)

Economic  Globalization

Environmental  Globalization

1970s

Stockholm Conference (1972)

1980s

Sustainable Development (1987)

1990s

Earth Summit (1992)

2000s

Rio+ 10 (2002)

Environmental  Globalization

Rio+ 20 (2012)

Post-2012 CC Regime(2007)

โลกาภิวตัน์ด้านเศรษฐกิจ

(Washington Consensus + WTO)

สง่เสรมิการเตบิโตทางเศรษฐกจิ

เน้นเสรภีาพของปจัเจกบุคคล

ลดบทบาทของรฐั ลด/เลกิกฎเกณฑท์ีเ่ป็นอุปสรรคต่อการคา้

เน้นระบบกรรมสทิธิใ์นทรพัยส์นิของปจัเจกบุคคล

เพิม่บทบาทของรฐัในการ

แกไ้ขปญัหาสิง่แวดลอ้ม

เพิม่กฎเกณฑก์าํกบัดแูล

การคา้ การลงทนุขา้ม

ประเทศ

ยอมรบัสทิธขิองชมุชน

ทอ้งถิน่ ชนพืน้เมอืง

โลกาภิวตัน์สิ่งแวดล้อม(Rio Declaration + MEAs)

2 Globalization

Interaction

ตวัอย่างรปูธรรมของ

2 Globalization Interaction

Sustainable Development (2012) & Green Economy

Green

Economy

Green Growth

ความเปลีย่นแปลงระดบัภมูภิาค

Multi‐level Governance

Global Level

Regional Level

National Level

Sub‐National Level

2 Globalization Interaction

Globalization + Localization Glocalization

Regional Integration เพิ่มขึน้

FTA เพิ่มขึน้

ASEAN (ACIA)

Bay of Bengal

INTEGRATION OF SUB‐REGIONAL TRANSBOUNDARY PROJECTS

1 8

7

6

54

32

1. YSLME2. CTI3. MFF4. MEH5. SSS6. ATS7. SCS8. NPSMEP9. GOT10. BOBLME

910

2 Globalization Interaction & Multi-level Globalization

ประเดน็นโยบาย : การจดัความสัมพนัธ์ระหว่างความตกลงหลายระดบั

MEAs WTO FTAs

National Legislation

1 2

3

4

5

การเจรจา FTAs

WTO‐PlusMEAs‐Minus

Deregulation + Re-Regulation

โจทยใ์นเชงิการบรหิารจดัการ

ทีย่งัอยูใ่นชว่งเปลีย่นผา่น

(1.) การจดัความสัมพันธ์เชงิอาํนาจ –หน้าที่ ระหว่างองค์กรต่างๆ

ด้านสิ่งแวดล้อมตามรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ ในช่วงสองทศวรรษหน้า

รัฐประชาชน

ม.๕๖, ๕๗, ...

องค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิ่น

ม. ๒๙๐

องค์การอิสระ

สิง่แวดล้อม

ม. ๖๗

สิ่งแวดล้อม

ชมุชน

ชมุชนท้องถิ่น

ชมุชนท้องถิ่นดัง้เดมิ

ม. ๖๖

(2.) ระบบสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติ

ระบบสิทธิใน

ทรัพยากร(Property  Right Regime)

1. State‐property regimes

ระบบสทิ

ธิเชิง

ซ้อน

2. Common‐property regimes (MEAs ,รัฐธรรมนูญ)

3. Private‐property regimes (WTO / FTA)

สิทธิชุมชน & CPR : มีบญัญตัใินรัฐธรรมนญูตัง้แตป่ี 2540 แตก่ฎหมาย

ลําดบัรองไมก่้าวหน้า + ขดัแย้งกบักฎหมายที่มีอยูเ่ดมิจํานวนมาก

4. Open-Access

Beyond Markets and States : Polycentric Governance of Complex Economic Systems

• The Royal Swedish Academy of Sciences said Ostrom's 'research brought this topic from the fringe to the forefront of scientific attention',"by showing how common resources —forests, fisheries, oil fields or grazing lands, can be managed successfully by the people who use them, rather than by governments or private companies".

TRAGEDY OFTHE OPEN-ACCESS

(3.) ปญัหาเชงิโครงสรา้งของระบบกฎหมายสิง่แวดลอ้มและรฐัธรรมนูญ

องคก์รชมุชน /NGOs/นกัวชิาการ

พลเมืองที่ตื่นตวั

องคก์รรฐั

หน่วยงานราชการ กฎระเบียบต่างๆ ของหน่วยงานรฐั

พระราชบญัญตัิต่างๆ

(ดา้นสิง่แวดลอ้ม 50 ฉบบั)

รฐัธรรมนูญ

โครงสรา้งความขดัแยง้

โลกาภวิตัน์

2 ระบอบ

(4.) กระบวนการกาํหนดนโยบายสาธารณะ

การเมืองเรื่อง

สิ่งแวดล้อม

โลกาภิวตัน์

ด้านเศรษฐกิจโลกาภิวตัน์

ด้านสิ่งแวดล้อม

โลกาภิวตัน์

ด้านการเมือง

Non-state Actor

ประชาธิปไตยภาคพลเมือง

เป้าหมายการเติบโตทางเศรษฐกิจ

ถ่ายโอนอาํนาจ รฐั ---> ตลาด

ชดุความตกลง WTO : พหภุาคี, ทวิภาคี, ภมูิภาค

บทบาท/อิทธิพลของ TNCs, IMF, WTO, WIPO, ….

เพิ่มบทบาทรฐั

MEAs

บทบาทของ External Actor : IGO, INGO

เครื่องมอืใหม่

SEA, HIA, SIA

การตรวจสอบอาํนาจรฐัโดยองคก์ารอิสระ ภาคประชาชน

top related