เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (sdgs)...

Post on 11-Feb-2020

8 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) กับการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง

โดย

อ . ชล บุนนาค

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์โครงการประสานงานการวิจัยเพื่อสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG Move) – สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

การพัฒนาที่ยั่งยืน (sustainable development) คืออะไร?

เศรษฐกิจ

สังคม สิ่งแวดล้อม

สังคมมนุษย์ จะยั่งยืนได้ ต้องสามารถสร้างสมดุลระหว่างสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจได้การพัฒนาที่ยั่งยืน คือ การพัฒนาที่มุ่งพัฒนาแต่ละมิติของความยั่งยืน และสร้างสมดุลระหว่างมิติต่าง ๆ ให้เกื้อหนุนกัน

การพัฒนาที่ยั่งยืน คือ การพัฒนาที่ตอบสนองความต้องการของคนในรุ่นปัจจุบัน โดยไม่ทำให้คนรุ่นต่อไปในอนาคต ต้องประนีประนอมยอมลดทอนความสามารถในการตอบสนองความต้องการของตนเอง

Our Common FutureThe Brundtland Report

ที่มาที่ไปของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

1962 1972 1987 1992 2000 2012 20152008

เปา้หมายการพฒันาแหง่สหสัวรรษ

(MillenniumDevelopmentGoals:MDGs)

การเปลี9ยนแปลงสภาพ

ภมิูอากาศเกิดจากฝีมือมนษุย์

โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติUnited Nations Environment Program

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) คืออะไร?

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)

• เป้าหมายการพัฒนาของสหประชาชาติ (United Nations) มีระยะเวลาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2015-2030

• ประเทศสมาชิก 194 ประเทศ รวมถึงประเทศไทย ร่วมลงนามให้คำมั่นว่าจะร่วมกันบรรลุ SDGs ในปี 2030 เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2015

• ประเทศไทยเป็นประธานกลุ่ม G77 ระหว่างปี 2016 - 2017

ขจัดความยากจน

ขจัดความหิวโหย

การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี

การศึกษาที่มีคุณภาพ

ความเท่าเทียมทางเพศ

นํ้าสะอาดและสุขาภิบาล

พลังงานสะอาดและจ่ายได้

งานที่มีคุณค่าเศรษฐกิจที่เติบโต

อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน

ลดความเหลื่อมลํ้า

เมืองและชุมชนยั่งยืน

การผลิตและบริโภคที่รับผิดชอบ

การรับมือกับ Climate Change

นิเวศทางทะเลและมหาสมุทร

ระบบนิเวศบนบก

สันติภาพและสถาบันเข้มแข็ง

หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา

รู้จักเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)

17 เป้าหมาย (Goals)

169 เป้าประสงค์ (Targets)

241 ตัวชี้วัด (Indicators)

เข้าใจเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals)

ประเด็นการพัฒนา

ภาพในอนาคตหาก SDGs บรรลุในปี 2030

เครื่องมือชี้วัดความก้าวหน้า

Planet

People

Prosperity

Peace Partnership

เข้าใจเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals)

การขับเคลื่อน SDGs ในประเทศไทยและความเชื่อมโยงกับเวทีโลก

คณะกรรมการเพื+อการพฒันาที+

ยั+งยืน(กพย.)

หน่วยงานหลัก/หน่วยงานรองที+ดแูล

แต่ละเป้าหมายเครือข่ายภาคประชาสังคม

ภาควชิาการ

และนกัวิชาการ/อาจารย์ในมหาวิทยาลยัและสถาบนัตา่งวิจยัตา่ง ๆ

ระดบัโลก

ระดบัประเทศ ภาคเอกชน

ภาครัฐ

สื+อThaipublica

ThaiPBS

คณะกรรมการประสานงานองค์กร

พฒันาเอกชน

สมชัชาองค์กรเอกชนด้านสิ9งแวดล้อมและการอนรัุกษ์

ทรัพยากรธรรมชาติ

มลูนิธิมั9นพฒันา

สสส.

สภาองค์กรชมุชน

กลไกขับเคลื่อน SDGs ของประเทศไทย

คณะรฐัมนตรี

คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.)

อนุกรรมการ

ขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

บูรณาการการดำเนินงานและจัดลำดับความสำคัญในการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

จัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

ปรับปรุงกลไก มาตรการด้านเศรษฐศาสตร์ สังคมและกฎหมาย เพื่อส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน

คณะทำงาน

คณะทำงาน

คณะทำงาน

ระเบียบ สนร. ว่าด้วย กพย. ฉบับที่ 1 (2556)ระเบียบ สนร. ว่าด้วย กพย. ฉบับที่ 2 (2558)ระเบียบ สนร. ว่าด้วย กพย. ฉบับที่ 3 (2559)

1 2 3

1

2

3

อนุกรรมการ

พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืน

อนุกรรมการ

ส่งเสริมความเข้าใจและประเมินผลการพัฒนาที่ยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

9

คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.)

ประธาน: นายกรัฐมนตรี

รองประธาน: รอง นรม. รองประธาน: รมต.สนร.

ภาคเอกชน§ สภาอุตสาหกรรมฯ§ สภาหอการค้าไทย§ ผู้ทรงคุณวุฒิ 4 ท่าน

สถาบันวิจัย กระทรวงต่างๆ§ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์§ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย§ สถาบันธรรมรัฐฯ§ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

§ ลศช.§ ลสผ.§ รศช.

เลขานุการ

องค์ประกอบและอาํนาจหน้าที4

4 เสนอแนะให้มีการกำหนดหรือแก้ไขเพิ่มเติมหรือปรับปรุงมาตรการ ด้านเศรษฐศาสตร์ สังคมและกฎหมาย เพื่อส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน และเสนอต่อ ครม.

5 กำหนดแนวทางและท่าทีการเจรจาในการประชุมระหว่างประเทศ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน

6 ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ของหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนตามนโยบาย ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ยั่งยืน ข้อตกลงและความร่วมมือระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง

1 กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร ์การพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศให้ครอบคลุมทั้งด้าน

เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและ

บูรณาการ เป็นไปตามข้อตกลงและความร่วมมือ

ระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องและเสนอต่อ ครม. ให้

ความเห็นชอบ

2 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน ของหน่วยงานรัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาที่

ยั่งยืน

3 กำกับการดำเนินงาน ของหน่วยงานรัฐให้เป็นไปตามนโยบาย ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ยั่งยืนของ

ประเทศ และข้อตกลงและความร่วมมือระหว่าง

ประเทศที่เกี่ยวข้อง

กค กต กษ มท

ทส ทก อก คค

พณ พม รง ยธ

ศธ สธ วท นร

กลไกขับเคลื่อน SDGs ของประเทศไทย

การจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดลำดับความสำคัญเป้าประสงค์ของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

การประชุมเชิงปฏิบัติการ การขับเคลื่อนเป้าหมายและเป้าประสงค์การพัฒนาที่ยั่งยืน (ภาพรวม)

ปลาย

ส.ค.ปลาย

พ.ย.

๗๖.๖๓

๕.๐๖

๗.๔๗๒.๖๕

๘.๑๙ร้อยละ

หนว่ยงานรัฐ

เอกชน

การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดลำดับความสำคัญของเป้าประสงค์ของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน จำนวน ๕ ครั้ง ระหว่าง ปลายเดือนสิงหาคมถึงพฤศจิกายน ๒๕๕๘

สัดส่วนของประเภทองค์กรที่เข้าร่วมการจัดลำดับความสำคัญ

เกณฑ์ที่ใช้ในการจัดลำดับ

ความสำคัญ

ความพร้อม

ความเร่งด่วน

ผลกระทบ

ข้อมูล

ความรู้

กฎหมาย

ทรัพยากร

สังคม

๒๖ ส.ค. ๕ ก.ย. ๑๒ ก.ย. ๒๕ พ.ย. ๒๘ พ.ย.

สังคม (PEOPLE) (เป้าหมายที่ ๑ ๒ ๓ ๔ และ ๕)๑.๓ มาตรการคุ้มครองทางสังคม๒.๑ ยุติความหิวโหย และการเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัยเพียงพอ๒.๔ ระบบการผลิตอาหารที่ยั่งยืน การเกษตรมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ๒.๕ ความหลากหลายทางพันธุกรรมของเมล็ดพันธุ์๓.๓ ยุติการแพร่กระจายของ HIV และโรคติดต่อ ๓.๔ ลดการตายจากโรคไม่ติดต่อ ๓.๕ เสริมสร้างการป้องกันและการรักษาการใช้สารในทางที่ผิด (สารเสพติด)๓.๖ ลดอุบัติเหตุทางถนน๔.๑ สำเร็จการศึกษาประถม มัธยมคุณภาพเท่าเทียมและไม่มีค่าใช้จ่าย๔.๒ เข้าถึงการพัฒนา การดูแล และการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพ๕.๒ ลดความรุนแรงต่อผู้หญิงและเด็ก

เศรษฐกิจ (PROSPERITY) (เป้าหมายที่ ๗ ๘ ๙ ๑๐ และ ๑๑)๗.๓ ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน๘.๑ ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ครอบคลุมและยั่งยืน๘.๔ ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร และดัดความเชื่อมโยงระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจและการทำให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม ๙.๔ อุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม๑๐.๑ เพิ่มการเติบโตของรายได้กลุ่มคนยาก ร้อยละ ๔๐ ล่างสุด๑๑.๕ ลดจำนวนการตายและจำนวนคนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ

สิ่งแวดล้อม (PLANET) (เป้าหมายที่ ๖ ๑๒ ๑๓ ๑๔ และ ๑๕)๖.๑ การเข้าถึงน้ำดื่มปลอดภัย มีราคาหาซื้อได้๑๒.๔ การจัดการสารเคมีและของเสียที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม๑๔.๔ การฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล๑๔.๖ ยับยั้งรูปแบบการอุดหนุนประมงเกินขีดจำกัดและ IUU๑๕.๒ การจัดการป่าอย่างยั่งยืน๑๓.๑ เสริมภูมิต้านทานและขีดความสามารถในการปรับตัวต่ออันตรายและภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับภูมิอากาศ๑๓.๒ บูรณาการมาตรการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในในนโยบาย๑๕.๑ อนุรักษ์ฟื้นฟูระบบนิเวศบนบก น้ำจืด พื้นที่ชุ่มน้ำ

๑๖.๒ ยุติการค้ามนุษย์ และความรุนแรงต่อเด็ก๑๖.๕ ลดการทุจริตคอร์รัปชั่น

๑๗.๑ การระดมทรัพยากรของรัฐเพื่อสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืน ๑๗.๑๑ เพิ่มส่วนแบ่งการส่งออกของประเทศกำลังพัฒนา

๑๗.๑๔ ยกระดับความสอดคล้องเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

สันติภาพ สถาบันที่เข้มแข็ง และความยุติธรรม (PEACE)

หุ้นส่วนการพัฒนา (PARTNERSHIP)

(เป้าหมายที่ ๑๖)

(เป้าหมายที่ ๑๗)

เป้าประสงค์ที่มีความสำคัญสูงสุด ๓๐ เป้าประสงค์ จำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย

ผลการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดลำดับความสำคัญเป้าประสงค์ของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำมาพัฒนาเป็นเครื่องมือหรือข้อกำหนดในการพัฒนาและคัดกรองกิจกรรม/โครงการ/แผนงาน ของหน่วยงานต่าง ๆ ในการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ได้ เช่น- ในการวางแผนมีการศึกษาอย่างรอบด้านและเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมหรือไม่

- การดำเนินงานมีความโปร่งใสตามหลักธรรมาภบิาลหรือไม่

- มีการวางแผนรับมือกับสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นหรือไม่คาดคิดหรือไม่ อย่างไร

- โครงการคำนึงถึงความสมดุลระหว่างมิติเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมหรือไม่ อย่างไร

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการบรรลุเป้าประสงค์การพัฒนาที่ยั่งยืนและยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี

กิจกรรม / โครงการ / แผนงาน ของหน่วยงานต่าง ๆ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลลัพธ์การพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable Development OUTCOME)

ความเคลื่อนไหวบางประการในภาควิชาการ

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และโครงการประสานงานการวิจัยเพื่อสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG Move)

• ให้ทุนวิจัยแก่นักวิจัยเพื่อสำรวจสถานการณ์ปัจจุบัน ความพร้อม และทางเลือกมาตรการเศรษฐกิจ สังคม และกฎหมายในการบรรลุ SDGs แต่ละเป้าหมาย (ปัจจุบันให้ทุนแล้ว 12 เป้าหมาย ยังขาดอีก 5 เป้าหมาย -3, 6, 10, 11, 17)• ติดตามความก้าวหน้าในการขับเคลื่อน SDGs ทั้งในและต่างประเทศ• ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการในระดับโลก• จัดลำดับความสำคัญเป้าประสงค์ที่สำคัญ 30 เป้าประสงค์• สนับสนุนองค์ความรู้ด้าน SDGs• สนับสนุนภาคส่วนต่าง ๆ ในการขับเคลื่อน SDGs • สื่อสาธารณะ - www.sdgmove.com

คำถามเกี่ยวกับ SDGs ?

Q: SDGs เป็นแคก่ารทำรายงานส่ง UN ใช่หรือไม่ ?A: การทำรายงานเป็นเพียงส่วนเล็ก ๆ ส่วนเดียว ส่วนสำคัญคือการช่วยกันบรรลุภาพฝันของการพัฒนาที่ยั่งยืนให้เป็นจริง

Q: SDGs เกี่ยวกับการพัฒนาระดับท้องถิ่นอย่างไร แตกต่างกับสิ่งที่ทุกคนทำอยู่แล้วหรือไม?่ A: หากท่านทำกิจกรรมการพัฒนาโดยมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจชุมชนอยู่แล้ว ก็เท่ากับว่าท่านก็ช่วยโลกบรรลุ SDGs อยู่แล้วโดยอัตโนมัติ

Q: ถ้าอย่างนั้นแล้ว SDGs มีประโยชน์กับการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างไร ?

คำถามเกี่ยวกับ SDGs ?

Q: SDGs มีประโยชน์กับการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างไร ?

1) เป็นเครื่องมือในการเสริมพลัง (Empowerment) ให้ชุมชนผ่านการชี้ให้เห็นว่างานที่พวกเขาทำอยู่สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาระดับโลก

2) เป็นเครื่องมือสอบทาน (Review) ว่า มีประเด็นการพัฒนาใดอีกหรือไม่ที่เราสามารถทำได้อีกในชุมชนท้องถิ่นของเรา

3) เป็นเครื่องมือติดตามการพัฒนา (Monitor) ของท้องถิ่นที่จะเชื่อมกับภาพการพัฒนาในระดับชาติและระดับโลก

4) เป็นเครื่องมือในการถ่วงดุล (Check and Balance) การใช้อำนาจของรัฐ/กิจกรรมทางเศรษฐกิจของภาคเอกชน เพราะภาครัฐและเอกชนรายใหญ่ได้ให้คำมั่นทางการเมืองว่าจะร่วมกันบรรลุ SDGs

5) เป็นโจทย์ในการสร้างเครื่องมือ นวัตกรรม สินค้า

คำถามเกี่ยวกับ SDGs ?

Q: SDGs ปรับได้ไหม? A: SDGs เป็นเป้าหมายระดับโลก การนำมาใช้ในประเทศจำเป็นต้องมีการปรับให้เหมาะสมกับบริบทของประเทศและพื้นที่นั้น ๆ เพื่อให้ SDGs ใช้ประโยชน์ได้จริง ทั้งในระดับเป้าประสงค์ และตัวชี้วัด

Q: เราจะทำความเข้าใจ SDGs ได้อย่างไร ? A: การทำความเข้าใจ SDGs ควรทำความเข้าใจผ่านเป้าประสงค์ (Target) เพราะว่า เป้าประสงค์เป็นตัวบอกขอบเขตและรายละเอียดของแต่ละเป้าหมาย (Goal)วิธีที่จะทำให้เข้าใจได้ง่ายคือการพิจารณาผ่านคำสำคัญ (Keyword) ของเป้าประสงค์นั้นและตรวจสอบกับคำอธิบายฉบับเต็มเพื่อความแม่นยำ

ประเภทของเป้าประสงค์ (Targets)

เป้าประสงค์เชิงผลลัพธ์

(Outcome Targets)

เป้าประสงค์เชิงนโยบาย

เป้าประสงค์ด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ

การพัฒนาที่ยั่งยืนและครอบคลุม (Sustainable and Inclusive Development)

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

ขจัดความยากจน

1.1 ขจัดความยากจนขั้นรุนแรง1.2 ลดความยากจนในทุกมิติ1.3 มาตรการคุ้มครองทางสังคมที่เหมาะสมและครอบคลุม1.4 การเข้าถึงทรัพยากรทางเศรษฐกิจอย่างเท่าเทียม รวมถึงบริการพื้นฐาน และกรรมสิทธิเหนือที่ดิน1.5 ภูมิคุ้มกันจากภัยพิบัติทางธรรมชาติและทางเศรษฐกิจสังคม การเมือง

1.a การระดมทรัพยากรเพื่อยุติความยากจน1.b นโยบาย/ยุทธศาสตร์ที่มุ่งช่วยคนจนและเหมาะกับคนทุกกลุ่ม และให้ความสำคัญกับโครงการกำจัดความยากจน

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

ขจัดความหิวโหย

2.1 ยุติความหิวโหยและการเข้าถึงอาหารปลอดภัย2.2 ยุติภาวะทุพโภชนาการทุกรูปแบบ2.3 เพิ่มผลิตภาพและรายได้ให้ผู้ผลิตอาหารรายเล็ก และเพิ่มการเข้าถึงปัจจัยการผลิตและโอกาสเพิ่มมูลค่า2.4 ระบบการผลิตอาหารที่ยั่งยืนและการเกษตรที่มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 2.5 การรักษาและใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางพันธุกรรมในไร่นา

2.a การลงทุนในการวิจัยพัฒนาด้านชนบทและเกษตร2.b ป้องการการกีดกันและบิดเบือนทางการค้าในตลาดโลก2.c การเข้าถึงข้อมูลของตลาดอาหาร การกำจัดความผันผวนของราคาอาหาร

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

3.1 ลดอัตราการตายของมารดาระหว่างคลอด3.2 ยุติการตายที่ป้องการได้ของทารกและเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี3.3 ยุติการแพร่กระจายของโรคติดต่อที่สำคัญ3.4 ลดการตายก่อนวัยอันควรจากโรคไม่ติดต่อและการมีสุขภาพจิตที่ดี3.5 การป้องการและรักษาการใช้สารเสพติดและแอลกอฮอล์3.6 ลดจำนวนการตายจากอุบัติเหตุทางถนน3.7 การเข้าถึงข้อมูลด้านอนามัยเจริญพันธุ์3.8 หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การเข้าถึงยาและบริการสาธารณสุข3.9 ลดการตายและป่วยจากสารเคมีอันตรายและมลพิษ

3.a การดำเนินตามกรอบอนุสัญญาว่าด้วยเรื่องการควบคุมยาสูบ3.b การวิจัยพัฒนาและการเข้าถึงวัคซียนและยา 3.c เพิ่มการใช้เงินด้านสุขภาพ พัฒนากำลังคนด้านสาธารณสุขให้ทั่วถึง3.d การแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยงด้านสุขภาพ

การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

การศึกษาที่มีคุณภาพ

4.1 การสำเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ประถม/มัธยม) ที่มีคุณภาพและไม่มีค่าใช้จ่าย 4.2 การเข้าถึงการศึกษาระดับปฐมวัย ที่มีคุณภาพและทั่วถึง4.3 การเข้าถึงการศึกษาวิชาเทคนิค อาชีวศึกษา และอุดมศึกษาที่มีคุณภาพและจ่ายได้4.4 เพิ่มเยาวชนและผู้ใหญ่ที่มีทักษะทางอาชีพ และความเป็นผู้ประกอบการ4.5 ขจัดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงการศึกษาของคนกลุ่มต่าง ๆ4.6 ทุกคนอ่านออก เขียนได้ และคำนวณได้4.7 ทุกคนมีความรู้และทักษะที่เกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน

4.a ยกระดับอุปกรณ์และเครื่องมือทางการศึกษาให้เหมาะกับคนทุกกลุ่ม4.b ขยายทุนการศึกษา และการฝึกอาชีพด้าน ICT เทคนิค และวิทยาศาสตร์

5.1 ยุติการเลือกปฏิบัติต่อผู้หญิงและเด็กหญิงทุกรูปแบบ5.2 ขจัดความรุนแรงต่อผู้หญิงและเด็ก และการค้ามนุษย์5.3 ขจัดแนวปฏิบัติที่เป็นภัยต่อผู้หญิงและเด็ก5.4 ยอมรับการทำงานบ้าน สนับสนุนการรับผิดชอบร่วมกันในครัวเรือน5.5 เพิ่มการมีส่วนร่วมให้ผู้หญิงอย่างเท่าเทียมในการตัดสินใจและเป็นผู้นำ5.6 การเข้าถึงบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์

5.a ปฏิรูปให้ผู้หญิงมีสิทธิเท่าเทียมในการเข้าถึงทรัพยากรทางเศรษฐกิจ5.b เพิ่มการใช้ ICT เพื่อเสริมพลังให้ผู้หญิง5.c ใช้กฎหมายและนโยบายในการส่งเสริมความเสมอภาคและเสริมพลังให้ผู้หญิงและเด็กหญิง

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

ความเท่าเทียมทางเพศ

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

นํ้าสะอาดและสุขาภิบาล

6.1 การเข้าถึงน้ำดื่มปลอดภัยและจ่ายได้6.2 การเข้าถึงสุขอนามัยที่พอเพียง ยุติการขับถ่ายในที่โล่ง 6.3 ลดมลพิษทางน้ำ ลดน้ำเสียที่ไม่ผ่านกระบวนการบำบัด6.4 เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำ แก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำ6.5 การบริหารจัดการน้ำแบบองค์รวมและมีส่วนร่วมทุกระดับ6.6 ปกป้องและฟื้นฟูระบบนิเวศที่เกี่ยวกับแหล่งน้ำ

6.a เพิ่มขีดความสามารถทางนโยบายและแผนงานด้านน้ำผ่านความร่วมมือระหว่างประเทศ6.b สนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการน้ำและสุขอนามัย

พลังงานสะอาดและจ่ายได้

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

7.1 การเข้าถึงบริการพลังงานสมัยใหม่ 7.2 เพิ่มสัดส่วนพลังงานทดแทน7.3 ปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

7.a ความร่วมมือระหว่างประเทศด้านงานวิจัยและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับพลังงานสะอาดและประสิทธิภาพการใช้พลังงาน7.b ขยายโครงสร้างพื้นฐานในการจัดส่งพลังงาน

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

8.1 การเติบโตทางเศรษฐกิจต่อหัวประชากรที่ยั่งยืนและครอบคลุม8.2 การเพิ่มผลิตภาพและมูลค่าทางเศรษฐกิจผ่านนวัตกรรมและเทคโนโลยี 8.3 นโยบายที่สนับสนุนการสร้างงานที่ดี ความเป็นผู้ประกอบการ ความสร้างสรรค์นวัตกรรม SMEs 8.4 พัฒนาประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรของโลกและตัดความเชื่อมโยงระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจกับความเสื่อมโทรมทางสิ่งแวดล้อม8.5 การจ้างงานที่เต็มที่ เหมาะสมและเท่าเทียมสำหรับคนทุกกลุ่ม8.6 ลดสัดส่วนเยาวชนที่ไม่มีการศึกษาและไม่มีงานทำ

งานที่มีคุณค่าเศรษฐกิจที่เติบโต

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

งานที่มีคุณค่าเศรษฐกิจที่เติบโต

8.7 ขจัดแรงงานบังคับ แรงงานทาส แรงงานเด็ก และการค้ามนุษย์8.8 สิทธิแรงงาน สภาพแวดล้อมการทำงานที่ปลอดภัย สำหรับคนทุกกลุ่มรวมถึงแรงงานต่างด้าว8.9 การท่องเที่ยวยั่งยืน การส่งเสริมวัฒนธรรมและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น8.10 เสริมความแข็งแกร่งและการเข้าถึงสถาบันการเงินและบริการทางการเงิน

8.a เพิ่มเติมความช่วยเหลือทางการค้าให้ประเทศกำลังพัฒนา8.b ดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ ที่เกี่ยวกับเยาวชนและงานที่ดี

อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

9.1 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (คมนาคม) ที่เข้าถึงและจ่ายได้อย่างเท่าเทียมกันสำหรับทุกกลุ่ม9.2 ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมและยั่งยืน9.3 เพิ่มการเข้าถึงบริการทางการเงินของ SMEs9.4 ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานและเทคโนโลยีด้านอุตสาหกรรมเพื่อความยั่งยืนและประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร9.5 เพิ่มการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ

9.a สนับสนุนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในประเทศกำลังพัฒนา9.b สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในประเทศกำลังพัฒนา โดยเน้นการพัฒนาสภาพแวดล้อมเชิงนโยบายให้เหมาะสม9.c เพิ่มการเข้าถึงเทคโนโลยีด้านข้อมูลข่าวสารและอินเตอร์เน็ต

เด็กและเยาวชนกับ SDGs

ลดความเหลื่อมลํ้า

10.1 ทำให้การเติบโตของรายได้ในกลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่ยากจนที่สุดมีอัตราที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ10.2 ให้อำนาจและส่งเสริมความครอบคลุมทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองของคนทุกกลุ่ม10.3 ลดผลลัพธ์ที่ไม่เสมอภาคจากกฎหมายและนโยบาย และกำจัดความไม่เสมอภาคเชิงโครงสร้างดังกล่าว10.4 นโยบายการคลังและความคุ้มครองทางสังคมเพื่อความเสมอภาค10.5 พัฒนากฎระเบียบในการติดตามตรวจสอบสถาบัน/ตลาดการเงิน10.6 เพิ่มบทบาทของประเทศกำลังพัฒนาในเวทีโลก10.7 ทำให้การอพยพเคลื่อนย้ายคนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

10.a ช่วยประเทศกำลังพัฒนาทางการค้าตามหลักการของ WTO10.b การช่วยเหลืออย่างเป็นทางการไปยังไประเทศกำลังพัฒนา10.c ลดค่าใช้จ่ายในการส่งเงินกลับประเทศของผู้อพยพ

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

เมืองและชุมชนยั่งยืน

11.1 การเข้าถึงที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับทุกกลุ่ม ยกระดับชุมชนแออัด11.2 ระบบคมนาคมและระบบขนส่งสาธารณะที่ยั่งยืนสำหรับคนทุกกลุ่ม 11.3 การพัฒนาเมืองที่ครอบคลุม ยั่งยืน บูรณาการและมีส่วนร่วม11.4 ปกป้องและคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติของโลก11.5 ลดจำนวนการตายและความสูญเสียจากภัยพิบัติ 11.6 ลดผลกระทบทางลบของเมืองต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะคุณภาพอากาศและจัดการของเสียของเทศบาล11.7 เพิ่มพื้นที่สาธารณะสีเขียวที่ปลอดภัย ครอบคลุมและเข้าถึงได้สำหรับทุกกลุ่ม

11.a สนับสนุนการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมระหว่างพื้นที่เมือง รอบเมือง และชนบท11.b เพิ่มจำนวนการตั้งถิ่นฐานที่ลดผลกระทบและรับมือกับภัยพิบัติ11.c สนับสนุนเรื่องการสร้างอาคารยั่งยืนและทนทานโดยใช้วัสดุท้องถิ่นในประเทศพัฒนาน้อยที่สุด

การผลิตและบริโภคที่รับผิดชอบ

12.1 ดำเนินการตามกรอบดำเนินงานระยะ 10 ปี ว่าด้วยการผลิตและบริโภคที่ยั่งยืน 12.2 บรรลุการจัดการที่ยั่งยืนและการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ12.3 ลดขยะเศษอาหารและลดการสูญเสียอาหารจากกระบวนการผลิต12.4 การจัดการสารเคมีและของเสียที่เป็นมิตรต่อส่งแวดล้อม12.5 ลดการผลิตของเสียโดยการป้องกัน การลด การแปรรูป 12.6 การผนวกข้อมูลด้านความยั่งยืนลงในรายงานของบริษัทขนาดใหญ่12.7 การจัดซื้อจัดจ้างภาคสาธารณะที่ยั่งยืน 12.8 ประชาชนมีข้อมูลที่เกี่ยวข้องและความตระหนักเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืนและวิถีชีวิตที่สอดคล้องกับธรรมชาติ12.a เพิ่มขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีในการขับเคลื่อนการผลิตและการบริโภคทียั่งยืน12.b พัฒนาเรื่องติดตามผลกระทบของการพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน สร้างงาน และส่งเสริมวัฒนธรรมและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น12.c ลดการอุดหนุนพลังงานฟอสซิลโดยพิจารณาผลกระทบกับคนจนด้วย

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

การรับมือกับ Climate Change

13.1 การเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ13.2 บูรณาการมาตรการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในการวางแผน13.3 พัฒนาการศึกษา สร้างความตระหนักรู้เรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

13.a Green Climate Fund13.b ส่งเสริมกลไกการตั้งรับปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ให้ความสำคัญกับคนเปราะบาง

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

การรับมือกับ Climate Change

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

นิเวศทางทะเลและมหาสมุทร

14.1 ลดมลพิษทางทะเลทุกประเภท14.2 บริหารจัดการและปกป้องระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง14.3 ลดและแก้ปัญหาผลกระทบของความเป็นกรดในมหาสมุทร14.4 การกำกับและยุติประมงผิดกฎหมาย ไม่มีรายงานและไม่มีการควบคุม (IUU) และประมงทำลายล้าง14.5 ให้มีพื้นที่อนุรักษ์ทางทะเลและชายฝั่งอย่างน้อยร้อยละ 10 14.6 ยับยั้งการอุดหนุนการประมงทำลายล้างและประมง IUU14.7 การเพิ่มผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากการใช้ทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน

14.a เพิ่มความรู้ทางวิทยาศาสตร์และความสามารถทางการวิจัยเทคโนโลยีทางทะเล เพื่อพัฒนาคุณภาพมหาสมุทร14.b จัดให้มีการเข้าถึงทรัพยากรทางทะเลและตลาดสำหรับชาวประมงพื้นบ้านรายเล็ก14.c เพิ่มพูนการอนุรักษ์และใช้มหาสมุทรอย่างยั่งยืนตาม UNCLOS

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

ระบบนิเวศบนบก

15.1 อนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช้ระบบนิเวศบนบกและน้ำจืดอย่างยั่งยืน15.2 ส่งเสริมการดำเนินการด้านการบริหารจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน15.3 ต่อสู้การกลายสภาพเป็นทะเลทรายและความเสื่อมโทรมของที่ดิน15.4 อนุรักษ์ระบบนิเวศภูเขาและความหลากหลายทางชีวภาพ15.5 ลดความเสื่อมโทรมของถิ่นที่อยู่ตามธรรมชาติและหยุดยั้งการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ15.6 แบ่งปันผลประโยชน์จากการใช้ประโยชน์ทางความหลากหลายทางพันธุกรรมอย่างยุติธรรม

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

ระบบนิเวศบนบก

15.7 ยุติการล่าและขนย้ายพืชและสัตว์คุ้มครอง 15.8 ป้องการการนำเข้าและลดผลกระทบของพืชสัตว์ต่างถิ่นที่รุกราน15.9 บูรณาการมูลค่าของระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพเข้าไปในการวางแผน

15.a ระดมทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการอนุรักษ์และใช้ความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศอย่างยั่งยืน15.b ระดมทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน15.c ต่อสู้การล่าและเคลื่อนย้ายชนิดพันธุ์คุ้มครอง และเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่น

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

16.1 ลดความรุนแรงทุกรูปแบบและการตายที่เกี่ยวข้อง16.2 ยุติการข่มเหง การค้ามนุษย์ และการทรมานเด็ก 16.3 ส่งเสริมนิติธรรมและการเข้าถึงความยุติธรรมอย่างเท่าเทียม16.4 ต่อสู้กับการเคลื่อนย้ายอาวุธ การฟอกเงิน และอาชญากรรม16.5 ลดการทุจริตในตำแหน่งหน้าที่และการรับสินบน16.6 พัฒนาสถาบันที่มีประสิทธิผล ความรับผิดชอบและโปร่งใสในทุกระดับ16.7 มีกระบวนการตัดสินใจที่มีความรับผิดชอบ ครอบคลุม มีส่วนร่วม เป็นตัวแทนที่ดีในทุกระดับ

สันติภาพและสถาบันเข้มแข็ง

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

16.8 ขยายและเสริมความแข็งแกร่งของการมีส่วนร่วมของประเทศกำลังพัฒนาในสถาบันโลกาภบิาล16.9 จัดให้มีเอกลักษณ์ทางกฎหมายสำหรับทุกคน 16.10 สาธารณชนเข้าถึงข้อมูลและมีการปกป้องเสรีภาพขั้นพื้นฐาน

16.a เสริมความแข็งแกร่งของสถาบันระดับชาติเพื่อป้องกันความรุนแรงและต่อสู้กับการก่อการร้ายและอาชญากรรม16.b ส่งเสริมและบังคับใช้กฎหมายและนโยบายที่ไม่เลือกปฏิบัติเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

สันติภาพและสถาบันเข้มแข็ง

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

17.1 พัฒนาขีดความสามารถในการระดมทรัพยากร การเก็บภาษีและรายได้อื่น ๆ ของรัฐ17.2 ให้ประเทศพัฒนาแล้วให้ความช่วยเหลือประเทศกำลังพัฒนาอย่างเป็นทางการ17.3 ระดมทรัพยากรทางการเงินเพิ่มเติมจากแหล่งที่หลากหลายไปยังประเทศกำลังพัฒนา17.4 ช่วยประเทศกำลังพัฒนาในการบรรลุความยั่งยืนในการจัดการ บรรเทาและปรับโครงสร้างของหนี้ระยะยาว17.5 ส่งเสริมการลงทุนสำหรับประเทศพัฒนาน้อยที่สุด

หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

เทคโนโลยี17.6 เพิ่มพูนความร่วมมือระหว่างประเทศและในภูมิภาค ในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม17.7 ส่งเสริมการถ่ายทอดและเผยแพร่เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 17.8 ให้ธนาคารเทคโนโลยีและกลไกการเสริมสร้างขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับประเทศพัฒนาน้อยที่สุด

การสร้างเสริมขีดความสามารถ17.9 ส่งเสริมขีดความสามารถประเทศกำลังพัฒนาในการดำเนินงานทุกเป้าหมายของ SDGs ผ่านความร่วมมือระหว่างประเทศ

หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

เทคโนโลยี17.6 เพิ่มพูนความร่วมมือระหว่างประเทศและในภูมิภาค ในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม17.7 ส่งเสริมการถ่ายทอดและเผยแพร่เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 17.8 ให้ธนาคารเทคโนโลยีและกลไกการเสริมสร้างขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับประเทศพัฒนาน้อยที่สุด

การสร้างเสริมขีดความสามารถ17.9 ส่งเสริมขีดความสามารถประเทศกำลังพัฒนาในการดำเนินงานทุกเป้าหมายของ SDGs ผ่านความร่วมมือระหว่างประเทศ

หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

การค้า17.10 ส่งเสริมระบบการค้าพหุภาคีที่เป็นสากล ภายใต้ WTO17.11 เพิ่มส่วนแบ่งการส่งออกของประเทศกำลังพัฒนาในการส่งออกทั่วโลกให้สูงขึ้น17.12 การเข้าถึงตลาดของประเทศพัฒนาน้อยที่สุด

ความสอดคล้องเชิงนโยบายและเชิงสถาบัน17.13 เพิ่มพูนเสถียรภาพเศรษฐกิจมหภาคของโลก17.14 ยกระดับความสอดคล้องเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 17.15 เคารพพื้นที่ทางนโยบายและความเป็นผู้นำของแต่ละประเทศในการดำเนินนโยบายเพื่อความยั่งยืน

หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา

เป้าประสงค์ของ SDGs ภายใต้แต่ละเป้าหมาย

หุ้นส่วนความร่วมมือจากภาคส่วนที่หลากหลาย17.16 ยกระดับหุ้นส่วนความร่วมมือระดับโลกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 17.17 ส่งเสริมหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาครัฐ-ภาคเอกชน และประชาสังคม

ข้อมูล การติดตาม และการตรวจสอบได้17.18 การเสริมขีดความสามารถในการเพิ่มข้อมูลที่มีคุณภาพ ทันเวลาและเชื่อถือได้17.19 พัฒนาการตรวจวัดความก้าวหน้าของการพัฒนาที่ยั่งยืนที่มีต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ และสนับสนุนการสร้างขีดความสามารถด้านสถิติในประเทศกำลังพัฒนา

หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา

top related