appraisal tools thai - building institutional capacity in thailand to design and implement climate...

Post on 13-Apr-2017

24 Views

Category:

Government & Nonprofit

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

1

การทบทวนเครื่องมอืประเมนิโครงการด้านการ

เปลี่ยนแปลงสภาพภมูอิากาศอารยีา โอบเิดียกวูคณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร์

การอบรมเชงิปฏิบติัการการเสรมิสรา้งขดีความสามารถของหน่วยงานในสงักัดกระทรวงเกษตร

และสหกรณ์ในการประเมนิโครงการลงทนุท่ีเก่ียวขอ้งกับการเปล่ียนแปลงสภาพภมูิ

อากาศ

23 พ.ย. 2559

2

บทนำา ทบทวนเครื่องมอืทางเศรษฐศาสตรใ์นการประเมนิ

โครงการ (ท้ังท่ีเก่ียวและไมเ่ก่ียวกับ climate change) ท่ีมกีารใชใ้นกระทรวงเกษตรฯ ในปัจจุบนั

เสนอแนะเครื่องมอืท่ีเหมาะสมในการประเมนิโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภมูอิากาศ

3

เครื่องมอืทางเศรษฐศาสตรท่ี์มกีารใชใ้นปัจจุบนั การวเิคราะห์ต้นทนุ-ผลประโยชน์ (Cost-benefit analysis: CBA)

Contingent Valuation Method (CVM)-- การประเมนิมูลค่าสิง่แวดล้อมโดยใช้สถานการณ์สมมติ

4

การวเิคราะห์ต้นทนุ-ผลประโยชน์ (Cost-benefit analysis: CBA) วดัวา่โครงการทำาให้สวสัดิการของสงัคมเพิม่ขึน้หรอืไม ่

(ประสทิธภิาพเชงิเศรษฐศาสตร)์ เพื่อชว่ยในการตัดสนิใจวา่จะทำาโครงการหรอืไม ่หรอืชว่ยใน

การเปรยีบเทียบโครงการหลายๆ โครงการ โครงการก่อให้เกิดผลประโยชน์มากกวา่ต้นทนุที่ใชห้รอืไม-่-

> ประโยชน์สทุธ ิ(net benefit) มากกวา่ 0 ถือวา่เป็นโครงการท่ีดี

ขอ้จำากัด: จำาเป็นต้องใชข้อ้มูลเชงิปรมิาณ ขอ้มูลท่ีใชห้ายากหรอืมค่ีาใชจ้า่ยสงู โดยเฉพาะขอ้มูลผล

ประโยชน์ของโครงการ วธิกีารค่อนขา้งซบัซอ้น

5

การวเิคราะห์ต้นทนุ-ผลประโยชน์ (Cost-benefit analysis: CBA)

กรมชลประทานใช ้CBA ในการประเมนิโครงการชลประทานควบคู่กับการประเมนิด้านอ่ืนๆ

มกีารวา่จา้งท่ีปรกึษาภายนอก (สำาหรบัโครงการท่ีมคีวามซบัซอ้น) และดำาเนินการโดยเจา้หน้าท่ีของกรมเอง (โครงการขนาดกลาง)

ใชข้อ้มูลปฐมภมูโิดยเก็บตัวอยา่งในพื้นที่ท่ีเก่ียวขอ้งกับโครงการ (พื้นท่ีรบัผลกระทบและพื้นที่รบัประโยชน์) ขอ้มูลทติุยภมู ิและพารามเิตอรจ์ากธนาคารโลก

เวลาท่ีใชว้เิคราะห์ CBA = 3-4 เดือน/โครงการ เจา้หน้าท่ี (background เศรษฐศาสตร)์ 10-12 คน จำานวนโครงการท่ีประเมนิ 12 โครงการ/ปี (ขอ้มูลปีท่ีผ่านมา) ขอ้จำากัดในการทำา CBA --> งบประมาณ (100,000 บาท/โครงการ)

+ กำาลังคน--> จำานวนตัวอยา่งจำากัด, ไมไ่ด้คิดผลประโยชน์ของโครงการบางประเภท

6

Contingent Valuation Method (CVM) การประเมนิมูลค่าสิง่แวดล้อมโดยใชส้ถานการณ์สมมติ กรณีท่ีมกีารเปล่ียนแปลงคณุภาพของสิง่แวดล้อมท่ีไมม่มูีลค่าตลาด ถามความเต็มใจท่ีจะจา่ย (willingness to pay) หรอื เต็มใจท่ีจะ

ยอมรบัค่าชดเชย (willingness to accept compensation) เจา้หน้าท่ีกรมชลประทานได้รบัการอบรมภายใต้โครงการเสรมิสรา้ง

ศักยภาพการจดัสรรและการใชง้บประมาณสาธารณะเพื่อสนับสนุนนโยบายรองรบัการเปล่ียนแปลงสภาพภมูอิากาศ (โดย UNDP และสผ.)

กรณีศึกษาโครงการคลองระบายนำ้าหลากฝั่ งตะวนัออกของแมน่ำ้าเจา้พระยา

ใช ้CVM ประเมนิผลประโยชน์ทางอ้อมจากการท่ีประชาชนมคีวามเครยีดหรอืความกังวลน้อยลงเกี่ยวกับผลกระทบเชงิลบของนำ้าท่วมหลังจากท่ีมีคลองระบายนำ้าหลาก

ยงัไมม่กีารใช ้CVM กับการประเมนิโครงการอ่ืนๆ

7

เครื่องมอืท่ีมศัีกยภาพในการประเมนิการลงทนุด้าน climate change Climate Change Benefit Analysis หรอื CCBA

-- การวเิคราะห์ผลประโยชน์โครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภมูอิากาศ

การวเิคราะห์ประสทิธผิลด้านต้นทนุ (Cost-Effectiveness Analysis)

เครื่องมอืการให้คะแนนและจดัลำาดับความสำาคัญของการลงทนุด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภมูอิากาศ (Climate change investment prioritization and scoring)

การคัดกรองโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภมูอิากาศ (Project portfolio screening for climate change)

8

Climate Change Benefit Analysis (CCBA)

การวเิคราะห์ผลประโยชน์โครงการด้านการ เปล่ียนแปลงสภาพภมูอิากาศ พฒันาโดย

UNDP และ สผ. สามารถบง่ชีว้า่การลงทนุ/โครงการจะมี

ความสำาคัญมากขึน้หรอืไมเ่มื่อเกิดClimate change จากการลดระดับความเสยีหายของผลกระทบจาก climate change (adaptation) หรอืการลดการปลดปล่อยก๊าซเรอืนกระจก (mitigation)

ทำาให้มกีารออกแบบโครงการท่ีตอบสนองต่อ climate change ซึง่จำาเป็นต้องมีการจดัสรรงบประมาณโครงการเพิม่เติม

9

Climate Change Benefit Analysis (CCBA)

การวดัระดับความสำาคัญของผลประโยชน์ท่ีได้จากการปรบัตัว (adaptation) และการลดการปลดปล่อยก๊าซเรอืนกระจก (mitigation) เทียบกับผลประโยชน์ด้านอ่ืนๆ ของโครงการ

การเปรยีบเทียบน้ีสามารถแสดงให้เห็นวา่ climate change สามารถเพิม่ลำาดับความสำาคัญของโครงการได้มากน้อยเพยีงใด

10

Climate Change Benefit Analysis (CCBA)

ใชห้ลัก CBA+Impact Assessment โดยอิงขอ้มูลในอนาคต ปี พ.ศ. 2593

เปรยีบเทียบกรณีท่ีมโีครงการ VS ไมม่โีครงการ และ คำานึงถึง climate change VS ไมค่ำานึงถึง climate change

11

Climate Change Benefit Analysis (CCBA)

อาจเริม่จากฝึกอบรมเจา้หน้าท่ีท่ีมพีื้นฐานทาง เศรษฐศาสตร์ เชน่ เจา้หน้าท่ีจากกรมชลประทานหรอื

สำานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เริม่จาก CCBA แบบรวดเรว็ โดยอิงความเห็นจากผู้

เชีย่วชาญหรอืใชข้อ้มูลหลักฐานจากแหล่งต่างๆ

12

Cost-Effectiveness Analysis (CEA) การวเิคราะห์ประสทิธผิลด้านต้นทนุ เลือกโครงการท่ีมต้ีนทนุตำ่าท่ีสดุจากโครงการต่างๆ ท่ีก่อให้เกิดผล

ประโยชน์ในระดับเดียวกัน หรอืยากท่ีจะประเมนิผลประโยชน์ของโครงการ ไมต้่องยุง่ยากในการ ประเมนิผลประโยชน์ของโครงการ เปรยีบเทียบสดัสว่นของต้นทนุและประสทิธผิลที่ได้รบัจากโครงการ

(cost-effectiveness ratio) ตัวอยา่ง--> เปรยีบเทียบโครงการท่ีก่อให้เกิดผลประโยชน์จากการลด

การปลดปล่อยก๊าซเรอืนกระจก โดยการวดัวา่ใชเ้งินจำานวนเท่าใดในการลดคารบ์อนไดออกไซด์เทียบเท่า หรอืการเปรยีบเทียบโครงการท่ีเก่ียวกับสขุภาพสตัวว์า่โครงการไหนมต้ีนทนุตำ่าท่ีสดุต่อการรกัษาชวีติสตัวห์นึ่งตัว

มคีวามเหมาะสมในกรณีท่ีมขีอ้จำากัดด้านบุคลากรท่ีมพีื้นฐานด้านเศรษฐศาสตรห์รอืมขีอ้จำากัดในด้านเวลาและงบประมาณในการประเมนิโครงการ

13

เครื่องมอืการให้คะแนนและจดัลำาดับความสำาคัญของการลงทนุด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภมูิอากาศ (Climate change investment prioritization and scoring) การจดัประเภทของโครงการ—climate relevance

index (ดัชนีความเก่ียวขอ้งกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมูิอากาศ) พฒันาโดย CPEIR

แสดงความเก่ียวขอ้งหรอืความสมัพนัธกั์บ climate change ในด้านการปรบัตัวและการลดการปลดปล่อยก๊าซเรอืนกระจก ในระดับมาก ปานกลาง น้อยและเล็กน้อย

อาจมปีระโยชน์ไมม่ากนักถ้าทกุโครงการเป็นโครงการท่ีเก่ียวกับ climate change

14

ดัชนีความเก่ียวขอ้งกับ climate change

15

การประเมนิผลประโยชน์เชงิคณุภาพโดยการให้คะแนน

วธิกีารให้คะแนน (scoring) ผลประโยชน์ของโครงการในกรณีท่ีมแีละไมม่ ีclimate change

ให้คะแนนตั้งแต่ 0 ถึง 10 แก่ผลประโยชน์ของโครงการในด้านต่างๆ เชน่ เศรษฐกิจ สงัคม สิง่แวดล้อม ฯลฯ

ทำาได้ยากในทางปฏิบติัเนื่องจากมคีวามซบัซอ้นของการให้คะแนนในกรณีท่ีมแีละไมม่ ีclimate change และการนิยามและกำาหนดขอบเขตผลประโยชน์ท่ีเกิดจากการปรบัตัว

16

17

การคัดกรองโครงการด้าน climate change (Project portfolio screening for climate change)

ชว่ยยกระดับความตระหนักรูถึ้งปัญหา climate change และปลกูฝังเรื่องนี้เขา้ไปในกระบวนการคิดของเจา้หน้าท่ี

ใชต้รวจสอบวา่โครงการท่ีมอียูแ่ล้วมปีระเด็นด้านมาตรการลดการปลดปล่อยก๊าซเรอืนกระจกหรอืการปรบัตัวหรอืไม ่

ใชท้บทวนแผนงาน กิจกรรม หรอืโครงการก่อนการจดัทำางบประมาณ

ทำาให้เกิดการปรบัรายละเอียดของโครงการเพื่อเป็นมาตรการปรบัตัวต่อ climate change

เป็นวธิท่ีีไมยุ่ง่ยาก ดำาเนินการได้อยา่งรวดเรว็และไมก่่อให้เกิดต้นทนุด้านเวลาและการเงินท่ีเพิม่ขึน้มาก

18

ขัน้ตอนการคัดกรองโครงการด้าน climate change

ทบทวนแนวโน้ม CC ในระยะยาว และวเิคราะห์ความเสีย่งและความเปราะบางท่ีมผีลกระทบต่อแผนงานหรอืทรพัยากรท่ีกรมรบัผิดชอบ

กำาหนดลักษณะและระดับผลกระทบจาก CC ของแต่ละสาขาในประเด็นเก่ียวกับความเสีย่งภัยจากการเปล่ียนแปลงสภาพภมูิอากาศ (climate exposure) ความอ่อนไหว (sensitivity) ความเสีย่ง (risk) ความเปราะบาง (vulnerability) รวมถึงมาตรการและการเสรมิสรา้งความสามารถให้มคีวามยดืหยุน่ต่อ CC

พจิารณาผลกระทบจาก CC สำาหรบัการออกแบบและการดำาเนินกิจกรรมและโครงการต่างๆ

ตรวจสอบโครงการทั้งหมดวา่มสีว่นชว่ยในการปรบัตัวต่อ CC อยา่งเหมาะสมหรอืไม ่ถ้ายงัไมม่เีรื่องการปรบัตัว ให้พจิารณาวา่แต่ละโครงการสามารถปรบัเปลี่ยนให้มกีารตอบสนองต่อ CC หรอืไม่

พจิารณาถึงความจำาเป็นของการพฒันาโครงการใหมท่ี่เก่ียวขอ้งกับการปรบัตัวหรอืการลดการปลดปล่อยก๊าซเรอืนกระจก เพื่อเสรมิสรา้งความเขม้แขง็ด้านการรบัมอืกับ CC ของโครงการท้ังหมดท่ีกรมดำาเนินการ

ขอ้เสนอแนะในการบูรณาการปัญหา climate change: Climate Change Benefit Analysis: CCBA ใช ้CCBA แบบรวดเรว็ในการประเมนิโครงการ โดยเฉพาะ

โครงการชลประทานท่ีมกีารวเิคราะห์ CBA อยูแ่ล้ว ควรประเมนิผลประโยชน์ท่ีรอบด้านมากขึน้ของโครงการชลประทาน และสง่เสรมิให้ใช ้CCBA กับโครงการด้านอ่ืนๆ ด้วย

ผู้ปฏิบติั : สำ นักง นเศรษฐกิจก รเกษตร กรมชลประท น ใชผ้ลการวเิคราะห์ CCBA ในการต่อรองด้านงบประมาณกับ

สำานักงบประมาณ ผู้ปฏิบติั : ผู้บรหิ รกระทรวง สรา้งฐานในการวเิคราะห์ CBA ของกระทรวง โดยให้สำานักงาน

เศรษฐกิจการเกษตรและกรมชลประทาน เป็นหน่วยงานสนับสนุนด้านเทคนิคการทำา CBA แก่กรมอ่ืนๆผู้ปฏิบติั : สำ นักง นเศรษฐกิจก รเกษตร

top related