coral lec02

Post on 12-Jul-2015

299 Views

Category:

Environment

4 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

การแพร่กระจายของปะการัง

ปัจจ ัยท ี่ม ีผลต ่อการแพร่กระจายปะการ ัง

1)Depth – ส่วนมากปะการังสร้างแนวปะการังไปจนถึงระดับความลึกมากที่สดุ 30 - 40 เมตร แต่มีบางชนิดอยู่ได้ลึกถึง 6000 เมตร

2) Temperature – ปะการังเจริญเติบโตได้ดีที่อุณหภูมิอยู่ในช่วง 25° C - 29° C. กลุ่มที่เปน็ Ahermatypic corals สามารถอยู่ได้ที่อุณหภูมิ 1° C - 4° C

3) Salinity – Hermatypic corals ทนความเค็มของนำ้าทะเลอยู่ในช่วง 27 - 40 parts-per-thousand

4) Light – ปะการังทุกชนิดที่มีสาหร่ายเซลล์เดียวในเนื้อเยื่อต้องการแสงเปน็ปจัจัยสำาคญัในการดำารงชวีิต ยกเว้นบางกลุ่มที่ไม่มีสาหร่ายเซลล์เดียวในเนื้อเยื่อที่สามารถแพร่กระจายได้ในที่ลึก

5. Run-off and sedimentation เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการแพร่กระจาย มักจะไม่พบแนวปะการังบริเวณปากแม่นำ้าหรือในบริเวณชายฝั่งที่มีปริมาณตะกอนไหลลงจากแผ่นดิน

ตะกอนส่งผลต่อการเจริญเติบโตและองค์ประกองทางสังคมของปะการัง ตะกอนสามารถส่งผลให้ปะการังตายได้ในระยะเวลาที่สั้น นอกจากน้ันหากตะกอนมีปริมาณมากอาจจะทำาให้ลดอัตราการทดแทนที่ของประชากรได้ รวมถงึความหลากหลาย การเติบโตและปกคุลมพื้นที่จนนำาไปสู่การเปลี่ยนแปลงรูปทรงของปะการัง

อยา่งไรก็ตามปะการังมีกลไปในการกำาจัดตะกอนออกจากโคโลนีได้ โดยวิธี active and passive sediment rejection กลยุทธ์ที่ใช้ในขบวนการ active ไดแ้ก่ polyp expansion tentacular and cilliary movement sediment ingestion and mucus formation อยา่งไรก็ตามขบวนการเหล่าน้ีเป็นการสูญเสียพลังงานค่อนข้าง ซ่ึงหากมีการใช้อย่างต่อเน่ืองช่วงระยะเวลาหน่ึงอาจส่งผลให้ปะการังอ่อนแอ และตายในที่สุด

แนวปะการ ัง(Coral Reef)

โครงสร้างหินปนูที่ก่อตัวเป็นแนวใต้ทะเล ในระดับที่ แสงแดดสอ่งถึง โครงสร้างนี้เกิดจาก Calcareous

skeleton ของสิ่งมีชวีิตหลายชนิด แต่ตัวที่เด่นที่สุด คอืปะการัง (hermatypic coral) และสาหร่ายหินปนู

(calcaceous algae)

Turn on and turn off !!!!!!!!

Limiting factors in the coral reef

Nutrition or Space?

• กลไกในการแก่งแยง่พ ื้นท ี่1.Creating longer fighting polyps โดยใช้

sweeper tentacle ซึ่งประกอบด้วย nematocyst จำานวนมาก สามารถยื่นยาวออกมาได้ถึง 5 เท่า

2.Throwing mesenterial filament, ยื่นยาวออกมาภายนอกโพลิป

3.Producing mucus with nematocysts. พบในปะการังดอกเห็ด (Fungia) เมือกจะถูกผลิตออกมาชว่งเวลากลางคนื

4.ปล่อยสารเคมีออกในมวลนำ้า เพื่อยับยั้งการลงเกาะและการเจริญเติบโตของสิ่งมีชวีิตอื่น ๆ ที่อาศัยอยู่ใกล้เคยีง

Sweeper tentacle

การแก่งแย ่งพ ื้นท ี่ (competition for space)

Sinularia

Diploastrea

AcroporaPlatygyra

Acropora

Dead zone

ความสมดุล ในการก่อเกิดแนวปะการงั

• การสร ้าง(Growth)–ทางชวีภาพ–ทางกายภาพ-

เคม ี• การสลาย

(Destruction)– ทางชวีภาพ : Bioerosion

–ทางกายภาพ-เคม ี

สาหร ่ายหินปนู Amphiroa sp.? ขึ้นแทรกระหว ่างก ิ่งปะการ ัง Porites rus

สาหร่ายใบมะกรูด (Halimeda sp.)

หอยมอืเสอื giant clam (Tridacna squamosa)

เศษซากปะการังตาย (coral dead fragment)

การสลาย(Destruction)

• ทางชวีภาพ - Bioerosion–Borer: macroborer, microborer –Grazer

ฟองนำ้าsponge

Mytilid boring bivalves

Mechanism of reef-front progradation by splitting and regrowth of massive colonies

Eroded by boring organisms e.g. Upogebia shrimp,Pendum spondyloideum bivalves

Fallen block of massive Porites lutea

แนวปะการังอ่าวตงัเข็น เกาะภูเกต็

อ่าวตังเข็นจ.ภูเก็ต

ปลานกแก้ว Parrotfish (Scarus sp.)

Grazer

เมน่หนามดำา (Sea urchin)

Filamentous algae บนพืน้ผิวปะการังตาย รอยครูดไถ

(grazing scar)

เกาะไผ่จ .กระบี่

สิ่งมีชีวติในแนวปะการัง

• กลุ่มสตัว ์ พ ืช ท ี่เปน็ต ัวหล ัก (Essential fauna & flora)

• กลุ่มสตัว ์ พ ืช ท ี่เข ้ามาเก ี่ยวข ้อง(Associated fauna & flora)

•Epifuana & epiflora•Mobile fauna

Sabellid - (tube polychaete worm)

Sea anemone & clown fish

– หนอนฉตัร Christmas worm

ปกูระด ุม anemone crab

ดาวมงกุฎหนาม (Crown of thorns starfish)

กุ้งม ังกร (Spiny lobster)

กุ้งพยาบาล (cleaner shrimp)

ทากเปลอืย Nudibranch

ฟองนำ้า sponge

ฟองนำ้า Sponge (Xestospongia sp.)

Biofilter - เครื่องกรองนำ้า

เพร ียงห ัวหอม Tunicate (ascidian)

ดาวขนนก (Feather sea star)

ปะการ ังอ ่อน (Soft coral)

ปะการังอ่อน (soft coral)

กัลปังหา (sea fan)

ปากกาทะเล (sea pen)

หอยมือเส ือ Giant clam (Tridacna sp.)

หอยมือหมี Rock oyster (Hyotissa hyotis )

ปลงิทะเล Sea cucumber (Obhadschia graeffei)

สาหร่ายเห ็ดห ูหนู (Padina sp.)

ปลาหมึกหอม

ม้านำ้า

ปลากะร ัง(เก ๋า) ลายตุ๊กแก Cloudy grouper

ปลาสร้อยนกเขา Sweetlip fish

ปลากระพงแถบเหลือง

ปลาบู่ก ัลป ังหาblack coral goby

ปลาไหลทะเล Moray eel

ปลามา้ลาย Zebra fish

ปลาสาก Baracuda

ฉลามลายเสอืดาว Leopard shark (Stegostoma fasciatum)

ผลผลิตภายในระบบนิเวศแนวปะการัง

ผู้ผลิต (producer) หรือผู้บริโภค(consumer) ?????

อัตราการผลิตเบือ้งต้นสุทธแิละมวลชวีภาพของระบบนิเวศ

(Whittaker and Liken, 1973)ระบบนเิวศ พืน้ที่ (x106 km2) ค่าเฉลี่ยอัตรา ค่าเฉลี่ยมวลชีวภาพ

การผลิตเบื้องต้น(กก./ปี)

สทุธิ (กรัม/ม2/ปี) ป่าดิบฝนเขตร้อน 17 220045

พืน้ทีเ่พาะปลูก 14 650 14

ทะเลเปิด 332 125 0.003

แนวปะการัง 0.6 2500 1.2และหญ้าทะเล

Grazing food chain – parrot fish, sea urchin, gastopod etc.

การถา่ยทอดผลผลิต (กก./ตร.กม./ปี) ภายใน trophic level ต่างๆ ที่ French Frigate Shoals

การแพร่กระจายของแนวปะการัง

• เขต Indo-Pacific• เขต Tropical

Atlantic

เปร ียบเท ียบความแตกต่างของแนวปะการ ัง

• Indo-Pacific– fringing reef,

Barrier reef, Atoll

– algal ridge– coral ~ 70

genera, ~ 400 spp.

– Heliopora (blue coral)

– less gorgonian– more soft coral– Tridacna

• Tropical Atlantic– only fringing

reef– no algal ridge

(or very scarce)

– coral ~ 26 genera, ~ 35 spp.

– no Heliopora– more

gorgonian– less soft coral– no Tridacna

Gorgonian in Caribbean

Acropora palmata in Caribbean

การแพร่กระจายของปะการังในนา่นนำ้าไทย

- ลมมรุสมตะวันตกเฉียงใต้- ลมมรสุมตะวันออกเฉยีงเหนือ- ฝั่งทะเลอันดามนั- ฝั่งอ่าวไทยฝั่งตะวันออก- ฝั่งอ่าวไทยฝั่งตะวันตก

West coast - Phuket

Sargassum oligocystum

encrusting fire coral

encrusting staghorn coral

Cauliflower coral (Pocillopora meandrina)

Coral encrusting on rock surface

ปะการ ังเขากวาง Staghorn coal (Acropora robusta)

Coral community on rocky coast (windward site)

ประเภทของแนวปะการงั

•Fringing reef•Barrier reef•Atoll

Fringing reef

Barrier reef

Atoll

การพัฒนาการก่อต ัวของแนวปะการ ัง แบบต่างๆ (Darwin’s theory)

Fringing reef

Fringing reef

Barrier reef

lagoon

Great Barrier Reef

Australia

Atoll

lagoon

Sand cay

Typical Reef Zonation

•Reef flat - พื้นราบแนวปะการ ัง

•Reef edge - ไหล่แนวปะการงั

•Reef slope - ลาดชัน

ชายหาดป่าชายเลนโซนพื้นราบ(Reef flat)

โซนไหล่(reef edge)

โซนลาดชัน(reef slope)

ระดับนำ้าทะเลตำ่าสุด

Coral reef zonation

ลักษณะแนวปะการังฝั่งอ่าวไทยตะวันตก

Upper slope

Lower slope

ระดับนำ้าทะเล

Reef flat

Tidal pool on reef flat

Padina

microatoll

Acropora sp. (digitate form) on reef flat

Reef flat - สมิลิัน

Front part of reef flat

Front part of reef flat

ปะการ ังช ่องเล ็กแบบแผ่น (Montipora aequituberculata)

Reef edge zone

Spur & groove system (surge channel)

surge channel

Algal ridge

Zoanthid (Palythoa sp.)

Reef edge

ปะการ ังโขด (Porites lutea)

Porites lutea

Reef edge - เกาะบูตอง

Lithophyllon sp.

ปะการ ังน ิว้ (Porites nigrescens) บน reef slope

Reef slope - เกาะหลีเป๊ะ

mid-slope zoneHydnophora rigida

เกาะ 8 - สิมลิัน

Acropora grandis

ปะการ ังแปรงล ้างขวดBottlebrush coral(Acropora echinata)

ปะการ ังปลายเข ็ม Needle coral (Seriatopora hystrix)

ปะการ ังถว้ยสมอง (Lobophyllia hemprichii)

ปะการ ังสมอง (Symphyllia sp.)

ปะการ ังสมอง (Platygyra daedalea)

ปะการ ังโขด (Porites lutea) บริเวณส่วนล่างของ slope zone

Porites (Synaraea) rus on lower reef slope

Lower reef slope zone

ปะการังช่องหนาม (Echinopora lamellosa)

ปะการ ังจาน Disc coral (Turbinaria reniformis)

ปะการ ังดาวใหญ่ (Diploastrea heliopora)

ปะการ ังก ิง่ เข ียว - นำ้าตาล (Dendrophyllia sp.)

ฟองนำ้าครก (Xestospongia sp.)

กลัป ังหา Rhumphella sp.

Diagram of atoll (แสดงด้านเด ียว)

แนวปะการ ังแบบหย่อมบนพื้นทราย (patch reef)

Thick staghorn coral(Acropora palifera)

Fire coral(Millepora sp.)

บริเวณกระแสนำ้าไหลเชี่ยว

กองหินใต ้น ำ้า

กองหินใต้น ำ้า

กองหนิใต้น ำ้า

Dendronephthya sp.

Nephthea sp.

Ecological services of coral reef ecosystem (Moberg and Folke, 1999)

Physical structure Biotic services Biotic services biogeo-chemical services services (whithin ecosystem) (between ecosystem)

Shoreline protection Maintenance export organic Nitrogen fixation of habitat production to pelagic foodwebBuild up of land Maintenance of Ca2/Ca budget control biodiversity and genetic library

ปจัจัยที่มีผลทำาให้แนวปะการังเสื่อมโทรม• พายุ• การระเบ ิดของภเูขาไฟ• การเปล ี่ยนแปลงของอุณหภมูนิ ำ้าอย ่างผ ิดปกติ• ปรากฏการณ์น ำ้าทะเลลงมากผิดปกติ• Predator : Acanthaster planci• โรค• มนษุย ์• ปรากฏการณ์น ำ้าทะเลเปล ี่ยนส ี (Red tide)

ผลกระทบจากพายุ ( ทีเ่กาะกลาง อุทยานฯตะรุเตา)

ปะการ ังฟอกขาว (Coral bleaching)

What turns the coral white?

- As a stress response, corals expel the symbiotic zooxanthellae from their tissues

- The coral tissue is clear, so you see the white limestone skeleton underneath

Healthy coral with algae

Bleached coral with no algae

• ปรากฏการณ์แนวปะการังฟอกขาว มิได้เพิ่ง เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก นักวิทยาศาสตร์ สงัเกต

เห็น ความผิดปรกติ จากปรากฏการณ์ แนว ปะการัง ฟอกขาว มาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๗

โดยพบว่า ปะการังเกิดการฟอกขาว อย่าง กว้างขวาง ทั่วทั้งมหาสมุทรแปซิฟิก

• Over 20% of the world’s coral reefs have sustained damage in the last 5-7 years from bleaching and disease

ปะการังฟอกขาว (coral bleaching) ในประเทศไทย

• ค .ศ . 1991, 1995, 1998 2001

โอกาสเก ิด coral bleaching …ได้มาก เม ื่อ ..

• high solar radiation & temperature• clear water• calm sea, slack water during high SST• shallow water

Solar radiation• Both photosyntheticaly active

radiation (PAR, 400-700nm) and ultraviolet radiation (UVR, 280-400nm) have been implicated in bleaching.

• ทำาให้เกิด oxidative stress

• เมือ่อุณหภูมขิองนำ้าทะเลเพิ่มขึน้สาหร่ายเซลล์เดียวที่อยูภ่ายในเน้ือเยือ่ปะการังมี การผลิตออกซิเจนในปริมาณมากเกินเรียกว่า "oxidative stress" จากน้ัน

ออกซเิจนเหล่าน้ีจะเปล่ียนรูปไปอยูใ่นรูปที่มพีิษต่อปะการัง ดังน้ันเมือ่มขีบวนการเหล่าน้ีเกิดขึน้ปะการังจึงมีกลไกในการปรับตัวโดยการขบัสาหร่ายเซลล์เดียวที่

อยูใ่นเน้ือเยื่อออกเพื่อลดการผลิตออกซเิจนที่เพิม่ขึน้ ตามปกติสาหร่ายเซลล์เดียวทีอ่ยูใ่นเน้ือเยือ่ปะการังจะมกีลไกในการรักษาสมดุลของการเกิดภาวะน้ีอยู่

แล้วแต่เมือ่มี oxidative stress เกิดขึน้ปะการังมีการขับสาหร่ายเซลล์เดียวออก มากจึงทำาให้การรกัษาสมดุลเสียไป ซึ่งรูปแบบในการสูญเสีย หรือการขับ

สาหร่ายเซลล์เดียวออกจากรา่งกายจะแตกต่างกันไปในหลายลักษณะกล่าวคือ

1) Exocytosis มีการหลุดออกของ zooxanthellae จะถูกปล่อยออก มาเป็นเซลล์เดี่ยวๆ เม่ือมีอุณหภูมิสูงขึน้ ขบวนการ metabolism จะสูง

ตามไปด้วย

2) Apoptosis เป็นการกำาจัดเซลล์ที่ใกล้จะตายออกไป มี vacuolar membrane ติดออกมาด้วยซ่ึงจะเกิดในภาวะปกติ

3) Necrosis พวก zooxanthellae หลุดออกจากเน้ือเยื่อปะการังแต่ สามารถกลับเข้าสู่เน้ือเยือ่ปะการังได้อีก

4) Pinching off การหลุดออกของ zooxanthellae มีเน้ือเยือ่ปะการัง ติดออกมาด้วย โดยส่วนมากการฟอกขาวจะพบในรูปแบบน้ีมาก

5) Host cell detachment จะมีการออกจากเน้ือเยื่อปะการังโดยการ แยกออกจากชั้น endoderm แล้วปล่อย zooxanthellae ทั้งชุดส่งผล

ให้เซลล์ตาย ฉะน้ันโอกาสฟื้นตัวจึงเป็นไปได้ยาก

Monthly mean sea surface temperature , Phuket

Mean for 1961-1990

threshold

Phuket

• 1900-1999 saw the average temperature of Earth’s surface rise by 0.6°C

• → Expect 2000-2100 to increase by another 1.4 - 5.8°C !

Bleaching Acropora

เก ิดการ ฟอกขาว (bleaching) ในปะการ ังดอกจอก (Pectinia alcicornis)

ปะการ ังโขด (Porites lutea) ฟอกขาวเป ็นบางสว่น (partly bleaching)

• ปะการังที่เจริญเติบโตเร็วและมีอัตราการเผา ผลาญพลังงานสงู เปน็พวกที่ไวต่อการเกิด

ฟอกขาว นอกจากนีย้ังอาจขึ้นกับความ ทนทานของ zooxanthellae ที่อยู่ภายใน

เนื้อเยื่อ ปะการังแต่ละชนิดอาจมสีายพันธุ์ ของ zooxanthellae ต่างกัน ทำาให้ตอบ

สนองต่ออุณหภูมิที่สูงและปริมาณแสงแดด (ที่ระดับความถ่ีที่ใชใ้นการสังเคราะห์แสง) ต่างกันได้

• ความต้านทานต่อการเกิดการฟอกขาว ยังขึ้น อยู่กับว่าปะการังนัน้ๆ ได้ผา่นการกระตุ้นด้วย

ปจัจัยบางอย่างมาก่อนจนทำาให้เกิดการปรับ ตัวในระยะต่อมาหรือไม่ เชน่ ปะการังใน

บริเวณนำ้าตื้น หากได้รับแสงแดดมากในระยะ แรก ต่อมาเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นอย่างผิดปกติ ก็

ไม่เกิดการฟอกขาวแต่อย่างใด

Can corals recover?

-Yes, if the stress doesn’t last too long-Some corals can eat more zooplankton to help survive the lack of zooxanthellae-Some species are more resistant to bleaching, and more able to recover Photos: AIMS and GBRMPA

Can corals recover?

-Corals may eventually regain color by repopulating their zooxanthellae-Algae may come from the water column-Or they may come from reproduction of the few cells that remain in the coralJeff Miller, National Park Service

Can corals recover?

-Corals can begin to recover after a few weeks

Jeff Miller, National Park Service

• ปะการังที่ฟอกขาวสามารถฟื้นตัวได้ในระดับ หนึ่ง การที่ปะการังฟื้นตัวได้ เปน็เพราะสภาพ

แวดล้อม (อุณหภูมินำ้าทะเล) กลับเข้าสู่สภาพ ปกติ และโดยปกติแล้ว ในปะการังที่ฟอกขาว เต็มที่ ก็ยังคงมี zooxanthellae หลงเหลือ

อยู่บ้าง

• ความลึกของนำ้าทะเลเปน็ปจัจัยสำาคัญที่สัมพันธ์กับปริมาณแสงแดดที่จะไปมีผลกระ

ทบกับปะการัง เปน็ที่น่าสังเกตว่าในพื้นที่ที่ ศึกษาแต่ละแห่ง ปกติจะมีอุณหภูมิในชั้นมวล

นำ้าสูงเท่าๆกัน แต่ปะการังที่เกิดการฟอกขาว จะพบอย่างเด่นชดัในที่ตื้นมากกว่าในที่ลึก

หรือแม้กระทั่งภายในโคโลนเีดียวกัน อย่างที่พบในพวกที่ฟอกขาวเปน็บางสว่นของโคโลนี ด้านที่รับแสงมาก (เชน่ด้านบนของก่ิง

ปะการัง Acropora) เกิดการฟอกขาวใน ขณะที่ใต้ก่ิงยังมีสภาพเป็นปกติ ลักษณะเชน่

นี้ เปน็ผลกระทบที่เกิดจากปจัจัยร่วมระหว่างอุณหภูมิสงูและแสงแดด

• ปัจจัยเสริมทีก่่อให้เกดิการฟอกขาวของปะการังได้ ง่ายข้ึนในช่วงทีอุ่ณหภมูขิองนำ้าทะเลข้ึนสูง ก็คือ

ลักษณะการเคลื่อนทีข่องมวลนำ้า มรีายงานจากหลายทีท่ีก่ล่าวอ้างถึงการฟอกขาวว่ามโีอกาสเกิดได้มากในบริเวณที่มกีารไหลเวียนของกระแสนำ้า

นอ้ย ( เช่น Williams and Bunkley-Williams, 1990 ) โดยเฉพาะในบริเวณทีน่ำ้าตื้น หากกระแส

นำ้าไมห่มนุเวียนมากพอ จะทำาให้อุณหภมูยิงัคงสูง อยู่เป็นชว่งเวลานาน ในบริเวณที่ทะเลเรียบกม็ี

โอกาสเกิดการฟอกขาวของปะการังได้มากเช่น เดียวกัน เพราะแสงแดดมโีอกาสผ่านชั้นนำ้าลงถึง

ปะการังได้มากข้ึน แสงแดดจะถูกดูดกลืนไปกับนำ้า ทะเลทีม่คีลื่นได้มากกว่าทะเลทีร่าบเรียบมากถึง 2-4

เทา่ ทีช่ั้นความลึกจากผิวจนถงึ 3 เมตร (Dustan, 1982)

ซากปะการังหลังจากการฟอกขาว ปี พ.ศ. 2538 (เกาะสมิิลัน)

Dead Acropora

Bleaching and coral disease

-Coral diseases are found around the world

-High temperatures and bleaching can leave corals more vulnerable to disease

-Can quickly kill part or all of the coral colony

Marilyn E. Brandt, University of Miami

– โรคปะการัง Coral disease

BLACK BAND DISEASE• Appearance on coral: ปรากฏเป็นแถบสีดำากว้าง 5 –

40 มม. เน้ือเยื่ออีกด้านยังคงเป็นปกติ ในขณะที่อีกด้านตาย และโครงร่างปรากฏให้เห็นเป็นสขีาว แถบสีดำาสามารถ

ขยายกนิโคโลนีในอตัรา 4 มม. ต่อวัน• Coral Families affected: เกิดขึ้นในหลายสกุล

Pocilloporidae, Acroporidae, Faviidae, Poritidae, Pectiniidae, Mussidae, Dendrophylliidae, Siderastreidae รวมทั้งกัลปังหาและปะการังอ่อน (Alcyonacea) และ ปะการังไฟ (Hydrocorallina)

• Cause: เกิดจาก Cyanobacteria อย่างไรก็ตามอาจจะเกิด จากสาเหตุอืน่ ๆ ด้วย

• Distribution and abundance: แพร่กระจายได้แถบGBR จำานวนที่พบอาจจะไม่มากนักและยังไม่ขยายวงกว้าง

ในช่วง 5 ปี• Comments: จัดได้ว่าเป็นโรคปะการังชนิดแรกที่รายงาน

โดยนักวิทยาศาสตร์ ในปี 1973 รายงานในทะเล แคริบเบียน ใน GBR รายงานในปี 1994

WHITE SYNDROME

• Appearance on coral: แถบสีขาว เป็นจุดสีขาว หรือหย่อมสขีาวบนโคโลนีปะการัง

• Coral Families affected: Pocilloporidae, Acroporidae, Faviidae and Poritidae.

• Cause : White syndrome เป็นการเรียกช่ืออาการที่มี ลักษณะปรากฏที่ใกล้เคียงกัน สาเหตุที่เกดิยังไม่ทราบแน่ชัด

อย่างไรก็ตามบริเวณเน้ือเยื่อที่มีอาการพบ Gram-negative rod-shaped bacteria แต่ปะการังบางชนิดที่มีแบคทีเรีย

ชนิดน้ียังคงมีอาการปกติ โรคแถบขาวบางชนิดพบเช้ือVibrio

• Distribution and abundance: White syndrome พบ ใน Caribbean, the Philippines, the Great Barrier

Reef, และ Red Sea. • Comments: White syndrome diseases เช่น white

pox, white band และ white plague เป็นผลกระทบ หลักในทะเลแคริบเบียนและมีแนวโน้มเพิม่มากขึ้น จัดเป็นก

ลุ่มโรคที่พบได้มาก

SKELETAL ERODING BAND

• Appearance on coral: อาการคล้ายคลึงกับ black band disease อย่างไรก็ตาม eroding band มีเส้นขนสี

ดำายื่นออกมา กลุ่มน้ีนอกจากส่งผลต่อเน้ือเยื่อจังส่งผลต่อโครงร่างแข็งอีกด้วย

• Coral families affected : Pocilloporidae, Acroporidae, Faviidae, Poritidae, Fungiidae และ Merulinidae.

• Cause: กลุม่สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (eukyryotic protozoan: Halofolliculina corallasia ) ปกคุลม ดูเหมือนเส้นขน

• Distribution and abundance: Red Sea, Indian Ocean และ GBR

• Comments: โรคน้ียังไม่มีรายงานจาก Caribbean หรือ Atlantic reefs.

BROWN BAND• Appearance on coral: แถบสีนำ้าตาล บางครั้งมีแถบสีขาวปรากฏระหว่างแถบสีนำ้าตาลกับเน้ือเยื่อปกติ

• Coral families affected: At least 18 species of Acroporidae, and a few species of Pocilloporidae and Favidae.

• Cause: brown band เกิดจากสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวHelicostoma nonatum พวกน้ีจะกินสาหร่ายเซลล์เดียวในเน้ือเยื่อ

• Distribution and abundance: ยังมีรายงานน้อย• Comments: Brown band was recorded for the

first time on the Great Barrier Reef in 2003.

The ciliate Helicostoma

nonatum

BLACK NECROSING SYNDROME

• Appearance on coral: Dead, black patches eating away tissue and leaving a white skeleton.

• Coral Families affected: Gorgonacea • Cause: A fungus that has not yet been

identified. • Distribution and abundance: Found on

many gorgonian corals on mid-shelf and outer-shelf reefs in the northern Great Barrier Reef.

• Comments: Gorgonians, or sea fans, are soft corals with a semi-rigid calcareous skeleton. In the Caribbean, they are very susceptible to disease, but little is known about gorgonian disease on the Great Barrier Reef.

PINK SPOT

• Appearance on coral: ปรากฏเป็นสีชมพู • Coral species affected: Porites compressa • Cause: Pink spot เกิดจากพาราสิตหนอนตัวแบน

Podocotyloides stenometra พวกน้ีมีวงจรชีวิตสามช่วง ช่วงแรกจะเป็นพาราสิตบนหอย ในขณะที่ช่วงที่สองจะ

เข้าไปอยู่ในเน้ือเยื่อปะการังทำาให้เน้ือเยื่อของปะการัง ปรากฏเป็นสีชมพู ซ่ึงทำาให้ปลาผีเสื้อเข้ามากนิเน้ือเยื่อ

ปะการัง จากน้ันก็จะเข้าไปอยู่ในปลาผีเสื้อเป็นระยะสุดท้าย• Distribution and abundance: Pink spot has only

recently been recorded on the Great Barrier Reef.

• Comments: Once the infected polyp has been eaten by the butterfly fish, healthy polyps regenerate from the coral.

CORAL TUMORS• Appearance on coral: ปรากฏเป็นการบวมของผิวด้านบน

• Coral species affected: Tumours ส่วน มากเกิดในปะการังรูปทรงแบบสมอง มีพบ

บา้งบนปะการังเขากวาง• Cause: สาเหตุที่แน่ชดับงัไม่ทราบ แต่

เนื้อเยื่อบริเวณที่บวมมีการเติบโตที่รวดเร็วคาดว่าเกิดจากการทำางานของเซลล์ที่ผดิปกติ

• Distribution and abundance: ยังมีการ บนัทึกน้อย สว่นมากมีรายงานจาก GBR

• Comments: การบวมจะลดลงเมื่อปะการังเจริญเติบโตเพิ่มขึ้น

ปลาดาวหนาม Crown-of-thorns starfish (Acanthaster planci)

• It is called an extraoral feeder since in order to feed it forces its stomach through its mouth. The stomach then is thought to secrete an enzyme which breaks down the coral tissue, The feeding process may take from 4-6 hours. Once digestion is completed the stomach is retracted and the starfish moves off leaving behind a white coral skeleton

• Crown-of-thorns starfish have been estimated to consume about 5-6 m2 of coral tissue per year Like many other starfish, it may survive without feeding for up to 9 months. During such times it is thought to live off energy reserves stored within its body.

Standing dead Acropora

หอยสงัข ์แตร (Triton) เป ็นผ ู้ล ่าตามธรรมชาติต ่อปลาดาวหนาม

• Recent studies have shown that a large female starfish (about 40 cm in diameter) may produce about 60 million eggs during one spawning season.

Grazer !!!!! bioerosion

การขุดแร่ในทะเล (อ่าวพงังา)

ผลกระทบจากตะกอนที่เก ิดจากการทำาเหมอืงแร ่ในทะเล

โซนพืน้ราบเสือ่มโทรม (แหลมกรังใหญ่)

ป่าตอง ภเูก็ต

Filamentous algae

เกาะไผ่ พพีี

เกาะราวี

Spear fishing

Boat grounding

Sea walker!

การฟื้นตัวของแนวปะการัง

• ปจัจ ัยท ี่ต ้องค ำานงึถ ึง– แหล่งพ ่อแม ่พ ันธ ุข์องปะการ ัง– ร ูปแบบการสบืพันธ ุข์องปะการ ัง– กระแสนำ้าในแนวปะการ ัง– พื้นแข็ง (hard substrate) สำาหร ับการย ึดเกาะของตวัออ่นปะการ ัง

– สิง่ม ีชวี ิตอ ืน่ท ี่เปน็ต ัวแก ่ งแย ่งพ ื้นท ี่(competitor for space)

สาหร่ายหนิปูน Calcareous algae

สาหร่าย Valonia

สาหร่ายใบมะกร ูด (Halimeda sp.) ขึ้นแทรกระหว่างก ิง่ปะการ ัง Porites (Synaraea) rus

สาหรา่ยหหูนู ู Padina sp.

สาหร่าย Peyssonelia sp.

ซากปะการังปกคลุมด้วยสาหร่าย (filamentous algae)

Sea urchin grazing on filamentous algae

Parrotfish & rabbitfish grazing on filamentous algae

พรมทะเล (zoanthid)

พรมทะเล (zoanthid) ปกคลมุซากปะการ ัง (ทีเ่กาะส ิม ิลนั)

ดอกไม้ทะเลเลก็ (corallimorph)

เพรียงหวัหอม (ascidian)

ปะการ ังอ ่อนหนังปมเลก็ (Sinularia sp.)

Fast growing Acropora spp.

Slow growing massive coral (Porites lutea)

ปะการังดอกไม้ทะเล (Goniopora sp.) ทนต่อตะกอน

Artificial reef

แนวทางการจ ัดการทร ัพยากรปะการ ังกำาหนดเขตการใช้ประโยชน์ การออกกฎหมาย การควบคุมดูแล การจัดให้ประชาชนมสี่วนร่วมในการจัดการ อนุรักษ์สร้างมาตรการป้องกันความเสือ่มโทรม การสำารวจ การวิจัย เพือ่ฟื้นฟูแนวปะการังที่เสื่อมโทรม

การกำาหนดเขตการใช้ประโยชนใ์นแนวปะการ ัง

เขตการดูแลของทอ้งถ ิ่น (Local management zone)เขตการใช้ประโยชนเ์พ ือ่การทอ่งเท ีย่วและนนัทนาการ เขตการทอ่งเท ีย่วหนาแนน่ (Intensive tourism zone) เขตทอ่งเท ีย่วธรรมชาติ (Eco-tourism zone) เขตอนุร ักษ ์ เพ ือ่ความสมดุลของระบบนเิวศและการวจิ ัย (Preserve zone)

โครงการจดัการทรพัยากรปะการงั - โดยกรมประมงลกัษณะงาน

ดา้นการจดัการอนรุกัษ–์ โดย กองแผนงานและนโยบาย กองอนรุกัษท์รพัยากรประมง กองฝกึอบรม ( )สำานกังานประมงจงัหวดัอ ำาเภอ ชายฝัง่ทะเล

ดา้นการวจิยั– โดย สถาบนัวจิยัชวีวทิยาและประมงทะเล ศนูยพ์ฒันาประมงทะเลอา่วไทยฝัง่ตะวนัออก

ศนูยพ์ฒันาประมงทะเลอา่วไทยตอนกลาง

แผนทีแ่นวปะการงัในนา่นนำ้าไทย เลม่1 อา่วไทย เลม่2 ทะเลอนัดามนั

สรปุผล . . การส ำารวจแนวปะการงัในชว่งป ีพศ 2538 – 2542 ขนาดพืน้ท ีแ่นวปะการงัทางฝ ัง่อา่วไทย~ 75 . .ตรกม ขนาดพืน้ท ีแ่นวปะการงัทางฝ ัง่ทะเลอนัดามนั~ 78 . .ตรกม

สภาพแนวปะการงั( )เฉพาะบรเิวณขอบของแนวปะการงัสมบรูณด์มีาก สมบรูณด์ ี สมบรูณป์านกลาง เส ือ่มโทรม เส ือ่มโทรมมาก

อา่วไทย 16.4% 29.0% 30.8% 10.9% 12.8%ทะเลอนัดามนั 4.6% 12.0% 33.6% 26.5% 23.3%

Indian Ocean Pacific Ocean

Atlantic

top related