lab cardiovascular system - naresuan university cardiovascular … · (atherosclerosis) •...

Post on 24-Apr-2020

4 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

Cardiovascular system

Cardiovascular system• กายวิภาคปกติของหัวใจและหลอดเลือดแดงใหญ• ภาวะผนังหลอดเลือดแดงแข็งตัว (atherosclerosis)• ภาวะกลามเนื้อหัวใจจากการขาดเลือด (myocardial

infarction)• ลิ้นหัวใจติดเชื้อ (infective endocarditis)• เยื่อหุมหัวใจอักเสบ (pericarditis)• กลามหัวใจอักเสบรูมาติก (rheumatic carditis)• กลามเนื้อหัวใจอักเสบจากเชื้อไวรัส (viral myocarditis)

2.

3.

OC

SV

C

1.Ao

AcAAoA

DALCA

RCA

LARA

Apex

RVLV

PT

PMCT

VL

AR

กายวิภาคปกตขิองหัวใจและหลอดเลือดแดงใหญ

• รูปที่ 1. ภาพหัวใจปกติและหลอดเลือดแดงใหญ aorta– AcA = Ascending aorta– AoA = Aortic arch– PT = Pulmonary trunk– DA = Descending aorta– RA = Right atrium– LA = Left atrium– RV = Right ventricle– LV = Left ventricle– RCA = Right coronary artery– LCA = Left coronary artery

กายวิภาคปกตขิองหัวใจและหลอดเลือดแดงใหญ

• รูปที่ 2. ลิ้นหัวใจ semilunar valve (aortic และ pulmonary valve)– Ao = Aortic root– C = Cusp of valve– SV = Sinus of Vulsava

• รูปที่ 3. ลิ้นหัวใจ Atrioventricular valve (tricuspid และ mitral valve)– VL = Valve leaflet– PM = Papillary muscle– CT = Cordae tendineae– AR = Annular ring

Mild

Moderate

Severe

ภาวะผนังหลอดเลือดแดงแข็งตัว (atherosclerosis)

• ภาวะผนังหลอดเลือดแดงแข็งตัว หรือ atherosclerosis เกิดในหลอดเลือดขนาดใหญและขนาดกลางไดแก aorta, coronary artery, carotid artery เปนสาเหตุของภาวะกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด และหลอดเลือดเลี้ยงสมองอุดตัน (stroke) สาเหตุเกิดจากการอักเสบของผนังหลอดเลือดเนื่องไดรับ injury ตางๆ ไดแก สารเคมีในควันบุหรี่ ความดันโลหิตสูง คอเรสเตอรอลในเลือดสูง และโรคเบาหวาน ทําใหมีการทํางานที่ผิดปกติของเซลลเยื่อบุหลอดเลือด (endothelial dysfunction) ทําใหมีสารไขมนัสะสมในผนังหลอดเลือด รวมกบัมีเซลลอักเสบเขามาทําลายเกิดเปนกอนแข็งนูนขึ้นมา เรียกวา atheromatous plaque ในรูปเปน atheroslcerosis ของ aorta

1. 2.

Lumen

Tunica intima

Tunica media

Tunica adventitia

FC

LC

ภาวะผนังหลอดเลือดแดงแข็งตัว (atherosclerosis)

• รูปที่ 1. เปน histology ของ normal coronary artery ผนังหลอดเลือดประกอบดวย 3 ชั้น คือ

1. Tunica intima ชั้นในสุดประกอบดวย endothelium และ internal elastic lamina

2. Tunica media ชั้นกลางประกอบดวย smooth muscle และ elastic fibers เปนสวนใหญ

3. Tunica adventitia ชั้นนอกสุดประกอบดวย connective tissue หลอดเลือดขนาดเล็กและเสนประสาท

ภาวะผนังหลอดเลือดแดงแข็งตัว (atherosclerosis)

• รูปที่ 2. หลอดเลือด coronary artery ที่มี atheromatous plaque ประกอบดวย

1. Fibrous cap สวนบนสุด ประกอบดวย fibrous collagen, smooth muscle cells และ เซลลอักเสบ

2. Central lipid core สวนแกนในของ plaque ประกอบดวยไขมนัชนิด cholesterol และเศษเซลลที่ตาย

Plaque ที่โตมากๆจะอุดตัน ทําให lumen ตีบเล็กลง สงผลใหเลือดไปเลี้ยงของอวัยวะไมเพียงพอ ทําใหเกิดภาวะ ischemia

1. 2.

Tb

CA

AP

Tb

TM

ลิ่มเลอืด (thrombus) ในหลอดเลอืด coronary ที่แข็งตัว

• รูปที่ 1. เปนหนาตัดของหลอดเลือด coronary artery (CA) ซึ่งมีลิ่มเลือด (Tb) อุดภายใน

• รูปที่ 2. เปน histology section แสดงใหเห็นถึงลิ่มเลือด (Tb) ที่อุด lumen ทัง้หมด และมี atheromatousplaque ของผนังหลอดเลือดดวย TM = tunica mediaAP = atheromatous plaqueTb = thrombus

1. 2.

HR

NZ

PW

IS

RV

LV

Nu

RC

Cp

ภาวะกลามเนื้อหวัใจตายจากการขาดเลือด (myocardial infarction)

• รูปที่ 1. เปนหัวใจหลังจากเกิดกลามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือดไดประมาณ 5-10 วัน บริเวณที่มีพยาธิสภาพคือ anterior wall ของ left ventricle และ interventricular septum (IS) ประกอบบริเวณเนื้อตาย (NZ=necrotic zone) และลอมรอบดวยบริเวณที่มีการอักเสบ (HZ=hyperemic zone)PW = posterior wallRV = right ventricleLV = left ventricle

ภาวะกลามเนื้อหวัใจตายจากการขาดเลือด (myocardial infarction)

• รูปที่ 2. เปนภาพ histology ของบริเวณกลามเนื้อหัวใจตาย จะเห็น cytoplasm (Cp) สีชมพูของกลามเนื้อหัวใจที่ไมมี nucleus หรือ nucleus (Nu) กําลงัหายไป การตายของเซลลแบบนี้เรียกวา coagulative necrosis นอกจากนี้ยังมีเลือดออกระหวางเซลลกลามเนื้อหัวใจดวยเนื่องจากมีการ

ทําลายของหลอดเลอืด capillary ที่ไปเลีย้งเซลลกลามเนื้อหัวใจRC = red blood cells

1.

2.

AV

MVLV

Ao

Vg

VLf

Vg

การอกัเสบติดเชื้อของลิ้นหวัใจ (infective endocarditis)

• เชื้อที่เปนสาเหตุของการติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจที่พบบอยที่สุดคือ s. viridans และ S. aureus เกดิจากการที่เชื้อแบคทีเรียหลุดเขามาในกระแสเลือดแลวมาเกาะที่ลิน้หัวใจทําใหเกิดการติดเชื้อขึ้น

• รูปที่ 1. เปนลิน้หัวใจ aortic valve (AV)ที่มีเชื้อแบคทีเรียมาจับและเพิ่มจํานวนขึ้นมาจํานวนมากจนเกิดเปนกอนขึ้นมาเรียกวา vegetation (Vg)

• รูปที่ 2. เปน histology ของ vegetation ทีล่ิ้นหัวใจ บริเวณกอนสีน้ําเงินที่อยูใตลิ้นหัวใจ (valve leaflet [Lvf]) คือบริเวณที่มีเชื้อแบคทีเรียรวมกลุมกนัอยู

1.

2.

3.

การอักเสบของเยื่อหุมหัวใจ (pericarditis)

• รูปที่ 1. เปนการอักเสบของเยื่อหุมหัวใจที่มีหนองเกิดขึ้น (suppurative pericarditis) สาเหตุเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย

• รูปที่ 2. เปนการอักเสบของเยื่อหุมหัวใจทีมีเลือดออกรวมดวย (hemorrhagic pericarditis) สาเหตุอาจเกิดจากการแพรกระจายของมะเร็ง

• รูปที่ 3. เปนการอักเสบที่เรียกวา fibrinous pericarditis มีสาร fibrin จากในเลือดมาคลุมที่ผิวหัวใจ ทําใหมีสีเหลือง สาเหตุอาจเกิดจาก rheumatic fever, uremia, SLE เปนตน

1. 2.

MC

BVAB

Anitschkow cell

โรคหัวใจรูมาตกิ (rheumatic heart disease)

• โรคหัวใจรูมาติกเกิดจากการติดเชื้อ group A β-hemolytic streptococcus ที่ลําคอ ในระยะแรกมีอาการไอ เจ็บคอ (pharyngitis) หลังจากนั้นประมาณ 3-6 สัปดาห อาการเจ็บคอหายไป รางกายมีการสราง antibody ตอเชื้อขึ้นมา แตบางคน antibody ตัวนี้จะไปทําลายเนื้อเยื่อของรางกายดวยทําใหเกิดโรคไขรูมาติกขึ้นมา (rheumatic fever) ถามีพยาธิสภาพของหัวใจดวย เรียกวา rheumatic heart disease ซึ่งพยาธิสภาพที่หัวใจ ไดแกการอักเสบของลิ้นหัวใจ (rheumatic valvulardisease) การอักเสบของกลามเนื้อหัวใจ (myocarditis) และการอักเสบของเยื่อหุมหัวใจ (pericarditis)

โรคหัวใจรูมาตกิ (rheumatic heart disease)

• รูปที่ 1. ใหดกูารอักเสบของกลามเนื้อหัวใจในคนที่เปนโรครูมาติก บริเวณรอบๆหลอดเลือด (BV) ในชั้นกลามเนื้อหัวใจ มีเซลลอักเสบชนิด macrophage มารวมกลุมกัน เรียกวา Aschoffbodies (AB)

• รูปที่ 2. ขยายใหดู Aschoff body ซึ่งกระกอบดวย macrophage ที่ตัวใหญขึ้น มี cytoplasm สีแดง และมี nucleus กลมหรือรีตรงกลาง chromatin จะรวมกลุมกนัคลายตัวหนอน เราเรียกเซลลลักษณะแบบนี้วา Anitschkowcell หรือ caterpillar cell

Mc

Lm

โรคกลามเนื้อหัวใจอักเสบ (myocarditis)

• สาเหตุของกลามเนื้อหัวใจอักเสบที่พบบอยที่สุดคือ การติดเชื้อไวรัส ไดแก coxsackievirus, ECHO, CMV เชื้อชนิดอื่นอาจทําใหเกิดการอักเสบที่กลามเนื้อหัวใจได แตพบไดนอยกวา เชน Clamydiae, Trypanosoma เปนตน นอกจากนี้คนที่เปนโรค SLE, rheumatic fever อาจมีการทําลายกลามเนื้อหัวใจจาก immune ที่ผิดปกติไป

• จากรูปแสดงกลามเนื้อหัวใจที่มีการอักเสบซึ่งเกิดจากการติดเชื้อไวรัส จะพบเซลลอักเสบชนิด lymphocyte (Lm) เขามาทําลายเซลลกลามเนื้อหัวใจ (Mc) โดยตรง

top related