mechanics of materialschaosuan.me.engr.tu.ac.th/chaosuan2/handouts_me210_files/lecture-3.pdf · •...

Post on 30-Jan-2020

0 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

กลศาสตรวัสดุMechanics of Materials

รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน กาญจโนมัยภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

1

Monday, February 27, 2012

2

สัปดาหที่ เนื้อหา เอกสาร (หนา)

1 นิยามและหลักการเบื้องตนของความเคนและความเครียด 1 - 14

2 ความเคนและความเครียดของโครงสรางรับแรงตามแนวแกน 1 15 - 28

3 ความเคนและความเครียดของโครงสรางรับแรงตามแนวแกน 2 29 - 48

4 ความเคนและความเครียดของโครงสรางรับแรงบิด 1 49 - 78

5 ความเคนและความเครียดของโครงสรางรับแรงบิด 2 49 - 78

6 ความเคนและความเครียดของโครงสรางรับแรงบิด 3 49 - 78

7 สอบกลางภาค

แผนการบรรยาย

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Monday, February 27, 2012

3

ความเคนและความเครียดของโครงสรางรับแรงบิด

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Monday, February 27, 2012

• แรงบิด

• การบิดในคานทรงกระบอก (torsion of circular bars)

• คานทรงกระบอกกลวง (hollow-circular bar)

• การบิดของคานที่มีสมบัติไมสม่ำเสมอ (nonuniform torsion)

• การเฉือนบริสุทธ์ิ (pure shear)

• การสงกำลังโดยเพลา (transmission of power by circular shafts)

• ปญหาที่แกไมไดดวยสมการสมดุลของโครงสรางที่รับแรงบิด (statically indeterminate torsional members)

4

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หัวขอบรรยาย

Monday, February 27, 2012

5

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• โครงสรางมีลักษณะตรง มีพื้นที่หนาตัดคงที่ตลอดความยาว (prismatic bar)

• สมบัติของวัสดุคงที่ในทุกๆ ตำแหนงและทิศทางของโครงสราง (homogeneous and isotropic)

• วัสดุกระจายของอยางตอเนื่อง ไมมีชองวางใดๆ

• แรงคูควบ (couple) ทำใหเกิดการบิดรอบแกนหลัก (longitudinal axis)

Monday, February 27, 2012

6

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• T คือ แรงบิด (torque), แรงคูควบ (twisting couple) หรือ โมเมนตบิด (twisting moment).

Monday, February 27, 2012

• แรงบิด

• การบิดในคานทรงกระบอก (torsion of circular bars)

• คานทรงกระบอกกลวง (hollow-circular bar)

• การบิดของคานที่มีสมบัติไมสม่ำเสมอ (nonuniform torsion)

• การเฉือนบริสุทธ์ิ (pure shear)

• การสงกำลังโดยเพลา (transmission of power by circular shafts)

• ปญหาที่แกไมไดดวยสมการสมดุลของโครงสรางที่รับแรงบิด (statically indeterminate torsional members)

7

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หัวขอบรรยาย

Monday, February 27, 2012

8

3.1 การบิดในคานทรงกระบอก (torsion of circular bars)

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ทรงกระบอกที่ถูกแรงบิด (T) กระทำที่ปลายทั้งสองโดยไมมีแรงอื่นมากกระทำ หรือ "pure torsion"

• แรงบิดจะทำใหโครงสรางเกิดการบิดเปลี่ยนรูป โดยพื้นที่หนาตัดยังคงที่และรัศมียังเปนเสนตรงอยู

Monday, February 27, 2012

9

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• คือมุมที่มีการบิด

(angle of twist)

Monday, February 27, 2012

10

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• พิจารณารอยตัด dx พบวาความเครียดเฉือน (shear strain, ) เปน

• โดย d/dx คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงมุมบิด (angle of twist) เมื่อเทียบกับ

ระยะ x หรือมุมบิดตอหนึ่งหนวยความยาว (angle of twist per unit length, )

• แต bb' มีคาเทากับความยาวฐานในสามเหลี่ยม bb'o สง

ผลให bb' = r.sin(d) = r.d และ ab = dx ดังนั้น

Monday, February 27, 2012

11

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ในกรณีที่โครงสรางรับแรงบิดเทานั้น (pure torsion) มุมบิดตอหนึ่งหนวยความยาว () จะมีคาคงที่ตลอดความ

ยาวของโครงสราง, = d/dx = /L

Monday, February 27, 2012

12

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ในกรณีคานทรงกระบอกที่รับแรงบิดแสดงพฤติกรรมแบบอิลาสติกเชิงเสน (linear elastic) ชิ้นสวนความเคน (stress element) abcd แสดงพฤติกรรมตามกฎของฮุก (Hooke's Law) โดย G คือ โมดูลัสอิลาสติกเฉือน

Monday, February 27, 2012

13

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ในกรณีชิ้นสวนความเคนที่อยูหางจากเสนแนวแกนเปนระยะ พบวา:

• ความเคนและความเครียดในคานทรงกระบอกที่รับแรงบิดมีการเปลี่ยนแปลงแบบเชิงเสน มีคาเปนศูนยที่เสนแนวแกน และมีคามากที่สุดที่ผิวนอก

Monday, February 27, 2012

14

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ความเคนและความเครียดในคานทรงกระบอกที่รับแรงบิดมีการเปลี่ยนแปลงแบบเชิงเสน มีคาเปนศูนยที่เสนแนวแกน และมีคามากที่สุดที่ผิวนอก

• เมื่อพิจารณารอยตัด dx ของคานทรงกระบอกในสามมิติพบวา สมดุลของแรงแสดงไดโดย:

ความเคนเฉือนบนระนาบตัดขวาง (cross section plan) = ความเคนเฉือนบนระนาบตามแนวแกน (longitudinal plane)

Monday, February 27, 2012

15

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• จากสมการสมดุลพบวาแรงคูควบ (couple) ที่เกิดจากความเคนเฉือนบนรอยตัดขวาง (cross section) เทากับแรงบิดจากภายนอก (torque, T) ที่มากระทำ

• กำหนดให dF คือแรงเฉือนที่กระทำบนพื้นที่เล็กๆ dA โดย

Monday, February 27, 2012

16

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• แรงบิดรวม (total torque) ที่กระทำบนระนาบตัดขวาง

• กำหนดให Ip คือ โมเมนตอินนีเชียเชิงขั่ว (polar moment of inertia)

Monday, February 27, 2012

17

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• วงกลมรัศมี r โมเมนตอินนีเชียเชิงขั่ว (polar moment of inertia) เปน

• มีหนวยเปน m4 หรือ in4

Monday, February 27, 2012

18

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

torsional stiffness

torsional flexibility

• torsional stiffness คือแรงบิด (torque) ที่ใชในการหมุนคานทรงกระบอกยาว L ใหมีมุมเปลี่ยนไป 1 หนวย

Monday, February 27, 2012

19

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ความเคนเฉือนสูงสุดในทรงกระบอกรับแรงบิด

Monday, February 27, 2012

• แรงบิด

• การบิดในคานทรงกระบอก (torsion of circular bars)

• คานทรงกระบอกกลวง (hollow-circular bar)

• การบิดของคานที่มีสมบัติไมสม่ำเสมอ (nonuniform torsion)

• การเฉือนบริสุทธ์ิ (pure shear)

• การสงกำลังโดยเพลา (transmission of power by circular shafts)

• ปญหาที่แกไมไดดวยสมการสมดุลของโครงสรางที่รับแรงบิด (statically indeterminate torsional members)

20

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หัวขอบรรยาย

Monday, February 27, 2012

r1

21

3.2 คานทรงกระบอกกลวง (hollow-circular bar)

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ความเคนเฉือนในคานทรงกระบอกจะมีคามากที่สุดที่ผิวดานนอกและลดลงจนมีคาเปนศูนยที่แกนกลาง

• การใชทรงกระบอกกลวงสามารถลดน้ำหนักหรือควบคุมปริมาณวัสดุ โดยยังรักษาความสามารถในการรับแรงบิด

โดย

r2

Monday, February 27, 2012

t r

22

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ในกรณีที่ความหนา (thickness, t) << รัศมี (radius, r) โดย r คือรัศมีเฉลี่ย และ d คือเสนผาศูนยกลางเฉลี่ย

• ในการวิเคราะหทรงกระบอกกลวง (hollow circular bar) จะตองคำนึงถึงการยุบตัว (buckling) และการยน (wrinkling) ของผนังดวย

Monday, February 27, 2012

• แรงบิด

• การบิดในคานทรงกระบอก (torsion of circular bars)

• คานทรงกระบอกกลวง (hollow-circular bar)

• การบิดของคานที่มีสมบัติไมสม่ำเสมอ (nonuniform torsion)

• การเฉือนบริสุทธ์ิ (pure shear)

• การสงกำลังโดยเพลา (transmission of power by circular shafts)

• ปญหาที่แกไมไดดวยสมการสมดุลของโครงสรางที่รับแรงบิด (statically indeterminate torsional members)

23

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หัวขอบรรยาย

Monday, February 27, 2012

24

3.3 การบิดของคานที่มีสมบัติไม่สม่ำเสมอ (nonuniform torsion)

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• กรณีที่โครงสรางประกอบดวยทรงกระบอกหลายๆ ขนาด หรือทำจากวัสดุตางๆ กัน และมีแรงบิดมากระทำแตกตางกัน

• โดย i คือลำดับของสวนประกอบ และ n คือจำนวนสวนประกอบทั้งหมด

Monday, February 27, 2012

25

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ตัวอยางที่ 3.1 เพลา ABCD มีเสนผาศูนยกลาง 75 มม หมุนอยางอิสระ โดยที่จุด B และ C มีแรงบิด T1 = 2.25 และ T2 = 1.4 kN.m มากระทำ จุด A ยึดติด

อยูกับที่ จงหา (1) max ในแตละสวนของเพลาและ (2) มุมทั้งหมดที่มีการบิดไป

() โดย L1 = 0.5 เมตร, L2 = 0.75 เมตร, L3 = 0.5 เมตร, และ G = 75 GPa

Monday, February 27, 2012

26

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• พิจารณาแรงบิดจากแผนภูมิรูปรางของวัตถุ (free body diagram, FBD) พบวา

Monday, February 27, 2012

27

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• พิจารณาความเคนเฉือนจาก FBD พบวา

max

Monday, February 27, 2012

28

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• พิจารณาการเปลี่ยนแปลงรูปรางจาก FBD พบวา

Monday, February 27, 2012

29

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• กรณีพื้นที่หนาตัดและแรงบิดมีการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง โดย q(x) คือแรงบิดตอหนึ่งหนวยความยาว และ T(x) คือแรงบิดที่เกิดบนรอยตัดขวางที่ระยะ x จากจุดยึด

Monday, February 27, 2012

30

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ตัวอยางที่ 3.2 เพลาเอียง AB ซึ่งมีเสนผาศูนยกลางลดลงอยางตอเนื่อง จาก da เปน db ถูกกระทำดวยแรงบิด (torque, T) ที่ปลายทั้งสองขาง จงหามุมที่มีการ

บิดไป () ของเพลา

Monday, February 27, 2012

31

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• พิจารณาแรงบิดจากแผนภูมิรูปรางของวัตถุ (free body diagram, FBD) พบวา

Monday, February 27, 2012

32

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Monday, February 27, 2012

33

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• จากตารางอินทิกรัล (integral table)

• แทนคา และ

Monday, February 27, 2012

• แรงบิด

• การบิดในคานทรงกระบอก (torsion of circular bars)

• คานทรงกระบอกกลวง (hollow-circular bar)

• การบิดของคานที่มีสมบัติไมสม่ำเสมอ (nonuniform torsion)

• การเฉือนบริสุทธ์ิ (pure shear)

• การสงกำลังโดยเพลา (transmission of power by circular shafts)

• ปญหาที่แกไมไดดวยสมการสมดุลของโครงสรางที่รับแรงบิด (statically indeterminate torsional members)

34

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หัวขอบรรยาย

Monday, February 27, 2012

35

3.4 การเฉือนบริสุทธ์ิ (pure shear)

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ความเคนเฉือน (shear stress) เทานั้นที่เกิดบนชิ้นสวนความเคน เรียกกรณีนี้วา การเฉือนบริสุทธิ (pure shear)

Monday, February 27, 2012

36

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• พิจารณาระนาบเอียง (inclined plane) บนชิ้นสวนความเคนพบวา ความเคนตั้ง

ฉาก (normal stress, ) และความเคนเฉือน (shear stress, ) มากระทำ

Monday, February 27, 2012

37

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• Ao คือพื้นที่หนาตัดของชิ้นสวนความเคน (stress element)

Monday, February 27, 2012

38

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

แทน

Monday, February 27, 2012

39

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Monday, February 27, 2012

40

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Monday, February 27, 2012

41

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ชิ้นสวนความเคน (stress element) ไมเปลี่ยนแปลงขนาดและความหนา ภายใตการเฉือนบริสุทธ์ิ (pure shear) ดังนั้น ชิ้นสวนความเคนเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปรางเพียงอยางเดียว โดยเรียกกรณีนี้วาการเปลี่ยนแปลงรูปรางจากการเฉือน (shear distortion)

Monday, February 27, 2012

42

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• กรณีที่ชิ้นสวนความเคนมีการหมุนไป 45° พบวาเปนกรณีของความเคนตั้งฉากสูงสุด (maximum normal stress) ซึ่งไมมีความเคนเฉือนเกิดขึ้น ดังนั้นจึงไมเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปรางจากการเฉือนแตจะเกิดการเปลี่ยนแปลงขนาดของชิ้นสวนความเคนแทน

Monday, February 27, 2012

43

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ตัวอยางที่ 3.3 จงหาคาสูงสุดของความเคนดึง อัด และเฉือน ที่จุด A และ B

Monday, February 27, 2012

44

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ที่จุด A

Monday, February 27, 2012

45

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ที่จุด B

Monday, February 27, 2012

• แรงบิด

• การบิดในคานทรงกระบอก (torsion of circular bars)

• คานทรงกระบอกกลวง (hollow-circular bar)

• การบิดของคานที่มีสมบัติไมสม่ำเสมอ (nonuniform torsion)

• การเฉือนบริสุทธ์ิ (pure shear)

• การสงกำลังโดยเพลา (transmission of power by circular shafts)

• ปญหาที่แกไมไดดวยสมการสมดุลของโครงสรางที่รับแรงบิด (statically indeterminate torsional members)

46

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หัวขอบรรยาย

Monday, February 27, 2012

47

3.5 การส่งกำลังโดยเพลา (Transmission of power by circular shafts)

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• เพลาสามารถสงกำลังผานการหมุนในรูปของแรงบิด (torque) และความเร็วรอบ ซึ่งเพลาจะตองมีขนาดที่เหมาะสมจึงสามารถที่จะสงกำลังไดโดยมีความเคนไมมากเกินความแข็งแรงของวัสดุ

Monday, February 27, 2012

48

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• กำหนดให W คือ งาน (work, N.m, J หรือ ft.lb), T คือ แรงบิด (torque, N.m หรือ

ft.lb), คือ มุมบิด (angular rotation, radian), P คือ กำลัง (power, W, N.m/s,

J/s หรือ ft.lb/s), และ คือความเร็วเชิงมุม (angular speed, rad/s) ดังนั้น

Monday, February 27, 2012

49

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• กรณีที่ใชความถี่ (frequency, cycle/s, Hz) แทนความเร็วเชิงมุม

Monday, February 27, 2012

50

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• กรณีที่ใชจำนวนรอบตอนาที (revolution per minute, rpm, n) แทนความเร็วเชิงมุม

P = 2nT60

Monday, February 27, 2012

51

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ใชหนวยแรงมา (Horsepower, hp) แทนหนวยกำลัง

P = 2nT60

• โดย 1 hp ~ 746 N.m/s

Monday, February 27, 2012

• แรงบิด

• การบิดในคานทรงกระบอก (torsion of circular bars)

• คานทรงกระบอกกลวง (hollow-circular bar)

• การบิดของคานที่มีสมบัติไมสม่ำเสมอ (nonuniform torsion)

• การเฉือนบริสุทธ์ิ (pure shear)

• การสงกำลังโดยเพลา (transmission of power by circular shafts)

• ปญหาที่แกไมไดดวยสมการสมดุลของโครงสรางที่รับแรงบิด (statically indeterminate torsional members)

52

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หัวขอบรรยาย

Monday, February 27, 2012

53

3.6 ปัญหาที่แก้ไม่ได้ด้วยสมการสมดุลของโครงสร้างที่รับแรงบิด (statically indeterminate torsional members)

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• กรณีที่แรงบิดตางๆ ที่เกิดบนโครงสรางไมสามารถคำนวณไดจากสมการสมดุล ดังนั้นจึงจำเปนตองอาศัยความสัมพันธของการบิดจาก compatibility equation มาใชในการคำนวณ โดยในกรณีของการบิดจะใช flexibility method

Monday, February 27, 2012

54

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Monday, February 27, 2012

55

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Monday, February 27, 2012

56

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Monday, February 27, 2012

57

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Monday, February 27, 2012

58

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ความเคนเฉือนสูงสุด

Monday, February 27, 2012

59

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• มุมบิดของจุด C (c) ไดจาก

Monday, February 27, 2012

60

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ในกรณีที่

Monday, February 27, 2012

61

โครงสร้างผสม (composite bar)

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• โครงสรางยาว L ประกอบจากชิ้นสวนที่ทำจากวัสดุที่แตกตางกันและมีแกนกลางรวมกัน มาประกอบเขาดวยกันโดยไมเกิดไถล (slip) ระหวางรอยตอ

• Ga และ Ga คือ โมดูลัสเฉือนของ A และ B

• da และ da คือ เสนผาศูนยกลางของ A และ B

• Ipa และ Ipb คือ โมเมนตอินนีเชียเชิงขั่วของ A และ B

Monday, February 27, 2012

62

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• กำหนดใหโครงสรางผสมรับแรงบิด (torque, T) โดยใหเกิด Ta บนแกน และ Tb บนทอรอบนอก ดังนั้น

• เนื่องจากแกน A และทอรอบนอก B ติดกันอยางสนิท (no slip) ดังนั้นมุมบิดของทั้งสองสวนจึงเทากัน

Monday, February 27, 2012

63

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• จากสมการสมดุลและมุมบิดที่เทากันของ A และ B (compatibility equation)

Monday, February 27, 2012

64

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ความเคนเฉือนสูงสุดของแกน A และทอรอบนอก B เปน

Monday, February 27, 2012

65

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ที่ผิวดานในของ B ไมจำเปนตองเทากับ ที่ผิวดานนอกของ A เนื่องจาก

เทากันแตทำจากวัสดุตางชนิดกัน

Monday, February 27, 2012

• แรงบิด

• การบิดในคานทรงกระบอก (torsion of circular bars)

• คานทรงกระบอกกลวง (hollow-circular bar)

• การบิดของคานที่มีสมบัติไมสม่ำเสมอ (nonuniform torsion)

• การเฉือนบริสุทธ์ิ (pure shear)

• การสงกำลังโดยเพลา (transmission of power by circular shafts)

• ปญหาที่แกไมไดดวยสมการสมดุลของโครงสรางที่รับแรงบิด (statically indeterminate torsional members)

66

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

สรุปการบรรยาย

Monday, February 27, 2012

!

1) ประแจเหล็กยาว 450 มม. เสนผาศูนยกลาง 12 มม. ถาความเคนเฉือน

ที่เหล็กรับไดเปน 76 MPa จงหาแรงบิด (torque, T) สูงสุดที่ประแจนี้

สามารถรับได และมุมบิด () ที่เกิดขึ้นเมื่อมีแรงบิดสูงสุดมากระทำ

กำหนดให G = 81 GPa

67

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การบาน 6

Monday, February 27, 2012

!

2) แทงโลหะทรงกระบอกสามชิ้นถูกเชื่อมติดบนระนาบเดียวกัน เสนผา

ศูนยกลางของแทงทรงกระบอกเปน d1 = 10 มม. และเสนผาศูนยกลางของ

แผนวงกลมที่ปลายแทงทรงกระบอกเปน d2 = 75 มม. ถาแรง P1 = 100 N

จงหาขนาดและตำแหนงของความเคนเฉือนสูงสุดที่เกิดขึ้น

68

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Monday, February 27, 2012

3) ทรงกระบอกกลวง เมื่อมีแรงบิด T = 600 N.m มากระทำที่ปลายทั้งสอง

ขาง เกิดมุมบิด = 3.57o จงหาโมดูลัสอิลาสติกซิตี้เฉือนของวัสดุที่ใชทำ

ทางกระบอกกลวงนี้

69

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

!

Monday, February 27, 2012

4) แทงทรงกระบอกรัศมี r เมื่อถูกเจาะรูรัศมี r ทะลุตามแนวแกนหลัก จง

หา (a) รอยละการลดลงของพื้นที่หนาตัด, (b) รอยละการลดลงของแรงบิดที่

แทงทรงกระบอกสามารถรับได และ (c) กราฟแสดงความสัมพันธระหวาง

กับคาใน (a) และ (b)

70

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

!

Monday, February 27, 2012

5) เพลาเหล็ก ABC มีขนาดดังรูป ถาแรงบิด T = 400 N.m และเหล็กมีคา

โมดูลัสเฉือน G = 84 GPa จงหาขนาด d ที่เล็กที่สุดที่ทำใหมุมบิด

ระหวาง AC ไมเกิน 5o

71

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การบาน 7

!

Monday, February 27, 2012

6) ถาเพลาตัน (รูปดานบน) และเพลากลวง (รูปดานลาง) มีความยาวเทากัน

ทำจากวัสดุเดียวกัน และมี torsional stiffness (GIP/L) เทากัน จงคำนวณหา

เสนผาศูนยกลาง d

72

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

!

Monday, February 27, 2012

7) เพลาเอียง AB มีความหนาคงที่ t และยาว L ดังรูป โมเมนตอินนีเชียใน

กรณีผนังบาง จงหามุมบิด ในกรณีที่มีแรงบิด T

มากระทำที่ปลายของเพลา

73

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

!

Monday, February 27, 2012

8) จงคำนวณหาคาสูงสุดและทิศทางของความเคนดึง ความเคนอัด และ

ความเคนเฉือนที่เกิดในเพลา ดังรูป

74

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การบาน 8

!

Monday, February 27, 2012

9) ถาความเครียดตั้งฉากในทิศทาง 45o บนผิวของทอกลวงเปน

1,860x10-6 เมื่อมีแรงบิด T = 200 N.m มากระทำ ถาเสนผาศูนยกลาง

ภายนอกเปน 20 มม. จงคำนวณหาเสนผาศูนยกลางภายใน d เมื่อวัสดุ

ที่ใชทำทอกลวงมี G = 47 GPa และ = 0.33

75

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

!

Monday, February 27, 2012

10) ทรงกระบอกที่ติด strain gage ที่ผิวดังรูป เมื่อรับแรงบิด T = 1,200 N.m

strain gage อานคาได = 305x10-6 จงหาโมดูลัสเฉือนของวัสดุที่ใชทำเพลา

76

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

!

Monday, February 27, 2012

13) มอเตอร A สงกำลัง 300 kW ที่ 3.2 Hz โดยเฟอง B และ C มีกำลัง 120

และ 180 kW ตามลำดับ L1 = 1.5 ม. และ L2 = 0.9 ม. จงหาขนาดของเสนผา

ศูนยกลางของเพลา d เมื่อขีดจำกัดของความเคนเฉือนและมุมบิดของเพลา

ระหวางจุด A และ C เปน 50 MPa และ 0.02 เรเดียน โดย G = 75 GPa

77

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การบาน 9

!

Monday, February 27, 2012

14) เพลาตัน AD ถูกยึดที่จุด A และ D รับแรงบิด To จงหา Ta, Tb, มุมบิดที่จุด

B (b) และจุดกึ่งกลางของเพลา (m)

78

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

!

Monday, February 27, 2012

18) ทอเหล็กถูกเชื่อมติดอยางสนิทกับเพลาทองเหลือง โดยมีเสนผาศูนยกลาง

ภายในและภายนอกเปน 50 และ 60 มม. ตามลำดับ โดยโมดูลัสเฉือนของ

เหล็กและทองเหลืองเปน Gs = 80 GPa และ Gb = 40 GPa ตามลำดับ เมื่อ

เพลาไดรับแรงบิด T = 3200 N.m จงคำนวณหา (a) ความเคนเฉือนสูงสุดใน

เหล็กและทองเหลือง (s และ b) และ (b) มุมบิดที่เกิดขึ้น ()

79

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

!

Monday, February 27, 2012

จบการบรรยาย

80

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Monday, February 27, 2012

81

3.5 ความสัมพันธ์ระหว่างโมดูลัสความยืดหยุ่น (E) กับโมดูลัสเฉือน (G)

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ถากำหนดใหโครงสรางมีพฤติกรรมแบบอิลาสติก และชิ้นสวนความเคนอยูในสภาพความเคนเฉือน (pure shear) ชิ้นสวนความเคนจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปราง โดยดาน bd จะยาวขึ้นจากเดิมและดาน ac จะหดสั้นลง

Monday, February 27, 2012

82

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• โดย max คือความเครียดตั้งฉากในทิศทาง 45o

Monday, February 27, 2012

83

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Monday, February 27, 2012

84

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Monday, February 27, 2012

top related