asean capital market integration ... - set.or.th · agreed to hasten the establishment of the asean...

44

Upload: lethuan

Post on 07-Apr-2018

220 views

Category:

Documents


2 download

TRANSCRIPT

ASEAN Capital Market Integration: ความร่วมมือของตลาดทุนอาเซียน

พฤศจิกายน 2555

2

Outline

I. ความรว่มมือของตลาดทุนอาเซียนI.I ที่มาของ ASEAN Capital Market Integration

I.II ความร่วมมือของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน

I.III การเตรียมความพร้อมของบริษัทจดทะเบียนไทย

II. รู้จักคู่แข่งในอาเซียน

II.I ศักยภาพของ SET ในเวทีประชาคมเศรษฐกิจเสรีอาเซียน (AEC)

II.II ความน่าสนใจของหลักทรัพยไ์ทยในแต่ละหมวดอุตสาหกรรม

3

I.I ที่มาของ ASEAN Capital Market Integration

ASEAN 2015 Vision

4

At the 12th ASEAN Summit in January 2007, ASEAN

leaders affirmed their strong commitment to accelerate

the establishment of an ASEAN Community by 2015 and

agreed to hasten the establishment of the ASEAN

Economic Community by 2015 and to transform ASEAN

into a region with freer flow of capital and accelerate

the free flow of professional and other services,

goods, and investment.

อัตราการเจริญเติบโตของรายได้ประชาชาติของประเทศในอาเซียน

เฉลี่ย 6% ต่อปีในปี 2011 – 2015

(ASEAN-6)

I.I ที่มาของ ASEAN Capital Market Integration

5

6 ประเทศ

7 ตลาดหลักทรัพย์

3,778 บริษทัจดทะเบียน

540 ล้านคน

2 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ(มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด)

Source: WFE, HoSE & HNX, www.asean.org

โอกาสในการขยายฐานนักลงทุนและการเพิ่ม visibility ของบริษัทจดทะเบียนในตลาด-หลักทรัพย์อาเซียน

I.I ที่มาของ ASEAN Capital Market Integration

Source: WFE, HoSE & HNX, www.asean.org

ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานก ากับดูแล (ASEAN Capital Market Forum: ACMF)

• การปรับเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลและการยื่นหนังสือชี้ชวนส าหรับ IPO ให้เป็น ASEAN Standard ซึ่งจะอ านวยความสะดวกให้บรษิัทผู้ออกหลักทรัพย์สามารถใช้หนังสือช้ีชวนเล่มเดียวกันในยื่นขออนุญาตจดทะเบียนหลักทรัพย์กับส านักงานก ากับดูแลของแต่ละประเทศในอาเซียนได้ โดยคาดว่าเกณฑ์ดังกล่าวจะแล้วเสรจ็ภายในปี 2555 นี้

Mutual recognition of prospectus

• การจัดท าข้อตกลงระหว่างส านักก ากับดูแลของประเทศในอาเซียนและตลาดหลักทรัพย์อาเซียน เพื่อลดระยะเวลาในการพิจารณาอนุมัติการขออนุญาตจดทะเบียนในรูปแบบ Secondary Listing ของบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์อาเซียนภายใน 35 วันท าการ

Promote secondary listing

• ส านักงานก ากับดูแลของประเทศอาเซียนร่วมกบั CG Expert เช่น IOD ในการจัดอันดับบริษัทจดทะเบียน 180 อันดับ หรือ 30 หลักทรัพย์ของแต่ละประเทศอาเซียนตามหลักการ Cooperate Governance

CG ranking of ASEAN PLCs

• การสนับสนุน บล. และ บลจ. ในแต่ละประเทศใหส้ามารถขายกองทุนที่ออกในประเทศอาเซียนได้ โดยเริ่มต้นจากการขายให้แก่นักลงทุนสถาบันในกลางปี 2555 และนักลงทุนรายย่อยในปลายปี 2555

Cross-selling mutual fund

6

Outline

I. ความรว่มมือของตลาดทุนอาเซียนI.I ที่มาของ ASEAN Capital Market Integration

I.II ความร่วมมอืของตลาดหลักทรัพย์อาเซยีน

I.III การเตรียมความพร้อมของบริษัทจดทะเบียนไทย

II. รู้จักคู่แข่งในอาเซียน

II.I ศักยภาพของ SET ในเวทีประชาคมเศรษฐกิจเสรีอาเซียน (AEC)

II.II ความน่าสนใจของหลักทรัพยไ์ทยในแต่ละหมวดอุตสาหกรรม

7

0 2,000,000 4,000,000 6,000,000 8,000,000 10,000,000 12,000,000 14,000,000

Warsaw SEOsaka SE

Philippine SEColombia SE

Oslo BørsIMKB

Santiago SEThe Stock Exchange of Thailand Saudi Stock Exchange - Tadawul

Indonesia SEBursa Malaysia

Mexican ExchangeTaiwan SE Corp.

Singapore ExchangeMICEX / RTS

Johannesburg SENASDAQ OMX Nordic Exchange

BME Spanish ExchangesShenzhen SE

Korea ExchangeSIX Swiss Exchange

BM&FBOVESPANational Stock Exchange India

BSE IndiaAustralian SE

Deutsche BörseASEAN Exchanges

TMX GroupShanghai SE

Hong Kong ExchangesNYSE Euronext (Europe)

Tokyo SE GroupLondon SE Group

NASDAQ OMXNYSE Euronext (US)

I.II ความร่วมมอืของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน

8ที่มา: WFE

Rank of market capitalization of ASEAN exchanges

ข้อมูล ณ สิ้นเดือนกันยายน 2555; หน่วย: ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

Total market capitalization of ASEAN exchanges is ranked the 9th among WFE members

Total market capitalization of the Stock Exchange of

Thailand is ranked the 28th among WFE members

สถานการณ์ปัจจบุันของตลาดหลักทรัพย์ฯ

9

สมาชิกของตลาดหลกัทรัพย์อาเซียน

ตลาดหลักทรัพย์อาเซียนทั้ง 7 แห่งร่วมมอืกันพัฒนาตลาดทุนให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดทุนโลก ด้วยวัตถปุระสงค์ เพื่อ• ส่งเสริมให้หลักทรัพย์ในอาเซียนเป็นที่ยอมรบั (asset class) ในสายตาของนักลงทุนท่ัวโลก• ส่งเสริมให้บริษัทจดทะเบียนในอาเซียน สามารถระดมทุนด้วยต้นทุนท่ีต่่าลง และแข่งขันได้• ลดต้นทุนในการซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์อาเซียน ให้แก่นักลงทุนในภูมิภาคอาเซียนและ

นอกภูมิภาคอาเซียน

วัตถุประสงค์ของความร่วมมือของตลาดหลกัทรัพย์อาเซียน

I.II ความร่วมมอืของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน

10

I.II ความร่วมมอืของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน

ความร่วมมือของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน สามารถแบ่งออกเป็น 2 เรื่องหลัก กล่าวคือ

1. การจัดท่ากิจกรรมการตลาด เพื่อยกระดับหลักทรัพย์ในอาเซียนให้เป็นหลักทรัพย์ที่ได้รับการยอมรับ (asset class)

2. การเชื่อมต่อระบบการซือ้ขายหลักทรัพย์ระหว่างตลาดหลักทรัพย์ในอาเซียน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความสะดวกในการส่งค่าส่งซือ้ขายให้แก่นักลงทุน

Outline

I. ความร่วมมอืของตลาดทนุอาเซียน

I.I ที่มาของ ASEAN Capital Market Integration

I.II ความร่วมมอืของตลาดหลักทรัพย์อาเซยีน

1. การจัดท่ากจิกรรมการตลาด

2. การพัฒนา ASEAN Trading Link

I.III การเตรียมความพร้อมของบริษัทจดทะเบียนไทย

11

12

• หลักทรัพย์ ASEAN Stars ประกอบด้วยหุ้นที่มีขนาดใหญ่โดยพิจารณาจากมูลค่าของหลักทรัพย์ตามราคาตลาดและสภาพคล่องของหลักทรัพย์จ่านวน 30 หลักทรัพย์ต่อประเทศ

• ASEAN Stars มีวัตถุประสงค์เพ่ือรวมกลุ่มหลักทรพัย์ขนาดใหญ่ที่มีความน่าสนใจของตลาดหลักทรัพย์แต่ละประเทศ หรือเรียกได้ว่าเป็นหลักทรัพย์ “blue chips” ซึ่งจะช่วยให้นักลงทุนทีไ่ม่มีความคุ้นเคยสามารถเลือกหุ้นที่ต้องการได้ง่ายย่ิงขึ้น นอกจากนี้ ข้อมูลเกี่ยวกับ ASEAN Stars จะถูกเผยแพร่ผ่านเว็บไซด์ของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน

I.II ความร่วมมือของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน1. การจัดท่ากจิกรรมการตลาด

I.II ความร่วมมือของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน1. การจัดท่ากจิกรรมการตลาด

13

ASEAN Stars เผยแพร่ผา่น ASEAN Exchanges website (www.aseanexchanges.org)

การแสดงข้อมูลสามารถเลือกหลักทรัพยไ์ด้ตาม • รายตลาดหลักทรพัย์• รายอุตสาหกรรม• Top 30 Turnover• Top 30 Volume• Top 30 Net Gainers and Net Losers• Top 30 Gainers and Losers by %

นอกจากนี้ยังแสดงข้อมูลบทวิเคราะห์• ระดบัตลาดหลักทรพัย์ รายสปัดาห์ จัดท่าโดย FTSE• ระดบัหลักทรัพย์ จัดท่าโดยบริษัทหลักทรพัย์

ข้อมูลของบรษิัทหลักทรัพย์ที่เข้ารว่มโครงการและขา่วสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องตลาดหลักทรัพย์อาเซียนและหลักทรัพย์อาเซียน

14

ASEAN Stars แสดงข้อมูลรายหลักทรัพย์ พร้อมทั้งข้อมูลในรูปแบบกราฟ และข่าวที่เกี่ยวข้องกับหลักทรัพย์นั้นๆ

I.II ความร่วมมือของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน1. การจัดท่ากจิกรรมการตลาด

15

• Invest ASEAN เป็นการร่วมมือประชาสัมพันธ์เชิญชวนนักลงทุนทั้งในและนอกภมูิภาคให้เข้ามาลงทุนผา่นกิจกรรม roadshow และกิจกรรมส่งเสริมความเข้าใจให้แก่นักลงทุน โดยในระยะแรกจะให้ความส่าคัญเป็นพิเศษกับกจิกรรมส่าหรับนกัลงทุนรายย่อย

I.II ความร่วมมือของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน1. การจัดท่ากจิกรรมการตลาด

16

I.II ความร่วมมือของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน1. การจัดท่ากจิกรรมการตลาด

โครงการในปี 2012 – 2013 ส่าหรับส่งเสริม ASEAN ให้เป็น asset class

• ASEAN indices• ASEAN ETFs• ASEAN Research Center

•Integrated source of information on •ASEAN Listed Companies,•Securities Companies and, •ASEAN Exchanges

ASEAN Products ASEAN Exchanges’ website

• Intra ASEAN and Outside ASEAN

• Hosted by ASEAN Exchanges and Co-hosted with partners, especially brokers

International Roadshow(Invest ASEAN Day)

Outline

I. ความร่วมมอืของตลาดทนุอาเซียน

I.I ที่มาของ ASEAN Capital Market Integration

I.II ความร่วมมอืของตลาดหลักทรัพย์อาเซยีน

1. การจัดท ากจิกรรมการตลาด

2. การพฒันา ASEAN Trading Link

I.III การเตรียมความพร้อมของบริษัทจดทะเบียนไทย

17

18

• ASEAN Trading Link คือการเชื่อมโยงระบบการซื้อขายหลักทรัพย์ระหว่างตลาดหลักทรัพย์ในอาเซียน เพื่อให้นักลงทุนสามารถซื้อขายหลักทรัพย์ระหว่างประเทศได้สะดวกยิ่งขึ้น และเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการซื้อขายหลักทรัพย์ ช่าระราคาและส่งมอบหลักทรัพย์ รวมถึงการกระจายข้อมูลหลักทรัพย์

• หลักทรัพย์ที่ซื้อขายผ่าน ASEAN Trading Link: นักลงทุนสามารถซื้อขายหลักทรัพย์ตราสารทุนได้ทุกหลักทรัพย์ เช่น กรณีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นักลงทุนต่างชาติสามารถซือ้ขายหลักทรัพย์ทุกหลักทรัพย์ใน SET และ MAI

• ก่าหนดการ ตลาดหลักทรัพย์ 3 แห่งแรกที่จะเริ่มให้ซื้อขายผ่าน ASEAN Trading Link ได้แก่ ตลาดหลักทรัพย์มาเลเซีย และสิงคโปร์ และไทย โดยตลาดหลักทรัพย์มาเลเซีย และสิงคโปร์เปิดให้บริการซื้อขายผ่าน ASEAN Trading Link ในวันที่ 18 กันยายน 2555 และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยต่อเชื่อมระบบการซื้อขายในวันที่ 15 ตุลาคม 2555

I.II ความร่วมมือของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน2. การพฒันา ASEAN Trading Link

I.II ความร่วมมือของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน2. การพฒันา ASEAN Trading Link

19

1997: NOREX alliance เป็นการร่วมมือระหว่างตลาดหลักทรัพย์ในภูมิภาคนอร์ดิกและบอร์ติก เพื่อพัฒนาระบบเชื่อมต่อการซื้อขายหลักทรัพย์ระหว่างตลาดหลักทรัพย์ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นและการปรับเกณฑก์ารซื้อขายและการรับสมาชิกของตลาดหลักทรัพย์แต่ละแห่งให้สอดคล้องกัน

2010: MILA หรือ Integrated Latin American Market เปน็ความร่วมมอืเริ่มต้นระหว่างตลาดหลักทรัพย์ Santiago (Chile), Lima (Peru), Bogota (Columbia) เพื่อเชื่อมต่อระบบการซื้อขายหลักทรัพย์ โดยตลาดหลักทรัพย์ Mexico ได้ประกาศเข้าร่วมเมื่อปลายปี 2011

2011: ตลาดหลักทรัพย์ในกลุ่มประเทศ BRICS ร่วมมือจดทะเบียนซื้อขายอนุพันธ์ข้ามตลาด (Cross-listing) ที่อ้างอิงดัชนีตราสารทุน เริม่ ซื้อขาย มิ.ย. 2012

ประสบการณ์ความร่วมมือของตลาดหลักทรัพย์ในภูมิภาคต่างๆ

I.II ความร่วมมือของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน2. การพฒันา ASEAN Trading Link

20

ASEAN trading link

Timeline

Linkages

• Enhance visibility of ASEAN as an asset class

• Easy and cost-effective access to ASEAN region for both information and trading activities

Key benefits

ASEAN clearing link

• Allows members to hold and settle ASEAN securities as it is domestic securities

• Make the most cost-effective for both brokers, exchanges, Clearing Houses & Central Securities Depositories, especially lower the cost of F/X transaction and remittance.

Source: SET analysis

ASEAN depository link

Development next phase

• Provide depository services to brokers and investors to hold ASEAN securities as it is domestic securities

• Make it even easier and more cost-effective to trade in ASEAN region

Development phase (Q3-Q4 2012)

ASEAN Trading Link: Business Model ตลาดหลักทรัพย์อาเซียนมีแผนพัฒนาการเชื่อมโยงการซื้อขายหลักทรัพย์แบบครบวงจร ซึ่งรวมถึงระบบหลังการซื้อขายหลักทรัพย์

Note: *The launch date of ASEAN depository link and ASEAN Clearing link are subject to regulatory approval

I.II ความร่วมมือของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน2. การพฒันา ASEAN Trading Link

21

Local member

ก่อนเริ่มการเชื่อมโยงการซื้อขายหลักทรัพย์ (ASEAN Trading Link) การเชื่อมต่อระบบการซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์อาเซียนเป็นแบบรายบริษัทหลักทรัพย์

I.II ความร่วมมือของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน2. การพฒันา ASEAN Trading Link

22Source: TWG; SWG analysis

Local Member

ASEAN Trading Link Gateway (ALG)

NAP Neutral Access Point

Intra-ASEAN Network

NAP

Global buy- & sell-side Networksie. SunGard Global

Network

ASEAN Trading Link จะช่วยให้เกิด Economy of scale ต่อทั้งตลาดหลักทรัพย์และผู้ร่วมตลาด

แนวทางการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่าน ASEAN Trading Link ยึดตามกฎเกณฑ์และแนวปฎิบัติของตลาดหลักทรัพย์ที่หลักทรัพย์นั้นๆ จดทะเบียนอยู่

I.II ความร่วมมือของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน2. การพฒันา ASEAN Trading Link

23

ผู้ลงทุนไทยเพิ่มทางเลือกและความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ทางการเงินให้แก่ผู้ลงทุนผ่านช่องทางการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์อาเซียน ด้วยวิธีการซื้อขายผ่านบริษัทหลักทรัพย์ไทยเช่นเดิม

ประโยชน์ของโครงการ

บรษิัทจดทะเบียน• เพิ่มมูลค่าของหลักทรัพย์ เนื่องจากบริษัทจดทะเบยีนเป็นที่รู้จกัในกลุ่มผู้ลงทุนต่างประเทศมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้

• สภาพคล่องของหลักทรัพย์เพิ่มขึ้น ตามปรมิาณการซื้อขายที่เพิ่มสูงขึ้น • ลดต้นทุนในการระดมทนุของบริษัทจดทะเบียน• เพิ่มโอกาสในการด าเนนิธุรกิจต่อเนื่อง

ผู้ลงทุนต่างชาติ• หลีกเลี่ยงปัญหาข้อมูลการซื้อขายหลักทรัพย์รั่วไหล เนื่องจากการส่งค าสั่งซื้อขายจากบล.

ต่างชาติจะตรงเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์โดยตรง• ผู้ลงทุนสามารถเข้าถึงตลาดหลักทรัพย์อาเซียนทกุตลาดที่เชื่อมโยง ASEAN Trading Link โดย

ผ่านบริษัทหลักทรัพย์ในประเทศของตนเอง • ลดต้นทุนในการซื้อขาย เนื่องจากบล. มีต้นทุนของระบบงานที่ลดลง จึงมีแนวโน้มที่จะสามารถ

ให้บริการการซื้อขายหลักทรัพย์ด้วยอัตราค่าธรรมเนียมที่ลดลง• การบริหารความเสี่ยงด้วยการลงทุนในหลักทรัพย์ที่หลากหลาย

I.II ความร่วมมือของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน2. การพฒันา ASEAN Trading Link

24

ประโยชน์ของโครงการ

เพิ่มโอกาสทางธุรกิจและลดตน้ทนุการลงทนุในระบบงานให้แกบ่รษิัทหลักทรัพย์ โดยเฉพาะบริษัทหลักทรัพย์ขนาดกลางและเล็กที่จะไปเชื่อมต่อกบัตลาดหลักทรัพย์อืน่

บรษิัทหลักทรพัย์ไทย

เพิ่มความสามารถในการแข่งขนัของตลาดหลักทรัพย์ฯ จากการเป็นส่วนหนึ่งของ ASEAN asset classตลาดหลักทรัพย์

สามารถส่งค าสั่งซือ้ขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพยอ์าเซียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผ่านระบบ DMA

บรษิัทหลักทรพัย์ต่างชาติ

I.II ความร่วมมือของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน2. การพฒันา ASEAN Trading Link

25

สิทธิประโยชน์ทางภาษีสา่หรบัผู้ลงทุนไทย (กรณีบุคคลธรรมดา) ในการซื้อขายหลักทรัพย์ผา่น ASEAN Trading Link

ก่าไรจากการขายหลักทรัพย์

บุคคลธรรมดา ได้รับการยกเวน้ภาษี ตามกฎกระทรวง ฉบบัที่ 290 (พ.ศ. 2555) ลงประกาศราชกิจจานุเบกษาในวนัที่ 6 ก.ค. 2555

นิตบิุคคลไทย น าไปรวมค านวณเพือ่เสียภาษีเงินได้นิตบิคุคลตามอัตราที่กฎหมายก าหนด

เงินปันผล

บุคคลธรรมดา น าไปค านวณเปน็เงินได้ปลายปีเพื่อเสียภาษตีามอตัราที่กฎหมายก าหนด

นิตบิุคคลไทย น าไปรวมค านวณเพือ่เสียภาษีเงินได้นิตบิคุคลตามอัตราที่กฎหมายก าหนด

หมายเหต:ุ ส าหรับการซือ้ขายหลักทรัพย์เท่านั้น ไม่รวมการซื้อขายอนุพันธ์และตราสารหนี้

ภาพการเปิดตัวการซื้อขายผ่าน ASEAN Trading Link ของตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์และมาเลเซียในวันที่ 18 ก.ย. 55

26

งานเปิดตัว ASEAN Trading Link ของตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์และมาเลเซียในวันที่ 18 ก.ย. ที่ผานมา ณ ตลาดหลักทรัพย์มาเลเซีย โดย YB Dato’ Donald Lim รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังของประเทศมาเลเซียเกล่าวปาฐกถาพิเศษแสดงความยินดี และบริษัทหลักทรัพย์ที่เข้าร่วมโครงการรับมอบประกาศนียบัตรในฐานะ Pioneer Brokers ในงานดังกล่าว

ภาพตลาดหลักทรพัย์อาเซียน ร่วมผลักดนัหุ้นอาเซียนให้เป็นที่ยอมรับระดับโลก และประกาศไทยเชื่อมโยง ASEAN Trading Link วันแรกในวันที ่15 ต.ค. 55

27

ตลาดหลักทรัพย์อาเซียน 7 แห่ง และเลขาธิการสมาพันธ์ตลาดหลักทรัพย์โลก (World Federation of Exchanges: WFE ) ร่วมเปิดตัว เว็บไซตต์ลาดหลักทรัพย์อาเซียน www.aseanexchanges.org ที่ปรับปรุงข้ึนใหม่ โดยได้รวบรวมข้อมูลตลาดหุ้นอาเซียน ราคาหุ้นและบทวิเคราะห์ไว้ในที่เดียวกัน และเปิดตัวการเชื่อมต่อระบบ ASEAN Trading Link ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในการประชุม WFE ครั้งท่ี 52 ที่กรุงไทเป ไต้หวัน

บริษัทหลักทรัพย์ไทยที่เข้าร่วมโครงการ

28

บล. ที่พร้อมใหบ้ริการซื้อขายหลักทรพัยผ์่าน ASEAN Trading Link ตั้งแต่วันที่ 15 ต.ค. 2555

บล. ที่พร้อมใหบ้ริการซื้อขายหลักทรพัยผ์่าน ASEAN Trading Link ภายในวันที่ 15 ม.ค. 2556

ข้อมูล ณ พ.ย. 55

ประเภทหลักทรัพย์ที่สามารถซื้อขายได้ผ่าน ASEAN Trading Link

Types of Securities SET BM SGXStocks

Ordinary shares Y Y YPreference shares Y Y Y

Depository ReceiptsDepository Receipts (DR) Y - -Non-voting Depository Receipts (NVDR) Y - -Global Depository Receipts (GDRs) - - YAmerican Depository Receipts (ADRs) - - Y

Exchange Traded Funds (ETFs) Y Y YExchange-Traded Note (ETNs) - - YWarrantsWarrants / Transferable Subscription Rights (TSRs) Y Y -

Structure warrants/Derivatives Warrants Y Y YCompany Warrants - Y Y

Trust/FundReal Estate Investment Trust (REITs) - Y YClose-end Fund, Property Fund, Property Trust Y Y Y

Business trust - - YUnit trust Y - -Stapled Securities - - Y

CertificateCertificates - - YCallable Bulls and Bear Certificate (CBBC) - Y -

29

Outline

I. ความรว่มมือของตลาดทุนอาเซียนI.I ที่มาของ ASEAN Capital Market Integration

I.III ความร่วมมือของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน

I.IV การเตรียมความพร้อมให้นกัลงทุน

II. รู้จักคู่แข่งในอาเซียน

II.I ศักยภาพของ SET ในเวทีประชาคมเศรษฐกิจเสรีอาเซียน (AEC)

II.II ความน่าสนใจของหลักทรัพยไ์ทยในแต่ละหมวดอุตสาหกรรม

30

การเตรียมความพร้อมนักลงทุนทั้งไทยและต่างประเทศ

31

(ภาพบน) สมัมนาหัวข้อ “ASEAN Trading Link มิติใหม่การลงทุน”

นักลงทุนสถาบันชั้นน่าจากประเทศมาเลเซยี 11 องค์กร ซึง่มมีูลค่าสินทรัพยส์ทุธิภายใต้การบริหารกว่า 1.6 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ รับฟังขอ้มูลจากตลท.

(ภาพล่าง) กองทุน Khazanah Nasional Berhad ได้เข้าฟังข้อมูลจากตลท.

32

การเตรียมความพร้อมนักลงทุนต่างประเทศ

Remicer ของบริษทัหลักทรัพยย์โูอบีเคเฮยีน ในสิงคโปร์

(ภาพบน) Invest ASEAN ร่วมกับ Maybank ทีป่ระเทศมาเลเซยี(ภาพล่าง) ลูกค้านักลงทุนรายย่อยของบริษัทหลักทรัพยย์ูโอบีเคเฮยีน ในสงิคโปร์

Outline

I. ความรว่มมือของตลาดทุนอาเซียนI.I ที่มาของ ASEAN Capital Market Integration

I.II ความร่วมมือของตลาดหลักทรัพย์อาเซียน

I.III การเตรียมความพร้อมของบริษัทจดทะเบียนไทย

II. รู้จักคู่แข่งในอาเซียน

II.I ศักยภาพของ SET ในเวทีประชาคมเศรษฐกิจเสรีอาเซยีน (AEC)

II.II ความน่าสนใจของหลักทรัพยไ์ทยในแต่ละหมวดอุตสาหกรรม

33

34Source : SET

2-Year (2010-2011) index performance

Unit: percent; data as at end December 2011

2012 index performance Unit: percent; as at 29 August 2012

Resilience of SET

• SET 2012 YTD index performance has reflected confidence in strong recovery and resilience of Thai listed companies.

• SET 2010-2011 index performance was among the best in the world.

Distribution of Market Cap. By Country

Note: Market Capitalization value as 2Q 2012, Average daily trading value during 1 Apr 2012 – 28 Sep 2012.Source : Bloomberg

• ในด้านมูลค่าตลาดโดยรวมของตลาดหลักทรัพย์ไทยอยู่อันดับที่ 4 ในภูมิภาค• อย่างไรก็ตามตลาดหลักทรัพย์ไทยมีจ านวนหลักทรัพย์ที่มีขนาดใหญ่และมีสภาพคล่องสูงมากเป็นอันดับหนึ่งร่วมกับตลาด

หลักทรัพย์สิงคโปร์

สัดส่วนของมูลค่าตลาดหลักทรัพย์ในอาเซียนแยกตามประเทศ จ่านวนหลกัทรัพย์ที่มี mkt. cap > 1 billion USD และมี avg. daily trading value > 10 million USD

34%

21% 19%16%

10%

0%

5%

10%

15%

20%

25%

30%

35%

สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ไทย ฟิลิปปินส์

2119

107

00

5

10

15

20

25

สิงคโปร์ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์

Stock Exchange of Thailand has high Liquidity

Source : World Federation of Exchanges (WFE)*Share Turnover velocity is calculated by {Monthly EOB Domestic Share Turnover / Month-end Domestic Market Capitalization) *12

• หลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ไทยมี Turnover velocity สูงที่สุดในภูมิภาคอาเซียน• หลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ไทยมีมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยรายวันสูงที่สุดในกลุ่ม Emerging Market ของภูมิภาคอาเซียน

Unit: percent Unit: million USD

Share turnover velocity* (2008 – September 2012) Average daily turnover (2008 – September 2012)

0%

20%

40%

60%

80%

100%

120%

Singapore Thailand Indonesia

Bursa Malaysia Philippines

0

200

400

600

800

1,000

1,200

1,400

1,600

1,800

Singapore Exchange Thailand SE

Indonesia SE Bursa Malaysia

Philippines SE

2007 2010 2012

1.Hong Kong (67) 1.Singapore (67) 1.Singapore (69)

2.Singapore (65) 2.Hong Kong (65) 2.Hong Kong (66)

3.India (56) 3.Japan (57) 3.Thailand (58)

4.Taiwan (54) 4.Thailand (55) 4.Japan (55)

5.Japan (52) 4.Taiwan (55) 4.Malaysia (55)

6. Korea (49) 6.Malaysia (52) 6.Taiwan (53)

6. Malaysia (49) 7.India (49) 7.India (51)

8.Thailand (47) 7.China (49) 8.Korea (49)

9.China (45) 9.Korea (45) 9.China (45)

10.Philippines (41) 10.Indonesia (40) 10.Philippines (41)

11.Indonesia (37) 11.Philippines (37) 11.Indonesia (37)

37

CG Watch market scores: 2007 vs 2012

Source: ACGA, November 2010

Source: ASR, Sep 2010

CSR Country Ranking 2010 vs 2011

Robustness of Thai listed companies

• บริษัทจดทะเบียนไทยมกีารพัฒนาอย่างมากในด้าน Corporate Governance (CG) โดยวัดจากการจัดอันดับของ Asian Corporate Governance Association (ACGA) ที่เลื่อนอันดับให้ไทยจากอันดับที่ 8 ของเอเซียในปี 2007 มาอยู่อันดับที่ 3 ในปี 2012

• นอกจากนี้ ในด้าน Corporate Social Responsibility (CSR) ประเทศไทยยังได้เลื่อนอันดับจากที่ 4 ในปี 2010 มายู่ที่อันดับที่ 2 ในปี 2011 โดยการจัดอันดับของ ASIAN Sustainability Rating (ASR)

2010 2011

1. South Korea 1. South Korea

2. India 2. Thailand

3.Malaysia 3. Malaysia

4. Thailand 4. India

5. Singapore 5.Taiwan

6. Taiwan 6. Singapore

7. Indonesia 7. China

8. Hong Kong 8. Indonesia

9. Philippines 9. Hong Kong

10. China 10. Philippines

Trading Participation

Source :1/ SETSMART2/ Bursar Malaysia (www.bursamalaysia.com/website/bm/market_information/market_statistics/equities/foreign_trading_particip)3/ Indonesia Stock Exchange (www.idx.co.id/Home/Publication/Statistic/tabid/140/language/en-US/Default.aspx)4/ Philippines Stock Exchange (www.pse.com.ph)

• ตลาดหลักทรัพย์ไทยมีโครงสร้างนักลงทุนที่หลากหลาย

• นักลงทุนรายย่อยภายในประเทศมสีัดส่วนการซื้อขายสูงที่สุดซึ่งส่งผลให้ตลาดหลักทรัพย์ไทยมีสภาพคล่องสูง และช่วยให้ดัชนี

ตลาดหลักทรัพย์ไทยมีเสถียรภาพจากความแปรปรวนของเงินไหลเข้าของนักลงทุนต่างประเทศ

SET 1/ SGX BM 2/ IDX 3/ PSE 4/

As of Jan-Dec 2011

ไม่เปิดเผย

Jan 2012 Jan-Dec 2011 Jan-Sep 2011Retail 55% 25%

69% 63%Local institute 9% 48%Prop trade 13% 4%Foreign 23% 22% 31% 37%Total 100% 100% 100% 100%

Outline

• ศักยภาพของตลาดหลักทรัพย์ไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจเสรีอาเซียน (AEC)

• ความน่าสนใจของหลักทรัพย์ไทยในแต่ละหมวดอุตสาหกรรม

39

Sectorจ านวน บ.จ. สัดส่วนตาม

Market Cap

% ตาม Market Cap. ในแต่ละ Sector

ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ทั้งหมด ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ทั้งหมด

Automobiles & Parts 1 3 4 2.6% 0.0% 0.0% 9.3% 90.7% 0.0% 100.0%Banks 9 3 7 8 9 36 21.2% 18.9% 24.5% 24.0% 25.1% 7.6% 100.0%Basic Resources 1 6 2 9 2.1% 12.9% 0.0% 0.0% 74.5% 12.6% 100.0%Chemicals 2 2 4 2.4% 43.2% 0.0% 56.8% 0.0% 0.0% 100.0%Construction 2 3 3 3 11 2.9% 35.6% 0.0% 16.4% 39.4% 8.6% 100.0%Financial Services 1 1 2 4 0.7% 0.0% 53.5% 0.0% 29.3% 17.2% 100.0%Food & Beverage 2 6 7 8 3 26 9.1% 9.4% 31.1% 25.8% 18.6% 15.1% 100.0%Health Care 2 1 3 0.7% 62.9% 0.0% 0.0% 37.1% 0.0% 100.0%Industrial Goods 3 12 5 2 5 27 13.0% 3.0% 62.5% 17.2% 6.8% 10.5% 100.0%Insurance 1 1 2 0.5% 27.3% 72.7% 0.0% 0.0% 0.0% 100.0%Media 1 1 4 1 7 1.2% 18.4% 28.2% 0.0% 48.6% 4.9% 100.0%Oil & Gas 6 3 4 1 14 7.3% 51.3% 28.9% 18.0% 0.0% 1.8% 100.0%Personal Goods 1 1 3 5 4.4% 3.9% 0.0% 8.1% 88.0% 0.0% 100.0%Real Estate 5 15 4 2 8 34 7.7% 6.6% 64.7% 7.1% 3.8% 17.7% 100.0%Retail 5 1 2 1 2 11 3.8% 42.7% 24.2% 6.3% 3.6% 23.2% 100.0%Telecommunications 4 3 4 7 2 20 12.4% 17.6% 25.9% 28.4% 18.4% 9.7% 100.0%Travel & Leisure 2 4 6 1 5 18 4.6% 4.8% 44.4% 40.0% 2.7% 8.2% 100.0%Utilities 4 4 7 15 3.6% 14.8% 0.0% 43.3% 0.0% 41.8% 100.0%Grand Total 50 50 50 50 50 250 100.0% 17.3% 30.4% 21.1% 20.7% 10.5% 100.0%

หลักทรัพย์ในอาเซียนมีความหลากหลายและเสริมซึ่งกันและกัน (Complementary)

1

2

3

Note: Market Capitalization value as 2Q 2012 from the top 50 listed companies (in term of mkt. cap) of 5 ASEAN countriesSource : Bloomberg (Using ICB super-sector names)

Sectorจ านวน บ.จ. สัดส่วนตาม

Avg. Volume

% ตาม Avg. Volume ในแต่ละ Sector

ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ทั้งหมด ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ทั้งหมด

Automobiles & Parts 1 3 4 1.9% 0.0% 0.0% 22.7% 77.3% 0.0% 100.0%Banks 9 3 7 8 9 36 21.6% 37.5% 24.9% 17.3% 15.5% 4.7% 100.0%Basic Resources 1 6 2 9 3.2% 46.6% 0.0% 0.0% 48.6% 4.8% 100.0%Chemicals 2 2 4 4.2% 86.9% 0.0% 13.1% 0.0% 0.0% 100.0%Construction 2 3 3 3 11 2.5% 49.2% 0.0% 18.9% 31.7% 0.3% 100.0%Financial Services 1 1 2 4 0.5% 0.0% 89.8% 0.0% 4.7% 5.5% 100.0%Food & Beverage 2 6 7 8 3 26 9.9% 21.6% 55.4% 10.8% 9.1% 3.0% 100.0%Health Care 2 1 3 1.0% 67.5% 0.0% 0.0% 32.5% 0.0% 100.0%Industrial Goods 3 12 5 2 5 27 11.4% 5.0% 63.2% 16.3% 9.9% 5.7% 100.0%Insurance 1 1 2 0.2% 90.1% 9.9% 0.0% 0.0% 0.0% 100.0%Media 1 1 4 1 7 1.3% 15.0% 35.5% 0.0% 48.4% 1.1% 100.0%Oil & Gas 6 3 4 1 14 9.5% 53.4% 38.4% 7.6% 0.0% 0.6% 100.0%Personal & Goods 1 1 3 5 0.9% 27.2% 0.0% 10.9% 61.8% 0.0% 100.0%Real Estate 5 15 4 2 8 34 8.6% 11.2% 69.7% 4.1% 5.5% 9.6% 100.0%Retail 5 1 2 1 2 11 3.3% 70.3% 11.5% 3.7% 0.1% 14.5% 100.0%Telecommunications 4 3 4 7 2 20 12.5% 38.9% 22.5% 24.7% 9.1% 4.9% 100.0%Travel & Leisure 2 4 6 1 5 18 5.4% 7.8% 62.4% 26.0% 1.6% 2.2% 100.0%Utilities 4 4 7 15 2.2% 19.3% 0.0% 46.9% 0.0% 33.8% 100.0%Grand Total 50 50 50 50 50 250 100.0% 32.5% 35.1% 14.9% 12.4% 5.0% 100.0%

1

2

3

ตลาดหลักทรัพย์ไทยมีมูลค่าการซื้อขายที่สูงในหลายหมวดอุตสาหกรรม

Note: Average daily trading value during 4 Apr 2011 – 4 Sep 2012. from the top 50 listed companies (in term of mkt. cap) of 5 ASEAN countriesSource : Bloomberg (Using ICB super-sector names)

อัตราส่วนก่าไรต่อทุนของบริษัทจดทะเบียนไทยมีความโดดเดน่ในหลาย Sector

กลุ่มอุตสาหกรรมไทยที่มผีลประกอบการดีโดยเปรียบเทียบกับประเทศอื่นโดยดูจาก ค่า ROE ที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยตลาด 7 กลุ่มได้แก่ Food & Beverage, Insurance, Media, Real Estate, Retail, Telecommunications, Utilities

Note: Return on equity ratio (ROE) from the top 50 listed companies (in term of mkt. cap) of 5 ASEAN countries. The period covers Q4 2011 when Thailand was severely affected by the worst flood in 70 years.*Return/Net income as Q3/2011-Q2/2012**Equity as Q2/2012Source : Bloomberg (Using ICB super-sector names)

Banks Basic Resource

Chemical Con Mats Food & Beverage

Health Care

Industrial Goods

Insurance Media Oil & Gas Personal Goods

Real Estate

Retail Telecom Travel & Leisure

Utilities

อินโดนีเซียอินโดนีเซีย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ไทย อินโดนีเซียอินโดนีเซีย ไทย ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย ไทย มาเลเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์22.4% 16.7% 17.9% 24.6% 18.9% 26.2% 21.5% 18.3% 52.6% 19.7% 166.8% 11.8% 29.4% 48.0% 22.7% 17.5%มาเลเซีย Average Average Average อินโดนีเซีย Average สิงคโปร์ Average ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ไทย อินโดนีเซีย ไทย15.2% 16.2% 12.6% 15.7% 17.9% 22.6% 19.0% 11.7% 18.4% 17.1% 52.0% 11.2% 17.3% 41.3% 12.1% 13.6%

Average ฟิลิปปินส์ ไทย ไทย มาเลเซีย ไทย Average สิงคโปร์ สิงคโปร์ Average Average Average Average Average Average Average14.0% 15.6% 8.8 14.4% 14.9% 20.8% 15.4% 10.7% 16.8% 15.6% 48.2% 10.7% 11.0% 24.9% 11.1% 12.0%ฟิลิปปินส์ ไทย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย Average ไทย ไทย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย13.8% 15.1% - 14.3% 14.6% - 11.4% - 14.3% 13.4% 16.3% 10.0% 10.5% 20.4% 10.4% 9.1%ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย Average ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย

13.6% - - 9.2% 13.9% - 10.7% - 10.2% -1.4% - 9.4% 9.0% 19.6% 6.4% -สิงคโปร์ สิงคโปร์ สิงคโปร์ สิงคโปร์ สิงคโปร์ สิงคโปร์ ไทย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ มาเลเซีย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ไทย สิงคโปร์9.8% - - - 11.1% - 9.4% - - - - 5.8% 4.5% 17.2% 3.4% -

Q & A

ข้อมูลเพิ่มเติม www.aseanexchanges.org และ

http://www.set.or.th/th/asean_exchanges.htmlหรือติดต่อ [email protected]

44