astro & space technology

5
สุริยวิถี เสนทางการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย บนทองฟา เกิดจากการที่โลกโคจรรอบดวง อาทิตยเปนรูปวงรี *ในแตละเดือนดวงอาทิตยเคลื่อนผาน 1 จักราศี ทรงกลมทองฟา ทรงกลมสมมุติที่มีโลกอยู ตรงกลาง ทรงกลมทองฟาหมุนรอบโลก 1 รอบ/วัน ดาวฤกษจึงเคลื่นที่ตามทรงกลม ทองฟา 360/24 = 15 องศา/ชั่วโมง ดาวที่เรามองเห็น ดวงอาทิตย ดวงจันทร ดาวอังคาร ดาวพุธ ดาวศุกร ดาวพฤหัส ทิศทั้ง 4 เหนือ ใต ออก ตก จุดเหนือศรีษะ (Zenith) จุดสูงสุดของทรง กลมฟา อยูเหนือผูสังเกต จุดใตเทา (Nadir) จุดตำสุดของทรงกลมฟา อยูใตเทาผูสังเกต จุดใตเทา (Nadir) จุดตำสุดของทรงกลมฟา อยูใตเทาผูสังเกต เสนขอบฟา (Horizon) แนวเสนขอบแบง ทองฟากับพื้นราบ เสนเมอริเดียน (Meridian) แนวเสนสมมติ บริเวณเหนือใต ลากผานจุดเหนือศรีษะ ดาราศาสตร Astronomy การวัดมุม Azimuth (มุมทิศ) วัดจากทิศเหนือไปตามเข็มนาิกา (0-360) Altitude (มุมเงิย) วัดจากเสนขอบฟาไปยังจุดเหนือศรีษะ (0-90) ระยะเชิงมุม เปนการบอกตำแหนงดาวโดยบอกระยะหางเปนองศา * การบอกพิกัดดาว ใหบอกมุมทิศ ตามดวยมุมเงิย

Upload: pat-pataranutaporn

Post on 14-Jul-2015

240 views

Category:

Documents


2 download

TRANSCRIPT

Page 1: Astro & space technology

สุริยวิถีี เสนทางการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตยบนทองฟา  เกิดจากการที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตยเปนรูปวงรี*ในแตละเดือนดวงอาทิตยเคลื่อนผาน 1 จักราศี

ทรงกลมทองฟา ทรงกลมสมมุติที่มีโลกอยูตรงกลาง ทรงกลมทองฟาหมุนรอบโลก 1 รอบ/วัน ดาวฤกษจึงเคลื่นที่ตามทรงกลมทองฟา 360/24 = 15 องศา/ชั่วโมง

ดาวที่เรามองเห็น ดวงอาทิตย ดวงจันทร ดาวอังคาร ดาวพุธ ดาวศุกร ดาวพฤหัส

ทิศทั้ง 4 เหนือ ใต ออก ตก

จุดเหนือศรีษะ (Zenith) จุดสูงสุดของทรงกลมฟา อยูเหนือผูสังเกต

จุดใตเทา (Nadir) จุดตำสุดของทรงกลมฟา อยูใตเทาผูสังเกต

จุดใตเทา (Nadir) จุดตำสุดของทรงกลมฟา อยูใตเทาผูสังเกต

เสนขอบฟา (Horizon) แนวเสนขอบแบงทองฟากับพื้นราบ

เสนเมอริเดียน (Meridian) แนวเสนสมมติบริเวณเหนือใต ลากผานจุดเหนือศรีษะ

ดาราศาสตรAstronomy

การวัดมุม Azimuth (มุมทิศ) วัดจากทิศเหนือไปตามเข็มนาิกา (0-360) Altitude (มุมเงิย) วัดจากเสนขอบฟาไปยังจุดเหนือศรีษะ (0-90)

ระยะเชิงมุมเปนการบอกตำแหนงดาวโดยบอกระยะหางเปนองศา

* การบอกพิกัดดาว ใหบอกมุมทิศ ตามดวยมุมเงิย

Page 2: Astro & space technology

คาขนาดเชิงมุม คืออัตราสวของขนาดจริง / ระยะหางของวัตถุ* ขนาดเชิงมุมจะลดลงเหลือ 1/3 เมื่อวัตถุหางไป 3 เทาดวงจันทรเต็มดวงมีขนาดเชิงมุม 1/2 องศาพอดี

วสันตวิษุวัต (Vernal equinox) จุดตัดที่ 1 ของเสนศูนยสูตรฟากับเสนสุริยวิถีวสันทวิษุวัต (Autumnal equinox) จุดตัดที่ 2 ของเสนศูนยสูตรฟากับเสนสุริยวิถี

ฤดูรอน โลกหันขั้วโลกเหนือเขาหาดวงอาทิตย ทำใหซีกโลกเหนือเปนฤดูรอน แตขั้วโลกใตเปนฤดหนาวฤดหนาว โลกหันขั้วโลกเหนือหางดวงอาทิตย ทำใหซีกโลกเหนือเปนฤดูหนาว แตขั้วโลกใตเปนฤดูรอน

เวลาดาราคติ เวลาที่โลกหมุนรอบตัวเอง 1 รอบใชเวลา 23 ชั่วโมง 56 นาทีเวลาสุริยคติ เวลาที่เราใชสากล วัดจากดวงอาทิตยเคลื่อนผานเสนเมอริเดียนสองครั้ง(เคลื่อนผานหัวสองครั้ง)=24ชมปฏิทินสากล หรือ ปฏิทินทางสุริยคติจะชดเชยสวนตางในทุกๆ 4 ป ในเดือนกุมภาพันธจันทรคต ินับจากดวงจันทรโคจรรอบโลก = 29.5 วัน ทำใหแบงปฏิทินสุริยคติเปน 12 เดือน เดือนละ 30 วัน

จุดขั้วฟาเหนือ ตอแกนขั้วโลกเหนือขึ้นไป

จุดขั้วฟาใต ตอแกนขั้วโลกใตขึ้นไป

เสนศูนยสูตรฟา วงกลมใหญบนทองฟาที่เกิดจากการขยายเสนศูนยสูตรโลกขึ้นไป

เสนสุริยวิถ ีระนาบวงโคจรโลกกับดวงอาทิตย ทำมุม 23.5 กับระนาบศูนยสูตร เนื่องจากแกนหมุนของโลกเอียง

เสนไรตแอสเซนชัน คลายเสนแวง เปนเสนแนวเหนือใต ใชแบงเขตเวลามี 24 เสน เสนแรกอยูในกลุมดาวปลา นับไปทางตะวันออก

เสนเดคลิเนชัน เปนเสนขนานเสนศูนยสูตรฟา คลายเสนรุง

Page 3: Astro & space technology

แนวคิด จูลส เวิรน จากหนังสือนิยาย จากโลกสูดวงจันทรไซออลคอฟกี (Russia) สรางเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องยนตจรวดประสบความสำเร็จโรเบอรต กอดดารด (USA) สรางเชื้อเพลิงเหลวสำหรับเครื่องยนตจรวดประสบความสำเร็จ

การสงดาวเทียมหรือยานอวกาศไปโคจรรอบโลกตองใชความเร็วอยางนอย 7.91 km/s ขึ้นไปจากนั้นเมื่ออยูในระยะโคจรก็จะใช ความเร็วโคจรรอบโลก ซึ่งมีคาแปรพันธตามระยะหางจากจุดศูนยกลางโลก

การสงดาวเทียมหรือยานอวกาศออกจากวงโคจรไปอวกาศ ตองใช ความเร็วหลุดพน มีคา 11.2 km/s

ยานขนสงอวกาศ นำมาใชใหมได

สวนประกอบ1. ยานขนสง ประกอบดวยหองพัก หองบังคับการ หองทดลอง2. ถังเชื้อเพลิงภายนอก ชื้อเพลิงเหลว ติดอยูใตทองยาน บรรจุ H และ O เหลว นำมาใชใหมไมได 3. เครื่องยนตสนับสนุน เชื้อเพลิงแข็ง ใชในชวง 2 นาทีแรก นำ มาใชใหมได

ดาวเทียม ดาวเทียมสื่อสาร ระดับต่ำ โคจรชากวาโลกหมุนรอบตัวเอง ไดแก ดาวเทียมเอ็คโค ดาวเทียมเทลสตาร ระดับสูง สูงกวา 35,900km โคจรเร็วเทากับโลกหมุนรอบตัวเอง แกปญหาสัญญาณไมตอเนื่อง ของดาวเทียมระดับตำ เชน อินเทลเซ็ต ไทยคม 1-5 *ไทยคม 4 ดีที่สุด พท.ใหบริการครอบคลุมเอเชียแปซิฟก

เทคโนโลยีอวกาศSpace technology

Page 4: Astro & space technology

ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ ใช Remote sensing เชน ดาวเทียม LANDSAT-7 และ SPOT-5 THEOS ของไทยกับฝรั่งเศษ โคจรระดับตำ

ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา เชน ดาวเทียม GMS-3 (ญี่ปุน) NOAA (อเมริกา)

ดาวเทียมเพื่อการศึกษาวิทยาศาสตร มีหลายดวงจาก USA และ Russia

โครงการอวกาศและยานอวกาศ ภารกิจ การสื่อสารทั่วไป การสำรวจ การทำเสนทาง แบงเปน 2 ประเภทคือมีคนขับกับไมมีคนขับ ยานไมมีคนขับ สำรวจดวงจันทร RUSSIA LUNA -> LUNA 17 นำหินดวงจันทรกลับโลก ZOND COSMOS USA Pioneer - Orbitor Ranger Serveyor สำรวจดาวเคราะห RUSSIA Venera ดาวศุกร(ลงจอด) Mars ดาวอังคาร USA Mariner ดาวพุธ ดาวศุกร ดาวอังคาร Pioneer-Venus สำรวจบรรยากาศดาวศุกร Pioneer 10 ดาวเคราะหวงนอก และถายรูปดาวพฤหัส Pioneer 11 ดาวพฤหัส และดาวเสาร พบดวงจันทรเพิ่ม COBE วัดอุณหภูมิจักวาล และ สำรวจคลื่นความรอน Voyager ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน(ปจจุบันออกนอกระบบสุริยะ) Galileo ดวงจันทรของดาวพฤหัสบดี

Page 5: Astro & space technology

โครงการอวกาศขององศการบริหารการบินและอวกาศแหงชาติ (NASA) Kepler คนหาดาวเคราะหหินคลายโลก ในกลุมดาวพิณและดาวหงศ Dawn สำรวจดาวเคราะหนอย Ceres กับ Vesta Stardust เก็บฝุนจากดาวหาง wild 2 Deep impact พุงชนดาวหางเทมเปล 1 Messenger สำรวจดาวพุธ Genesis เก็บอนุภาคของลมสริยะ

สถานีอวกาศ เพื่อทดลองในสภาวะไรแรงโนมถวงเปนเวลานาน Skylab(USA) *ตกลงบนโลกแลว Soyuz(Russia) *ตกลงบนโลกแลว Apollo-Soyuz(USA-Russia) ทดสอบระบบเชื่อมตอยานของอเมิกากับรัสเซีย Mir(Russia) ใชหลังจากสถานีอวกาศ soyuz *ตกลงบนโลกแลว ISS(นานาชาติ) ความรวมมือ 16 ชาติ ใชเที่ยวบินขึ้นไปประกอบ 44 เที่ยว สถานีอวกาศในอนาคตจะหมุนเพื่อใหเกิดแรงเขาสูศุนยกลางแทนแรงโนมถวง เพิ่มเติม

• Sputnik ดาวเทียมแรกของรัสเซียและของโลก• สิ่งมีชีวิตแรกที่เดินทางไปยังอวกาศคือสุนัขมีชื่อวาไลกา โดยขึ้นไปกับยานสปุตนิก 2• นักบินอวกาศคนแรกของโลกคือ ยูริ กาการิน สหภาพโซเวียตขึ้นไปกับยานวอสตอก 1• นักบินอวกาศคนแรกที่โคจรรอบโลกคือ จอหน เกลน สหรัฐอเมริกา• นักบินอวกาศหญิงคนแรกของโลกเปนชาวโซเวียต ชื่อ วาเลนตินา เทเรชโกวา เดินทางไปกับยานวอสตอก• ยานอวกาศที่เดินทางไปยังดวงจันทรเปนของสหรัฐอเมริกาโดย นีลอารมสตรอง เปนคนแรกที่ไดเดินบน ดวงจันทรเดินทางไปกับยานอพอลโล 11