basic portrait

24
Basic Portrait

Upload: admin-ca222mju

Post on 10-Mar-2016

214 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

การถ่ายภาพบุคคลเบื้องต้น

TRANSCRIPT

Basic Portrait

Content

เทคนิคเบื้องต้นสำ�หรับก�รถ่�ยภ�พพอร์เทรต - 1

เรื่องของแสง - 5

อ�รมณ์ของภ�พ - 11

ก�รจัดว�งท่�ท�ง หรือก�รโพสท่� - 14

ก�รเลือกมุมถ่�ยภ�พ - 16

อุปกรณ์ที่ใช้ในก�รถ่�ยภ�พพอร์เทรต - 17

EDITOR TALK

หนังสือเล่มนี้จัดทำ�ขึ้นเพื่อผู้ที่รักและชื่นชอบในก�รถ่�ย

ภ�พ และให้คว�มรู้เบื้องต้น ในก�รถ่�ยภ�พบุคคล ไม่ว่�จะเป็นเรื่อง

ของแสง อ�รมณ์ของภ�พ เทคนิคต่�งๆในก�รถ่�ยภ�พบุคคล และ

หนังสือเล่มนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของวิช� สื่อสิ่งพิมพ์ 2

การเลือกหรือจัด

แสงว่า เราต้องการให้

ภาพออกมาในอารมณ์

หรือบุคลิคแบบไหน ก็จัด

แสงให้ได้อย่างนั้น ความ

ชำานาญเท่านั้นที่จะช่วย

คุณได้ในกรณีนี้ไม่มีอะไรดี

ไปกว่าการทำาการบ้านให้

หนัก ฝึกแก้ปัญหาเฉพาะ

หน้าเอาไว้เยอะๆ เมื่อเจอ

งานจริง ๆ จะได้มีข้อผิด

พลาดน้อยที่สุด

การโฟกัสต้องเน้นที่

ตา ให้เข้าโฟกัสแบกริ๊บ ๆ

ดีที่สุด จำาไว้ให้ดีว่าการ

ถ่ายภาพสิ่งมีชีวิตเกือบ

ทุกชนิด(ยกเว้นพืช)สิ่ง

สำาคัญที่สุดที่ควรจะให้ชัด

ก็คือดวงตาหูจมูกปาก

อาจเบลอได้ ไม่ เสียหาย

อะไร แต่ถ้าดวงตาเบลอ

ส่วนมากแล้วภาพนั้นจะ

เป็นภาพเสียมากกว่าภาพ

ดี

เทคนิคเบื้องต้นสำ�หรับก�รถ่�ยภ�พพอร์เทรต

1

ช่องรับแสง ควรเลือกใช้ช่องรับแสงอยู่ราว ๆ

F/2.8-4หรือF/5.6ก็ยังได้ถ้าถ่ายในระยะใกล้

มากๆรับรองว่าฉากหลังยังไงก้เบลอเพราะที่ช่องรับ

แสงกว้างสุดแถวๆ F/1.2หรือF/1.4หรือแม้แต่F/1.8

นั้น หากถ่ายในระยะใกล้มาก ๆ ช่วงความชัดที่เกิดขึ้น

ว่ากันเป็นเซนติเมตร หรือาจจะแค่มิลลิเมตรเท่านั้น มือ

ไม่นิ่ง แบบไม่นิ่งจริง หรือโฟกัสไม่ถูกตำาแหน่งจริง ๆ

จะเสียคนเอาได้ง่ายๆ

2

ทั้งนี้ หากอยากเป็นนักถ่ายภาพพอร์เทรตมือฉมัง ควรหัด

เลือกใช้แสงให้ดี ฝึกเค้นอารมณ์และตัวตนของแบบออกมาให้ได้ อย่ามัว

แต่ไปเลือกนายแบบนางแบบหน้าตาดี มีพริตตี้ที่ไหนเฮไปที่นั่น อย่างนั้น

เป็นเรื่องยากที่จะได้ภาพพอร์เทรตดี ๆ แต่ถ้าความต้องการของคุณเป็น

อย่างอื่นก็ไม่ว่ากัน

3

Canon EOS Kiss X4 EF50 mm. f1.8 Shutter1/400

เรื่องของแสง

      ไม่ว่�เร�จะถ่�ยภ�พบุคคลที่เป็นด�ร�ผู้โด่งดังคับฟ้� เป็นเศรษฐีพัน

ล้�น หรือเป็นต�สีย�ยส�ย�กจนไร้คนรู้จัก มันก็ต้องใช้พื้นฐ�นหรือคว�มรู้

ท�งก�รถ่�ยภ�พในแบบเดียวกัน ซึ่งเรื่องพื้นฐ�นที่สุดที่ต้องยกม�กล่�วถึง

เป็นลำ�ดับแรกก็คือเรื่องของ แสง ซึ่งแบ่งย่อยได้เป็น 2 ส่วน คือ ลักษณะ

ของแสง และทิศท�งแสง

5

ลักษณะของแสงในก�รถ่�ยภ�พพอร์เทรต

          มีหลัก ๆ อยู่ 2 แบบคือ แสงนุ่ม และแสงแข็ง

          1. แสงนุ่ม คือ แสงในวันที่ฟ้�หลัว มีเมฆม�ก หรือแสงจ�กภ�ยใน

อ�ค�ร ห�กเป็นแสงจ�กแฟลช ก็ต้องยิงผ่�นซอฟท์บอ๊อกซ์ ผ่�นร่ม

สะท้อน ร่มทะลุ หรือเครื่องกรองแสงประเภทต่�ง ๆ เป็นแสงที่ให้คว�ม

สว่�งกับวัตถุ แต่จะไม่มีเง�เกิดขึ้นหรือเกิดขึ้นน้อยม�ก

           คุณสมบัติของแสงนุ่ม คือ ให้คอนทร�สต่ำ� ให้ร�ยละเอียดของ

วัตถุได้สูง ให้ภ�พที่ดูนุ่มนวลต�กว่� แต่ก็เป็นแสงประเภทที่ทำ�ให้วัตถุดู

แบน ๆ ข�ดมิติ

6

2. แสงแข็ง  คือแสงจ�กแหล่งกำ�เนิด

แสงตรงๆ แรงๆ เช่นวันที่ฟ้�ไร้เมฆ

ดวงอ�ทิตย์ลอยเด่นทั้งวันหรือแสง

จ�กแฟลชที่ยิงเข้�วัตถุตรงๆ โดยไม่

ผ่�นเครื่องกรองแสดงใดๆหรือแม้

กระทั่งไฟจ�กสปอตไลทืที่ฉ�ยเข้�ว

วัตถุจ�กในระยะใกล้ก็ถือเป็นแสงแข็ง

ได้เช่นกัน

              คุณสมบัติของแสงแข็ง ก็

คือ ให้คอนทร�สจัด ให้สีสันที่สดใสจัด

จ้�น ให้ภ�พที่ดูคมและแข็ง แต่ก็อ�จ

ทำ�ให้วัตถุข�ดร�ยละเอียดในบ�งส่วน

เช่น ส่วนที่มีสีข�วจัดๆส่วนที่สะท้อน

แสงด้ดี และส่วนที่อยู่ในเง�มืด และก็

เป็นแสงประเภทที่ทำ�ให้วัตถุดูมีมิติ มี

คว�มลึกได้ชัดเจนกว่�แสงนุ่ม

อย่�งไรก็ต�มแสงทั้งสองลักษณะนี้

ไม่มีข้อเสียแต่มีจุดเด่นจุดด้อยต่�งกัน

ขึ้นอยู่กับภ�พที่เร�ต้องก�รม�กกว่�

ว่� ควรจะนำ�แสงในลักษณะใดไปใช้ให้

เหม�ะสม ตัวอย่�งเช่น ถ้�คุณต้องไป

ถ่�ยภ�พบุคคลที่แสดงเป็นนักรบ

ไปถ่�ยนักกีฬ� หรือถ่�ยแฟชั่นชุด

ว่�ยน้ำ�เหล่�นี้ ก็น่�จะเหม�ะกับก�ร

ใช้แสงแข็งๆ เป็นหลักม�กกว่�แสง

นุ่ม

         ในท�งตรงกันข้�ม ห�กบุคคล

ที่คุณจะถ่�ยคือคู่บ่�วส�ว คือเด็ก

ท�รก หรืออะไรประม�ณนี้ ยังไง

เสียแสงที่จะใช้เป็นหลักก็ไม่พ้นต้อง

เป็นแสงนุ่มไว้ก่อน

7

Canon EOS Kiss X4 EF50 mm. f2.8 Shutter1/200

เ รื่ อ งควรรู้ เ กี่ ยวกับ

ทิศท�งของแสง          

 แสงหน้�ตรง แสงในทิศท�งนี้จะใ

ห้ร�ยละเอียดของวัตถุได้ดีในขณะที่จะ

ทำ�ให้วัตถุดูค่อนข้�งแบนร�บ

     แสงเฉียงข้�ง ต�มม�ตรฐ�นคือ 45

องศ�จ�กท�งด้�นซ้�ยหรือขว� แสงใน

ทิศท�งนี้ให้ภ�พของวัตถุที่ดูมีคว�ม

ลึก มีมิติ มีรูปทรงที่ชัดเจน ในขณะที่

วัตถุอ�จข�ดร�ยละเอียดในบ�งส่วน

โดยเฉพ�ะส่วนที่อยู่ในเง�มือด

           แสงหลัง แสงในทิศท�งนี้ให้ร�

ยละเอียดของวัตถุได้น้อย มิติคว�มลึก

ก็ไม่มี แต่ะจเป็นแสงที่ขับเน้นโครงร่�ง

บริเวณขอบของวัตถุได้ชัดเจน

           แสงริมไลท์ (Rim Light)  ซึ่ง

เป็นแสงที่ทำ�ให้เกิดคว�มสว่�งบริเวณ

ขอบของวัตถุ โดยเฉพ�ะในส่วนที่

โปร่งแสง เช่น เส้นผม แต่เนื่องจ�ก

มันเป็นแสงที่เข้�ม�จ�กด้�นหลังของ

วัตถุ ดังนั้น จึงมักนิยมใช้ร่วมกับแสง

อีกส่วนหนึ่งที่เสริมเข้�ไปยังด้�นหน้�

ของวัตถุ ซึ่งส�ม�รถสร้�งได้จ�กก�ร

ใช้แผ่นสะท้อนแสง (Reflex) ประเภท

ต่�ง ๆ หรือแสงจ�กแฟลช

          เรื่องทิศท�งของแสงนี้ ส�ม�รถ

ทดลองให้เห็นด้วยตัวเองได้ง่�ยๆ

ด้วยไฟฉ�ยหนึ่งกระบอกกับก�รยืน

ในที่มืด ๆ เป็นต้นว่� ฉ�ยลงม�จ�ก

ด้�นบนศีรษะโดยตรง ฉ�ยเฉียงเข้�ม�

จ�กด้�นข้�ง 45 องศ� หรือฉ�ยจ�ก

ด้�นข้�งแบบ 90 องศ� แล้วก็ลอง

สังเกตุคว�มแตกต่�งที่เกิดขึ้นดู จะ

เห็นได้ว่� ด้วยทิศท�งแสงที่แตกต่�ง

กันจ�กไฟเพียงดวงเดียวนั้น ส�ม�รถ

ทำ�ให้บุคลิกลักษณะของคน ๆ เดียว

เปลี่ยนแปลงและแปลกแตกต่�งกัน

ออกไปได้อย่�งง่�ยด�ย

                  ดังนั้น ห�กเร�รู้จักเลือกใช้

ลักษณะของแสงที่เหม�ะสมประกอบ

ไปกับทิศท�งแสงที่ดี เร�ก็ส�ม�รถ

กำ�หนดหรือสร้�งอ�รมณ์ของภ�พขึ้น

ม�ได้ (ส่วนอ�รมณ์ของแบบนั้น เดี๋ยว

ว่�กันอีกที)

                    ในเรื่องลักษณะและทิศท�ง

แสงนี้ มีแสงแบบหนึ่งที่นิยมใช้กัน

8

ม�กจนมีชื่อเรียกแสงแบบนี้โดยเฉพ�ะ ก็คือ  แสงจ�กหน้�ต่�ง (Window

Light) หรือก็คือ แสงนุ่ม ๆ ที่เฉียงเข้�ด้�นข้�งหรือด้�นหน้� (ขึ้นอยู่กับว่�จะ

ให้แบบหันหน้�ไปท�งใด หรือเร�อย�กได้ภ�พในลักษณะใด) แสงลักษณะนี้จะ

ให้ภ�พบุคคลที่นุ่มนวล ในขณะที่ภ�พยังดูมีมิติด้วยคอนทร�สต์ที่เกิดขึ้นเล็ก

น้อย

                  แม้แต่ก�รจัดถ่�ยด้วยไฟสตูดิโอก้ยังมีก�รจัดแสง เพื่อเลียนแบบ

แสงจ�กหน้�ต่�งที่ว่�นี้เช่นกัน ซึ่งก�รจัดแสงด้วยไฟแฟลชหรือไฟต่อเนื่อง

นั้นทำ�ให้นักถ่�ยภ�พกำ�หนดคว�มเข้มและทิศท�งของแสงได้ง่�ยขึ้นนั่นเอง

เพร�ะก็ไม่จำ�เป็นว่�จะต้องใช้แสงนุ่มม�ก ๆ เพียงอย่�งเดียวเสมอไป

9

Canon EO

S Kiss X

4 EF50 mm

. f1.8 Shutter1/400

อ�รมณ์ของภ�พ

                    ก�รถ่�ยภ�พบุคคลในบ�งลักษณะต้องยอมให้เรื่องของแสงเป็นคว�ม

สำ�คัญในอันดับรองลงไป โดยยกเอ�อ�รมณ์(Mood) ของบุคคลที่เร�จะถ่�ยขึ้น

ม�เป็นเรื่องเอกแทน  เพร�ะอ�รมณ์ที่ว่�นี้มันสร้�งขึ้นม�ได้ย�กกว่�แสงเป็นไหน

ๆ และเมื่อมันเกิดขึ้นแล้ว นักถ่�ยภ�พ ก็ต้องไวพอที่จะเก็บเสี้ยวเวล�เหล่�นั้นให้

ดัน ด้วยว่�อ�รมณ์มักเป็นสิ่งที่ผ่�นแล้วผ่�นเลย ไม่ส�ม�รถเค้นหรือสร้�งขึ้นม�

ใหม่ได้ง่�ย ๆ 

          ภ�พบุคคลที่ว่�นี้ก็คือภ�พบุคคลในแนวสตรีท แนวไลฟ์ ภ�พข่�ว หรือ

ส�รคดี ภ�พถ่�ยบุคคลในแนวท�งเหล่�นี้ มันต้องเล่�เรื่องได้ สร้�งคว�มสะเทือน

อ�รมณ์แก่ผู้ชมภ�พได้เป็นลำ�ดับแรก ถ้�ได้คว�มสวยง�มของแสงเข้�ม�ช่วยได้

อีกก็สมบูรณ์แบบ แต่ถ้�ไม่ได้ก็ไม่ใช่เรื่องคอข�ดบ�ดต�ย

                 สำ�หรับก�รถ่�ยภ�พบุคคลในลักษณะนี้ต้องมีก�รว�งแผนก�รถ่�ยล่วง

หน้�ให้ดี เลือกเลนส์ให้เหม�ะสม ปรับกล้องให้อยู่ในแบบที่ยกขึ้นถ่�ยภ�พได้

ทันที บ�งทีอ�จต้องเข้�ไปคุยสร้�งคว�มคุ้นเคยให้สนิทสนมกับตัวแบบเสียก่อน

แต่บ�งทีอ�จทำ�ได้เพียงแค่เดินเฉียดผ่�นแล้วกดชัตเตอร์เพียงครั้งเดียว

                    และเมื่อมันเป็นก�รถ่�ยภ�พบุคคล อ�รมณ์ที่จะเกิดขึ้นและเห็นได้ชัด

มันก็ต้องเป็นจ�กสีหน้�และดวงต�ของบุคคลผู้นั้นนั่นเอง อ�จรวมเสื้อผ้�ทรงผม

เข้�ไปด้วย หรือสิ่งอื่น ๆ ที่อยู่ร�ยล้อมอีกก็ได้ถ้�ใช้เลส์มุมกว้�งในก�รถ่�ยภ�พ

แต่ดวงต�ถือว่�เป็นสิ่งสำ�คัญที่สุดอย่�งหนึ่งของก�รถ่�ยภ�พบุคคล

11

Can

on E

OS

Kis

s X4

EF5

0 m

m. f

1.8

Shut

ter1

/320

ก�รจัดว�งท่�ท�ง หรือก�รโพสท่� ผ่�นม�ถึงเรื่องก�รจัดว�งท่�ท�งหรือก�รโพสท่�กันบ้�ง เรื่องนี้สำ�คัญ

กับก�รถ่�ยภ�พบุคคลแบบสวยง�ม เช่น วันรับปริญญ� หรือภ�พพรีเวดดิ้ง ก�ร

ถ่�ยภ�พบุคคบแนวแฟชั่น รวมทั้งก�รถ่�ยภ�พบุคคลอย่�งเป็นท�งก�ร เพร�ะ

ภ�พบุคคลในแนวนี้ส่วนใหญ่ต้องก�รคว�มเนียบ คว�มสวยง�มอย่�งสมบูรณ์

แบบเป็นหลัก

          แล้วถ้�เป็นภ�พแฟชั่นล่ะ ? อันนี้ไม่มีอะไรต�ยตัวเลย ขึ้นอยู่กับธีมของ

ก�รถ่�ยภ�พในเซ็ทนั้น ๆ เป็นหลักว่�ต้องก�รให้ภ�พออกม�ในโทนใด อ�รมณ์

ไหน ก็ใช้ก�รจัดท่�ท�งของหน้�แบบกระตุ้นอ�รมณ์ได้อีกท�งหนึ่งนอกเหนือไป

จ�กก�รจัดแสง

                  ก�รจัดว�งท่�นั้น นอกจ�กจะทำ�ให้แบบดูสวยสง่�ง�มแล้ว บ�งครั้งยัง

เป็นก�รลบเลี่ยงจุดด้อยต่�ง ๆ บนร่�งก�ยได้อีกด้วย โดยเฉพ�ะส่วนเกินต่�ง ๆ

โดยขอให้แบบบิดนิดก้มหน่อย ก็ช่วยทำ�ให้เข�เหล่�นั้นดูดีขึ้นได้เยอะอย่�งไม่น่�

เชื่อจนแทบไม่ต้องม�รีทัชเพิ่มเติมภ�ยหลังด้วยซ้ำ� (แต่กกับภ�พบ�งลักษณะก็

ต้องรีทัชกันเยอะ โดยเฉพ�ะแฟชั่นหรือภ�พที่ใช้ในก�รโฆษณ�)

14

Can

on E

OS

Kis

s X4

EF5

0 m

m. f

1.8

Shut

ter1

/320

ก�รเลือกมุมถ่�ยภ�พ

          อีกหนึ่งเรื่องสำ�คัญก็คือก�รเลือกมุมที่น�ยแบบน�งแบบหน้�ต�ดูดีที่สุด

(ในกรณีถ่�ยภ�พแนวแฟชั่น ภ�พรับปริญญ� ภ�พพรีเวดดิ้ง) ห�กเร�มีแบบ

หน้�ตร�ดีปัญห�นี้จะไม่ค่อยเกิดให้กังวลใจ แต่ถ้�ไม่ใช่ก็เหนื่อยหน่อย และถือ

เป็นหน้�ที่โดยกตรงของช่�งภ�พอันจะต้องค้นห�เหลี่ยมมุมที่ใบหน้�บุคคลผู้นั้น

ดูดีที่สุดออกม�ให้ได้

                  แต่ก็ใช่ว่�เมื่อห�เจอแล้วเร�จะต้องถ่�ยภ�พมุมนั้นไปตลอด เป็นต้นว่�

น้องคนนี้ค�งจะดูใหญ่ถ้�ถ่�ยหน้�ตรง แต่ถ้�ถ่�ยด้�นข้�งศรีริต้�ก็ม�เหอะ น้อง

สวยสู้ได้ค่ะ แล้วเร�ก็เลือกแต่จะถ่�ยภ�พมุมนั้นไปทั้งวัน เพร�ถ้�ม�ดูภ�พเป็น

ชุดในภ�ยหลัง รับรองว่�ขำ�ไม่ออกแน่ คนบ้�อะไรหันข้�งได้ทั้งวัน คือยังไงซะ

มุมหน้�ตรงมันก็ต้องถ่�ยต�มปกติ เพียงแต่ต้องเลี่ยง ๆ อย่�ไปถ่�ยเน้นเฉพ�ะ

ใบหน้� ให้ถ่�ยเต็มตัวเข้�ไว้ เมื่อจะถ่�ยครอปเน้น ๆ ก้ค่อยเลือกมุมด้�นข้�งเข้�

ว่�เป็นหลัก

          อย่�งไรก็ต�ม บ�งทีมันก็เลี่ยงได้ย�ก โดยเฉพ�ะกับสถ�นก�รณ์ที่ต้อง

ถ่�ยภ�พบุคคลเพียงคนเดียวเป็นจำ�นวนม�ก และต่อเนื่องทั้งวันอย่�งง�นรรับ

ปริญญ� เจออย่�งนี้ก็ต้องใช้เรื่องของแสงเป็นตัวช่วยด้วยอีกท�งหนึ่ง ส่วนที่ดู

ด้อย ๆ ก็พย�ย�มให้มันหลบอยู่ในมุมมืดซะ ด้วยก�รใช้แสงแบบเฉียงด้�นข้�ง

อะไรอย่�งนี้เป็นต้น

16

อุปกรณ์ที่ใช้ในก�รถ่�ยภ�พพอร์เทรต

           เลนส์ เลนส์พอร์เทรต  ซึ่งมีหลัก ๆ อยู่ส�มท�งย�งโฟกัสในช่วงเลนส์

เทเลฯ ต้น ๆ อันได้แก่ เลนส์ 85 มม., 105 มม. และ 135 มม. เสนส์ส�มตัวนี้

เหม�ะสำ�หรับก�รถ่�ยภ�พบุคคลแบบครึ่งตัว หรือ “เฮตแอนด์โชว์เดอร์” เป็น

อย่�งยิ่ง เพร�ะมันจะให้สัดส่วนที่สวยง�ม ในขณะที่ส�ม�รถทิ้งฉ�กหลังให้เบลอ

ได้ง่�ย อันเป็นภ�พยอดนิยม

          แต่ห�กนิย�มของคำ�ว่� พอร์เทรตของเร�กว้�งกว่�นั้น เลนส์ที่ส�ม�รถ

นำ�ม�ใช้ง�นก็ย่อมต้องกว้�งขึ้นเช่นกัน ซึ่งมันอ�จเป็นได้ตั้งแต่เลนส์ฟิชอ�ยไป

กระทั่ง ซุปเปอร์เทเลโฟโต้ก็ย่อมได้ และจะเป็นเลนส์เดี่ยวหรือเลนส์ซูมก็ได้ทั้งนั้น

           แผ่นสะท้อนแสง ในกรณีที่ต้องก�รให้ใบหน้�ดูใส ๆ เคลียร์ ๆ อันนี้เหม�ะ

จะเอ�ไว้ใช้กับก�รถ่�ยภ�พแนวแฟชั่นหรือพรีเวดดิ้ง หรือง�นวันรับปริญญ�

                      แฟลช (flash)  ส�ม�รถนำ�ม�ใช้เป็นได้ทั้งแสงหลักของก�รถ่�ยภ�พ

หรือเป็นแสงเสิรมร่วมกับแสงธรรมช�ติ หรือใช้เป็นทั้งแสงหลักแสงเสริม ห�ก

มีแฟลชม�กกว่�หนึ่งดวงขึ้นไป และมีอุปกรณ์ควบคุมแฟลชให้ทำ�ง�นพร้อมกัน

หล�ย ๆ ดวงได้

17