bochoure aec

2
AS EA communication Asia Economic N กฎบัตรอาเซียน(ASEANCHARTER) หรือธรรมนูญอาเซียน กฎบัตรอาเซียนเปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของ อาเซียนที่จะทำให้อาเซียนมีสถานะเป็นนิติบุคคล เป็นการ วางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรให้กับอาเซียน โดย นอกจากจะประมวลสิ่งที่ถือเป็นค่านิยม หลักการ และแนว ปฏิบัติในอดีตของอาเซียนมาประกอบกันเป็นข้อปฏิบัติอย่าง เป็นทางการของประเทศสมาชิกแล้ว ยังมีการปรับปรุงแก้ไขและ สร้างกลไกใหม่ขึ้นพร้อมกำหนดขอบเขตหน้าที่ความรับผิด ชอบขององค์กรที่สำคัญในอาเชียนตลอดจนความสัมพันธ์ ในการดำเนินงานขององค์กรเหล่านี้ให้สอดคล้องกับความ เปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ อ า เ ซี ย น ใ ห้ ส า ม า ร ถ ด ำ เ นิ น ก า ร บ ร ร ลุ ต า ม วัตถุประสงค์และเป้าหมายโดยเฉพาะอย่างยิ่งการ ขับเคลื่อนการรวมตัวของประชาคมอาเซียนให้ได้ ภายในปีพ.ศ.2558ตามที่ผู้นำอาเซียนได้ตกลงกันไว้ ทั้งนี้ ผู้นำอาเซียนได้ลงนามรับรองกฎบัตรอาเซียน ในการประชุมสุดยอดยอดเซียน ครั้งที13 เมื่อวันที20 พฤศจิกายน 2550 ประเทศสิงคโปร์ ในโอกาสครบรอบ 40 ของการก่อตั้งอาเซียน แสดงให้เห็นว่าอาเซียนกำลัง แสดงให้ประชาคมโลกได้เห็นถึงความก้าวหน้าของ อาเซียนที่กำลังจะก้าวเดินไปด้วยกันอย่างมั่นใจระหว่าง ประเทศสมาชิกต่าง ทั้ง 10 ประเทศ และถือเป็น เอกสารประวัติศาสตร์ชิ้นสำคัญที่จะปรับเปลี่ยนอาเซียนให้เป็น องค์กรที่มีสถานะเป็นนิติบุคคลในฐานะที่เป็นองค์กร ระหว่างรัฐบาล ประเทศสมาชิกได้ให้สัตยาบันกฎบัตรอาเซีย น ครบทั้ง 10 ประเทศแล้วเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน2551 กฎบัตร อาเซียนจึงมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 15 ธ.ค. 2551 เป็นต้นไป ความสำคัญของกฎ บั ต ร อ า เ ซี ย น ต่ อ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย กฎบัตรอาเซียนให้ความสำคัญกับการปฏิบัติตามพันธ กรณีต่างๆของประเทศสมาชิกซึ่งจะช่วยสร้างเสริมหลัก ประกันให้กับไทยว่าจะสามารถได้รับผลประโยชน์ตามทีต ก ล ง กั น ไ ว้ อ ย่ า ง เ ต็ ม เ ม็ ด เ ต็ ม ห น่ ว ย น อ ก จ า ก นี้ ก า ร ป รั บ ป รุ ง ก า ร ด ำ เ นิ น ง า น แ ล ะ โครงสร้างองค์กรของอาเซียนให้มีประสิทธิภาพมาก ขึ้นและการเสริมสร้างความร่วมมือในทั้ง 3 เสาหลักของ ประชาคมอาเซียนจะเป็นฐานสำคัญที่จะทำให้ อาเซียนสามารถตอบสนองต่อความต้องการและ ผลประโยชน์ของรัฐสมาชิกรวมทั้งยกสถานะและอำนาจต่อรอง และภาพลักษณ์ของประเทศสมาชิกในเวทีระหว่าง ประเทศได้ดียิ่งขึ้นซึ่งจะเอื้อให้ไทยสามารถผลักดันและ ได้รับผลประโยชน์ด้านต่างๆเพิ่มมากขึ้นด้วย ตัวอย่างเช่น -อาเซียนขยายตลาดให้กับสินค้าไทยจาก ประชาชนไทย60ล้านคนเป็น ประชาชนอาเซียนกว่า 550ล้านคนประกอบกับการข ยายความร่วมมือเพื่อเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐาน เช่น เส้นทางคมนาคม ระบบไฟฟ้า โครงข่ายอินเตอร์เน็ต ฯลฯ จะช่วยเพิ่มโอกาสทางการค้าและการลงทุนให้กับไทย นอกจากนี้อาเซียนยังเป็นทั้งแหล่งเงินทุนและเป้าหมาย การลงทุนของไทยและไทยได้เปรียบประเทศสมาชิก อื่นๆที่มีที่ตั้งอยู่ใจกลางอาเซียนสามารถเป็นศูนย์กลางทาง การคมนาคมและขนส่งของประชาคมซึ่งมีการเคลื่อนย้าย สินค้า บริการ และบุคคล ระหว่างประเทศสมาชิกที่สะดวกขึ้น -อาเซียนช่วยส่งเสริมความร่วมมือในภูมิภาคเพื่อ เผชิญกับภัยคุกคามที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง เช่นSARsไข้หวัดนกการค้ามนุษย์ภัยพิบัติทางธรรมชาติ หมอกควันยาเสพติดปัญหาโลก ร้ อ น แ ล ะ ปั ญ ห า ค ว า ม ย า ก จ น เ ป็ น ต้ น -อาเซียนจะช่วยเพิ่มอำนาจต่อรองของไทยในเวทีโลก และเป็นเวทีที่ไทยสามารถใช้ในการผลักดันให้มีการ แกไขปัญหาของเพื่อนบ้านที่กระทบมาถึงไทยด้วย

Upload: phimphorn-cherdchoo

Post on 26-Mar-2016

225 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

Bochoure AEC

TRANSCRIPT

Page 1: Bochoure AEC

ASEA

communication

AsiaEconomic

N

กฎบัตรอา เซียน(ASEANCHARTER)

ห รื อ ธ ร ร ม นู ญ อ า เ ซี ย น ก ฎบั ต ร อ า เ ซี ย น เ ป รี ย บ เ สมื อ น รั ฐ ธ ร รมนู ญขอ ง

อาเซียนที่จะทำให้อาเซียนมีสถานะเป็นนิติบุคคล เป็นการ

วางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรให้กับอาเซียน โดย

นอกจากจะประมวลสิ่งที่ถือเป็นค่านิยม หลักการ และแนว

ปฏิบัติในอดีตของอาเซียนมาประกอบกันเป็นข้อปฏิบัติอย่าง

เป็นทางการของประเทศสมาชิกแล้ว ยังมีการปรับปรุงแก้ไขและ

สร้างกลไกใหม่ขึ้นพร้อมกำหนดขอบเขตหน้าที่ความรับผิด

ชอบขององค์กรที่สำคัญในอาเชียนตลอดจนความสัมพันธ์

ในการดำเนินงานขององค์กรเหล่านี้ให้สอดคล้องกับความ

เปลี่ ยนแปลงในโลกปั จจุบัน เพื่ อ เพิ่ มประสิทธิ ภ าพของ

อ า เ ซี ย น ใ ห้ ส า ม า ร ถ ด ำ เ นิ น ก า ร บ ร ร ลุ ต า ม

วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ แ ล ะ เ ป้ า ห ม า ย โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง ก า ร

ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร ร ว ม ตั ว ข อ ง ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น ใ ห้ ไ ด้

ภ า ย ในปี พ . ศ . 2 5 5 8 ต า มที่ ผู้ น ำ อ า เ ซี ย น ได้ ต ก ล ง กั น ไ ว้

ทั้ ง นี้ ผู้ น ำ อ า เ ซี ย น ไ ด้ ล ง น า ม รั บ ร อ ง ก ฎ บั ต ร อ า เ ซี ย น

ในการประชุมสุดยอดยอดเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 20

พฤศจิกายน 2550 ณ ประเทศสิงคโปร์ ในโอกาสครบรอบ

40 ของการก่อตั้งอาเซียน แสดงให้เห็นว่าอาเซียนกำลัง

แสด ง ให้ ป ร ะช า คม โลก ได้ เ ห็ น ถึ ง ค ว า มก้ า วหน้ า ข อ ง

อาเซียนที่ กำลั งจะก้ าว เดินไปด้วยกันอย่ างมั่นใจระหว่ าง

ประเทศสมาชิกต่าง ๆ ทั้ง 10 ประเทศ และถือเป็น

เอกสารประวัติศาสตร์ชิ้นสำคัญที่จะปรับเปลี่ยนอาเซียนให้เป็น

องค์ ก รที่ มี สถ านะ เป็ นนิ ติ บุ ค คล ในฐ านะที่ เ ป็ นอ งค์ ก ร

ระหว่างรัฐบาล ประเทศสมาชิกได้ให้สัตยาบันกฎบัตรอาเซีย

น ครบทั้ง 10 ประเทศแล้วเมื่อวันท่ี 15 พฤศจิกายน2551 กฎบัตร

อาเซียนจึงมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 15 ธ.ค. 2551 เป็นต้นไป

ค ว า ม ส ำ คั ญ ข อ ง ก ฎ

บั ต ร อ า เ ซี ย น ต่ อ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย กฎบัตรอาเซียนให้ความสำคัญกับการปฏิบัติตามพันธ

กรณีต่ างๆของประเทศสมาชิกซึ่ งจะช่วยสร้ าง เสริมหลัก

ประกันให้กับไทยว่าจะสามารถได้รับผลประโยชน์ตามที่

ต ก ล ง กั น ไ ว้ อ ย่ า ง เ ต็ ม เ ม็ ด เ ต็ ม ห น่ ว ย น อ ก

จ า ก นี้ ก า ร ป รั บ ป รุ ง ก า ร ด ำ เ นิ น ง า น แ ล ะ

โคร งสร้ า ง อ งค์ ก รของอ า เซี ยน ให้ มี ป ระสิ ทธิ ภ าพมาก

ขึ้นและการเสริมสร้างความร่วมมือในทั้ง 3 เสาหลักของ

ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น จ ะ เ ป็ น ฐ า น ส ำ คั ญ ที่ จ ะ ท ำ ใ ห้

อ า เ ซี ย น ส า ม า ร ถ ต อ บ ส น อ ง ต่ อ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร แ ล ะ

ผลประโยชน์ของรัฐสมาชิกรวมทั้งยกสถานะและอำนาจต่อรอง

แ ล ะ ภ า พ ลั ก ษณ์ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ สม า ชิ ก ใ น เ ว ที ร ะ ห ว่ า ง

ประเทศได้ดี ยิ่ งขึ้นซึ่ งจะ เอื้ อให้ไทยสามารถผลักดันและ

ได้รับผลประโยชน์ด้านต่างๆเพิ่มมากขึ้นด้วย ตัวอย่างเช่น

- อ า เ ซี ย น ข ย า ย ต ล า ด ใ ห้ กั บ สิ น ค้ า ไ ท ย จ า ก

ป ร ะ ช า ช น ไ ท ย 6 0 ล้ า น ค น เ ป็ น

ประชาชนอา เซี ยนกว่ า 5 5 0ล้ านคนประกอบกับก ารข

ยายความร่วมมือเพื่อเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐาน เช่น

เส้นทางคมนาคม ระบบไฟฟ้า โครงข่ายอินเตอร์เน็ต ฯลฯ

จะช่ วย เพิ่ ม โอกาสทางการค้ าและการลงทุนให้ กั บไทย

นอกจากนี้ อ า เซี ยนยั ง เป็นทั้ งแหล่ ง เ งินทุนและ เป้ าหมาย

ก ารลงทุ นของไทยและไทยได้ เ ป รี ยบประ เทศสมาชิ ก

อื่นๆที่มีที่ตั้ งอยู่ใจกลางอาเซียนสามารถเป็นศูนย์กลางทาง

การคมนาคมและขนส่งของประชาคมซึ่ งมีการเคลื่อนย้าย

สินค้า บริการ และบุคคล ระหว่างประเทศสมาชิกที่สะดวกขึ้น

-อา เซี ยนช่ วยส่ ง เสริมความร่ วมมือในภูมิภาค เพื่ อ

เผชิญกับภัยคุกคามที่ส่ งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง

เช่นSARsไข้หวัดนกการค้ ามนุษย์ภั ยพิบัติทางธรรมชาติ

ห ม อ ก ค วั น ย า เ ส พ ติ ด ปั ญ ห า โ ล ก

ร้ อ น แ ล ะ ปั ญ ห า ค ว า ม ย า ก จ น เ ป็ น ต้ น

-อา เซี ยนจะช่ วย เพิ่ มอำนาจต่ อรองของไทยใน เวที โลก

และ เป็ น เ วที ที่ ไ ท ยส าม า รถ ใช้ ในก า รผลั กดั น ให้ มี ก า ร

แ ก ไ ขปั ญห า ข อ ง เ พื่ อ นบ้ า นที่ ก ร ะ ทบม า ถึ ง ไ ท ย ด้ ว ย

Page 2: Bochoure AEC

sia Economic CommunicationAOne Vision, One Identity, One Community

AEC

เป็นการพัฒนามาจากการเป็นสมาคมประชาชาติ

แ ห่ ง เ อ เ ชี ย ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง ใ ต้ ( T h e

Assoc ia t ion of South Eas t Asian Nat ions

: A S E A N ) ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น ต า ม ป ฏิ ญ ญ า ก รุ ง เ ท พ ฯ

(Bangkok Declara t ion) เมื่ อ 8 สิ งหาคม 2510

โดยมีประเทศผู้ก่อตั้งแรกเริ่ม 5 ประเทศ คือ

อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย

ต่อมาในปี 2527 บรูไนก็ได้เข้าเป็นสมาชิก

ต า ม ด้ ว ย 2 5 3 8 เ วี ย ด น า ม ก็ เ ข้ า ร่ ว ม เ ป็ น

สมาชิกต่อมา 2540 ลาวและพม่าเข้าร่วมและปี 2542

กั ม พู ช า ก็ ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว ม เ ป็ น ส ม า ชิ ก ล ำ ดั บ ที่ 1 0

ทำให้ปั จจุบันอา เซี ยน เป็นกลุ่ ม เศรษฐกิ จภูมิ ภ าค

ขนาดใหญ่มีประชากรรวมกันเกือบ 500 ล้านคน

จ า ก นั้ น ใ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม สุ ด ย อ ด อ า เ ซี ย น

ครั้งที่ 9 ที่อินโดนีเซียเมื่อ 7 ต.ค. 2546 ผู้นำ

ป ร ะ เ ท ศ ส ม า ชิ ก อ า เ ซี ย น ไ ด้ ต ก ล ง กั น ที่ จ ะ จั ด ตั้ ง

ประชาคมอาเซียน(ASEAN Community)ซ่ึงประกอบด้วย3เสาหลักคือ

1 . ป ร ะ ช า ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อ า เ ซี ย น

( A s e a n E c o n o m i c C o m m u n i t y : A E C )

2 . ป ร ะ ช า ค ม สั ง ค ม แ ล ะ

วัฒ น ธ ร ร ม อ า เ ซีย น ( S o c i o - C u l t u r a l P i l l a r )

3 . ป ร ะ ช า ค ม ค ว า ม ม่ั น ค ง อ า เ ซี ย น

( P o l i t i c a l a n d S e c u r i t y P i l l a r )

ส ำ ห รั บ เ ส า ห ลั ก ก า ร จั ด ตั้ ง ป ร ะ ช า ค ม

เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อ า เ ซี ย น ( A S E A N E c o n o m i c

CommunityหรือAEC)ภายในปี2558เพื่อให้อาเซียนมีการ

เ ค ลื่ อ น ย้ า ย สิ น ค้ า บ ริ ก า ร ก า ร ล ง ทุ น แ ร ง ง า น

ฝี มื อ อ ย่ า ง เ ส รี แ ล ะ เ งิ น ทุ น ที่ เ ส รี ขึ้ น ต่ อ ม า ใ น

ปี 2 550อา เซี ยนได้ จั ดทำพิ มพ์ เ ขี ย ว เพื่ อ จั ดตั้ งประชาคม

เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อ า เ ซี ย น ( A E C B l u e p r i n t ) เ ป็ น แ ผ น

บู ร ณ า ก า ร ง า น ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ใ ห้

เ ห็ น ภ า พ ร ว ม ใ น ก า ร มุ่ ง ไ ป สู่ A E C ซึ่ ง

ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย แ ผ น ง า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ใ น ด้ า น ต่ า ง ๆ

พ ร้ อ ม ก ร อ บ ร ะ ย ะ เ ว ล า ที่ ชั ด เ จ น ใ น ก า ร ด ำ เ นิ น

ม า ต ร ก า ร ต่ า ง ๆ จ น บ ร ร ลุ เ ป้ า ห ม า ย ใ น

ปี 2 5 5 8 ร ว ม ทั้ ง ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ยื ด ห ยุ่ น ต า ม ที่

ป ร ะ เ ท ศ ส ม า ชิ ก ไ ด้ ต ก ล ง กั น ล่ ว ง ห น้ า

ใ น อ น า ค ต A E C จ ะ เ ป็ น อ า เ ซี ย น + 3 โ ด ย

จ ะ เ พิ่ ม ป ร ะ เ ท ศ จี น เ ก า ห ลี ใ ต้ แ ล ะ ญี่ ปุ่ น

เ ข้ า ม า อ ยู่ ด้ ว ย แ ล ะ ต่ อ ไ ป ก็ จ ะ มี

การเจรจา อาเซียน+6 จะมีประเทศจีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น

อ อ ส เ ต ร เ ลี ย นิ ว ซี แ ล น ด์ แ ล ะ อิ น เ ดี ย ต่ อ ไ ป

Aec Blueprint ส ำ ห รั บ เ ส า ห ลั ก ก า ร จั ด ตั้ ง ป ร ะ ช า ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ

อ า เ ซี ย น ( A S E A N E c o n o m i c C o m m u n i t y ห รื อ

A E C ) ภ า ย ใ น ปี 2 5 5 8 เ พื่ อ ใ ห้ อ า เ ซี ย น มี ก า ร

เ ค ลื่ อ น ย้ า ย สิ น ค้ า บ ริ ก า ร ก า ร ล ง ทุ น แ ร ง ง า น ฝี มื อ

อย่ าง เสรีและเงินทุนที่ เสรีขึ้นต่อมาในปี 2550 อา เซียน

ไ ด้ จั ด ท ำ พิ ม พ์ เ ขี ย ว เ พื่ อ จั ด ตั้ ง ป ร ะ ช า ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ

อ า เซี ยน (AECB l u e p r i n t ) เ ป็ นแผนบู รณาก า ร ง านด้ าน

เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ใ ห้ เ ห็ น ภ า พ ร ว ม ใ น ก า ร มุ่ ง ไ ป สู่ A E C

ซึ่ ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย แ ผ น ง า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ใ น ด้ า น ต่ า ง ๆ

พ ร้ อ ม ก ร อ บ ร ะ ย ะ เ ว ล า ที่ ชั ด เ จ น ใ น ก า ร ด ำ เ นิ น

มาตรการต่างๆ จนบรรลุเป้าหมายในปี 2558 รวมทั้ง

การให้ คว ามยื ดหยุ่ นต ามที่ ป ระ เทศสมาชิ กได้ ตกลงกัน

ล่วงหน้าเพื่อสร้างพันธสัญญาระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน

อ า เ ซี ย น ไ ด้ ก ำ ห น ด ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ก า ร ก้ า ว ไ ป

สู่ ป ร ะ ช า ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อ า เ ซี ย น ที่ ส า คั ญ ดั ง นี้

1 . ก า ร เ ป ็ น ต ล า ด แ ล ะ ฐ า น ก า ร ผ ล ิ ต เ ด ี ย ว กั น

2 .การเป็นภูมิภาคที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง

3.การเป็นภูมิภาคท่ีมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจท่ีเท่าเทียมกัน

4.การเป็นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก