brain stem

17
N N E E R R V V O O U U S S S S Y Y S S T T E E M M 1 N N E E R R V V O O U U S S S S Y Y S S T T E E M M Brainstem (review)

Upload: namm-wipaporn

Post on 22-Nov-2014

648 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Brain Stem

NN EE RR VV OO UU SS SS YY SS TT EE MM 1

NN EE RR VV OO UU SS SS YY SS TT EE MM

Brainstem (review)

Page 2: Brain Stem

NN EE RR VV OO UU SS SS YY SS TT EE MM 2

MM ee dd uu ll ll aa เจริญมาจาก Myelencephalon อยูบริเวณขอบลางของ pons และ spinal Cord (ลักษณะภายนอกกรุณาดูรูปในหนังสือ)

ลักษณะภายนอก (External morphology)

ดานหนา - พบ Pyramid ขนาบอยู 2 ขางของรอง anteromedial sulcus

- พบกอนนูนอยู 2 ขางของ Pyramid เรียก olive ภายในเปนกลุมเซลลประสาท inferior olivary complex

- รองระหวาง Pyramid และ olive พบ cranial nerve root ของ CN XII

- รองดานขางของ olive พบ cranial nerve root ของ CN IX, CN X, CN XI (9,10,11)

ดานหลัง - พบ Fasciculus gracilis and gracile tubercle

- พบ Fasciculus cuneatus and cuneate tubercle

- พบครึ่งลางของ floor of 4th ventricle ท่ีแบงโดย stria medullalis ซึ่งภายในมี trigone สําคัญอยู 2 trigone

คือ Hypoglossal and Vagal trigone

- ขอบลางของ 4th ventricle พบกับตรงกลางตรงบริเวณที่เรียกวา Obex สวนหลังคาของ 4th ventricle

จะเปนสมองนอย

ดานขาง - พบสวนนูนเรียก tuberculum cinereum (ภายในมี spinal V tract and nucleus)

อยูระหวางบริเวณท่ีรากประสาท CN 9,10,11 โผลออกและ dorsolateral sulcus

ลักษณะภายใน (Internal morphology)

- พบ central gray รูปรางกลมอยูตรงกลาง และพบกลุมเซลลประสาท ascending, descending tract และ

reticular formation ตําแหนงใกลเคียงเดิมแมตัดตางระดับ

- Medulla แบงไดอีก เปนสวนที่ยังไมเปดออกเปน 4th ventricle (Close medulla) และสวนท่ีเปดออกเปน 4th

ventricle แลว (Open medulla) โดย Open medulla ยังแบงไดอีก 3 สวน คือ สวนปลาย(caudal),

สวนกลาง(midmedulla) และสวนตน(rostral medulla)

การศึกษาสวนประกอบภายในของ medulla โดยการตดัขวางทีร่ะดับตางๆ

1. Close medulla แบงเปน 2 ระดับ

1.1 Pyramidal decussation

- ระดับนี้เริ่มพบ nucleus gracilis และ cuneatus ขานดยังไมใหญ มี central gray อยูตรงกลาง

- Lissauer tract และ substantis gelatinosa ถูกแทนที่ดวย spinal V tract and nucleus (อยูดานขางตอ

fasciculus cuneatus)

- ดานหนาพบการพาดขามกันของ Pyramidal tract เรียก Pyramidal decussation (motor decussation)**

Page 3: Brain Stem

1.2 Sensory decussation

- พบ nucleus gracilis และ cuneatus ขนาดใหญ และ Fasciculus gracilis and cuneatus หายไปใกลจะหมด

เนื่องจากมีการสิ้นสุด tract ท่ี nuclues

- หลังจากสิ้นสุดจะใหใยประสาทเปน internal arcuate วนรอบ central gray พาดขามกลาง (ตําแหนงบนตอ

Pyramidal decussation) เรียก Sensory decussation*** (มาจาก Tract ท่ีรับความรูสึกไง)

2. Open medulla แบงเปน 3 ระดับ

2.1 Caudal medulla

- เริ่มเปดเปน 4th ventricle สวนของ central gray หายไป

- Nucleus gracilis and cuneatus มีขนาดเล็ก ใกลจะหายไป

- Pyramidal tr. และ Inferior olivary complex อยูดานหนา

2.2 Midmedulla

- เปนบริเวณ floor of 4th ventricle

- พบ Hypoglossal + vagal eminence นูนชัด

- Inferior olivary complex แยกเปน 3 กลุม (Principal, medial, dorsal)

- Dorsal motor nu. of N.X , Solitary tract and nucleus เรียงลําดับในตําแหนงเดิม

2.3 Rostral medulla - ตอกับ pons มี pyramidal และ olive อยูดานหนา

- ดานขางพบ Inferior cerebellar peduncle ขนาดใหญ ซึ่งมีแนวของ Olivocerebellar tract วิ่งเขา

- พบ Dorsal + ventral cochlear nucleus

NN EE RR VV OO UU SS SS YY SS TT EE MM 3

Page 4: Brain Stem

Nucleus and tract ท่ีควรรูใน medulla 1. Pyramid ภายในพบ corticospinal tr. (pyramidal tr.) วิ่งผานลงไปเพื่อควบคุมการทํางานของรางกาย สวนมากจะ

พาดขามเปน motor decussation ตอไปเปน lateral corticospinal tr. (80%) และสวนท่ีไมพาดขามจะตอไปเปน

anterior corticospinal tr. (20%)

2. inferior olivary nuclear complex ประกอบดวยสวน principal, dorsal และ medial เซลลประสาทมี dendrite สั้น

axon จํานวนมากจะพาดขามแลววิ่งเปน olivocerebellar fiber เพื่อไปเขา inferior cerebellar peduncle ของ

cerebellum มีการเชื่อมโยงจากหลายสวน ดังนี้

- ascending fiber (สวนท่ีมาสิ้นสุด) มาจาก olivocerebellar fiber, spino-olivary fiber

- descending fiber (สวนท่ีออกจาก ION) cerebral cortex, red nu., periaqueductal gray

** ดังนั้น ION จึงถือเปนตัวเชื่อมระหวาง spinal cord กับ cerebellum และ cerebral cortex กับ cerebellum

3. Nucleus gracilis เปนจุดสิ้นสุดของ fasciculus gracilis นําความรูสึก fine touch + propioception ต้ังแต T6

จนถึงขา ไปสูสมอง

4. Nucleus cuneatus เปนจุดสิ้นสุดของ fasciculus cuneatus นําความรูสึก fine touch + propioception ต้ังแต T6

จนถึงขา ไปสูสมอง

5. จากครึ่งบนของลําตัวและแขนไปสูสมอง

6. Spinal V tract and nu. รับความรูสึก pain + temp. (GSA) จากใบหนา หนังศีรษะและบริเวณหู

7. Nucleus ambiguous (SVE) เปนกลุมเซลลประสาทที่มีตําแหนงคลุมเครือ อยูระหวาง Spinal V tract and nu. และ

inferior olivary nuclear complex ประกอบดวยรากประสาทชนิด motor ของ N. 9,10,11 จะใหใยประสาทไปเลี้ยง

soft palate, pharynx และ larynx

8. Solitary tract and nu. อยูดานขางตอ Dorsal motor nu. of N.X ประกอบดวยรากประสาทของ N. 7,9,10รับ

ความรูสึกจากอวัยวะภายใน (GVA) และรับรส (SVA)

NN EE RR VV OO UU SS SS YY SS TT EE MM 4

9. Medial lemniscus เกิดจาก sensory decussation แลวจะวิ่งขึ้นไปที่ VPL ของ thalamus เพื่อสงตอไปยังsensory

area (312) ของ cortex โดยนํา fine touch + propioception

Page 5: Brain Stem

NN EE RR VV OO UU SS SS YY SS TT EE MM 5

PP oo nn ss

โครงสรางภายนอก Pons วางอยูหนาตอสมองนอย (cerebellum) ยาวประมาณ 1 นิ้ว

ดานหนา - มีลักษณะของ Transverse fiber ไปบรรจบกัน 2 ขางเปน middle cerebellar peduncle พบ basilar groove ท่ี

รองรับ basilar a.

- มี Trigeminal n. โผลแทรกออกมา 1 คู ขางตอ basilar groove

- รองระหวาง pons และ medulla มีเสนประสาทเรียงจากดานในไปนอก คือ abducens, facial และ

vestibulocochlear n. ( nerve 6, 7,8 )****

ดานหลัง

- ปกคลุมดวย Cerebellum ประกอบเปนครึ่งบนของ floor of 4th ventricle

- มีรองกลางตามยาวเรียก Median sulcus รอยนูนขางรองกลางเรียก medial eminence เกือบปลายของรอยนูนนี้มีตุม

นูนกลมอยูคูหนึ่งเรียก facial colliculus ซึ่งเกิดจาก root fiber of facial n. โอบบน abducens nucleus ***

- ดานขางมีรองเล็กกวาเรียก sulcus limitans ซึ่งปลายบนจะมีสีน้ําเงินอมเทาเพราะมีกลุม pigment nevre cell เรียก

substantia ferruginea (locus ceruleus) และ lateral ตอ sulcus ceruleus เรียก vestibular area ลึก

เขาไปจะเปน vestibular nuclei

โครงสรางภายในและ Nucleus and tract ท่ีควรรู

Pons แบงเปน 2 สวน โดยอาศัย transverse fibers ท่ีเรียกวา trapezoid body ไดแก สวนหลังเรียก tegmentum สวน

หนาเรียก basal pons

โครงสรางภายในของ Pons ยังแบงไดอีก 2 ระดับ ตามการตัดขวาง ไดแก

1. เม่ือตัดผานระดับ facial colliculus (ระดับลาง) - พบ medial lemniscus วางอยูสวนหนาของ tegmentum รปูรางคลายหนวดคน**

- Facial nucleus วางอยูหลังตอ lateral part ของ medial lemniscus ให fiber วิ่งขึ้นไปดานใน โอบรอบ abducens nucleus แลววกมาดานหนาระวาง facial nucleus และ spinal trigeminal nucleus กอนโผลออกดาน lateral ออกไป

เปน root fiber of facial n.

- MLF {medial longitudinal lemniscus}อยูใตตอ 4th ventricle ชดิ midline

- Medial vestibular nucleus อยู lateral ตอ abducens nucleus ติดกับ inferior cerebellar peduncle

- Spinal trigeminal tract and nucleus วางอยู anteromedial (หนาและใน) ตอ inferior cerebellar peduncle

- Trapezoid body** เปนกลุมของ fiber (pontocerebellar fiber) จาก cochlear nuclei และ nuclei of trapezoid

body อยูในแนวขวางที่สวนหนาของ tegmentum

- Basal part of Pons (Pons proper) คือระดับลาง ประกอบดวย

1. pontine nuclei

2. corticospinal , corticobulbar และ corticopontine fiber เฉพาะสวน corticopontine fiber ท่ีสิ้นสุดท่ี

pontine nuclei

3. Axon จาก pontine nuclei ท่ีเปน transverse fiber วิ่งไปดานตรงขามและรวมเปน Middle cerebellar

peduncle ท่ีไปสิ้นสุดท่ี cerebellum *** เปนตวัเชือ่มระหวางสมองเลก็และสมองใหญ ***

Page 6: Brain Stem

2. เม่ือตัดผาน Trigeminal nuclei (ระดับบน) - Motor nuclei of trigeminal n. วางอยูหนาตอ floor of 4th ventricle ทางดานขาง, medial ตอ sensory fiber

- Principal {chief}sensory nucleus of trigeminal n. วางอยูขางตอ motor nu. of N.5 ปลายลางตอกับ spinal

trigeminal nu. ซึ่ง root fiber จะโผลออกมาทางหนาและขางของ pons ***อยู lateral ตอ motor nu.

- Superior cerebellar peduncle วางอยูหลังและขางตอ motor nu. Of N.5 มี anterior spinocerebellar tr.

มารวมดวย

- Trapezoid body + medial lemniscus วางอยูในตําแหนงเดิม

- Lateral lemniscus วางอยูหลังและขางตอปลายทาง lateral of medial lem. ** เปน tr. ท่ีมีจุดเริ่มตนจาก

Dorsal + ventral cochlear nuclei และ superior olivary nu.

NN EE RR VV OO UU SS SS YY SS TT EE MM 6

Medial lemniscus

Pontine nuclei

Page 8: Brain Stem

NN EE RR VV OO UU SS SS YY SS TT EE MM 8

MM ii dd bb rr aa ii nn

โครงสรางภายนอก (External Morphology)

Midbrain อยูระหวาง Pons และ Cerebellum ทางดาน caudal, กับสมองสวนหนา (Forebrain) ทางดาน rostral

ดานหนา มีกาน 2 กานอยูเปนขอบ เรียก Curs cerebri (basis pedunculi) ซึ่งโอบรอบแองในแนวกลางที่เรียกวา

Interpeduncular fossa อยู ในแองนี้มี cranial nerve คูท่ี 3 (Oculomotor n.)โผลออกมา

ดานหลงั มีกอนนูน 4 กอน เรียก colliculus แบงเปนคูบน คือ superior colluculi และคูลาง คือ inferior colliculi ท่ีแนวกลาง

ลางตอ inf. colliculi มี cranial n. คูท่ี 4 (Trochlear n.) โผลออกมา

โครงสรางภายใน (Internal morphology)

Midbrain แบงเปน 3 สวน คือ tectum, tegmentum และ crus cerebri โดยดูจากภาพตัดขวางของ Midbrain

1. Tectum เปนสวนท่ีอยูเหนือระดับ cerebral aqueduct โดย tectum ประกอบไปดวย superior and inferior colliculi

2. Tegmentum อยูระหวาง tectum และ crus cerebri เปนท่ีอยูของ nucleus และทางผานขึ้นลงของ tract ตางๆ ไดแก

oculomotor nucleus, red nucleus, medial lemniscus, substantia nigra เปนตน

3. Crus cerebri เปนฐานของ midbrain ประกอบดวยใยประสาทที่วิ่งลงรวมกันอยูหนาแนน crus cerebri + tegmentum เรียก cerebral peduncle โดยมีแอง interpeduncular fossa อยูระหวาง cerebral peduncle ท้ังสองขาง

โครงสรางภายใน ของ Midbrain ยังแบงไดอีก 2 ระดับ ตามการตัดสมองตามขวาง คือ 1. เมือ่ตดัขวาง midbrain ท่ีระดับ inferior colliculi

- จะเห็นกอนนูนทางดานหลังคือ inferior colliculi

- รอบ cerebral aqueduct เปนเนื้อเทาชื่อ central/peripheral gray matter

- ใกลแนวกลางหลังตอ MLF มีนิวเคลียสรูปรางรีคือ Trochlear nucleus

- สวนกลางของ tegmentum เปน decussation of superior cerebellar peduncles

- substantia nigra เปนกลุมเซลลประสาทสีเขมเปนแถบอยูหนาสุดของ tegmentum

- หลังตอ substantia nigra มี medial lemniscus วางตัวอยู และดานหลังจะเปน spinal lemniscus ซึ่งอยูติดกัน (มี

spinothalamic tract เปนสวนใหญ)

- หลังตอ Spinal lemniscus คือตําแหนงที่ lateral lemniscus วิง่เขาสู inferior colliculi ท่ีอาจารยย้ําเสมอวาเปนรูปกามปู*****

- หนาตอ substantia nigra คือ crus cerebriโดย 3/5 ตรงกลางเปน pyramidal tract ดานในเปน

cortico/frontopontine tr. ดานนอกเปน cortico/temporopontine tr.

Page 9: Brain Stem

2. เมือ่ตดัขวาง midbrain ท่ีระดับ superior colliculi

- เห็นกอนนูนทางดานหลังคือ superior colliculi

- หลังตอ MLF พบ Oculomator nucleus รูปรางคลายลิ่ม ซึ่งอยูติดกับ Edinger-westphal nu.(บนกวา oculomotor

nu. แตจะแยกไมคอยได) ใยประสาทของ 2 nu. นี้จะรวมกันออกมาเปน oculomotor n.

- Red nucleus มีรูปรางกลมขนาดใหญ อยูตรงกลางของ tegmentum มี oculomotor n. วิ่งผานดานหนาเพื่อออกสู

interpeduncular fossa ในตอ crus cerebri

- Medial และ lateral lemniscus อยูดานขางของ red nu. เปนแถบโคงหลังตอ substantia nigra

- crus cerebri อยูในตําแหนงเดิม ประกอบดวยวิถีประสาทเหมือนเดิม

NN EE RR VV OO UU SS SS YY SS TT EE MM 9

INFERIOR COLLIICULUS ท่ีมี LATERAL LEM. มาเปดเปนกามป ู

central gray matter, periaqueductal gray

Page 10: Brain Stem

NN EE RR VV OO UU SS SS YY SS TT EE MM 10

Nucleus and tract ท่ีควรรูใน Midbrain

1. ในสวน tectum ของ midbrain

- Inferior colliculus เปนกลุมเซลประสาทที่มีหนาท่ีเกี่ยวกับการไดยิน (audition) โดยมีใยประสาทของ lateral lemniscus

วิ่งเขา เพื่อไปยัง medial geniculate boby ซึ่งจะสงตอไปที่ transverse temporal gyrus ท่ี temporal lobe และ

ปฏิกิริยาตอบสนองตอเสียง (auditory reflex) เชน การกลอกตา โดยอาศัย tectobulbar fiber สงกระแสประสาทไปยัง

CN.III, IV, VI และหันศีรษะยังตนกําเนิดเสียง โดยอาศัย tectospinal fiber สงกระแสประสาทไปยังไขสันหลังระดับคอสวนตนๆ

- Superior colliculus ในคนทําหนาท่ีมีปฏิกิริยาตอบสนองตอแสง (light reflex / visual reflex) และการเคลื่อนไหวของลูก

ตานอกอํานาจจิตใจ ### ไมไดรบัภาพนะ ###

2. ในสวน tegmentum ของ midbrain

Ascending pathway - Medial lemniscus ดูใน medulla

- Spinal lemniscus นํา pain temp. touch (สัมผัสหยาบ) ไปสู VP ของ hypothalamus

- Lateral lemniscus นําใยประสาทจาก cochlear nu. ท่ี inf. Colliculus

- Sup. cerebellar peduncle พบท่ีระดับ inf. Colliculus โคงมาอยูกลาง tegmentum แลวพาดขามแนวกลางเปน

decussation โดยนํา sensory information จาก cerebellum ไปสู red nu. และ thalamus

- MLF เปน fiber ทอดยาวจากไขสันหลังมาถึง midbrain สวนท่ีอยูใน midbrain คือ vestibulo-ocular fiber ทําหนาท่ี

conjugate eye movement ตาเคลื่อนไปในทางเดียวกัน

Descending pathway - Central tegmental tract อยูดานหลังตอ red nu. เปน fiber วิ่งจาก red nu. ลงไปยัง inf.olivary complex เพื่อ

สงขอมูลไปยัง สมองนอย สมองใหญ และสวนอื่นๆ และยังมีใยประสาทที่มาจาก reticular formation ไปยัง

diencephalon ดวย

- Rubrospinal tr. จาก red nu. ทอดขามกลางตัวไปยัง ไขสันหลังและคอสวนบน หนาท่ีเกี่ยวของกับการเคลื่อนไหวแบบ

extrapyramidal

กลุมเซลลประสาท

- Red nu. สั่งการใน extrapyramidal ตัดขวางจะเห็นรูปกลม ในเนื้อเยื่อสดเห็นกลมสีชมพูแดง เพราะเลือดมาเลี้ยงมาก ถามี

pathology จะทําใหเกิด tremor และ ataxia ของรางกายซีกตรงขาม

- Reticular formation รวมกลุมไมชัดเจนอยางใน pons

o Ventral tegmental nu. อยูสวนลางของ midbrain ประกอบดวย neuronท่ีมี DOPAMINE หนาท่ีเกี่ยวกับ

cognitive การเคลื่อนไหว และ neuroendocrine

o Interpeduncular nu. ติดดอกับ habenular nu. ของ Diencephalons และ tegmental nu. ของ

midbrain

- Central gray matter กระจายอยูโดยรอบ cerebral aqueduct

o Raphe nuclei สราง serotonin ซึ่งมีบทบาทตอความตื่นตัว (arousal) การรับรูความรูสึก (sensory

perception) อารมณ และ cognitive ถาลดลงจะเกิดอาการซึมเศรา depression และนอนไมหลับ insomnia

o Locus ceruleus อยูท่ี pons และ midbrain ประกอบดวย neuron ท่ีมี NE จํานวนมาก มีบทบาทเกี่ยวกับ

anxiety + panic ในผูปวย Alzheimer และ Parkinson dz. มีการลดลงของ neuron ใน locus ceruleus

และ depression เกี่ยวกับการลดลงของ NE

Page 11: Brain Stem

- Substantia nigra เปนกลุมเซลลประสาทสั่งการขนาดใหญ ประกอบดวย 2 ชั้น คือ pars reticulate ทางดาน ventral มี

neuron ท่ีสงใยประสาทไปยัง sup. colliculus และ thalamus สวน pars compacta มี neuron ติดสีเขมสราง

DOPAMINE และใหใยประสาทไปยัง basal gg.

3. Crus cerebri ประกอบดวย descending tr. ของระบบ pyramidal และระบบ corticopontine ซึ่งเชื่อมโยงสมองใหญกับ ant.

Horn cell ของไขสันหลัง เซลลประสาทของเสนประสาทสมองนอยและ pons

- Pyramidal system ประกอบดวย corticospinal (ดานนอก) มีการจัดตัวของใยประสาทไปเลี้ยงคอ แขน ลําตัว และขา

เรียงจากดานในออกสูดานนอกของ crus cerebri สําหรับ corticobulbar tr. (ดานใน)ไปสิ้นสุดท่ี motor nuclei ใน

กานสมอง ควบคุมการเคลื่อนไหวของลูกตา ใบหนา ปาก ลิ้น และกลองเสียง

- Corticopontine system ประกอบดวย frontopontine (1/5 ทางดานในของ crus cerebri)และ

temporopontine tr.(1/5 ทางดานนอกที่เหลือ) ระบบนี้เริ่มจาก motor cortexไปสิ้นสุดท่ี pontine nuclei แลวจะให

pontocerebellar fiber ทอดขามไปสูสมองนอยตอไป

NN EE RR VV OO UU SS SS YY SS TT EE MM 11

BB ll oo oo dd ss uu pp pp ll yy (ดูรปูประกอบใน Netter p.132)

Blood supply ของ medulla

1. basilar a.ให1แขนง คือ anterior inferior cerebella a. เลี้ยงบริเวณดานหนาของ medulla สวนบน และcerebellum

สวนลาง

2. vertebral a. ให 3 แขนง คือ

Anterior spinal a. เลี้ยงบริเวณดานหนาของ medulla สวนตน และ spinal cord

Posterior spinal a.เลี้ยงบริเวณดานหลังของ medulla สวนตน และ spinal cord

Posterior inferior cerebellar a. เลี้ยง medulla สวนกลาง บริเวณดานขางและดานหลังรวมทั้งสวนลางของ

cerebellum ดานหลัง

Blood supply ของ pons

มีเสนเดียวคือ Labyrinthine a. (บางเลมใช internal acoustic a.) เปนแขนงเล็กมากๆ ของ basilar a.

Blood supply ของ midbrain

แขนงยอยของ Basilar a. และ posterior cerebral a. (ไมเนนแขนงยอย)

Page 12: Brain Stem

NN EE RR VV OO UU SS SS YY SS TT EE MM 12

RR ee tt ii cc uu ll aa rr ff oo rr mm aa tt ii oo nn

ประกอบดวยเซลลประสาทรูปรางและขนาดตาง ๆ กัน สงแขนงไปยังสวนอื่น ๆ และมีใยประสาทจากสวนอื่นๆ มาสิ้นสุด เห็นแกนกลาง

แตไมเห็น nu. พบตลอดกานสมองตั้งแต Medulla, pons, midbrain และ diencephalon

Reticular formation มีการเชื่อมโยงกับสวนตาง ๆ ของสมองและ spinal cord มีหนาท่ีสําคัญ คือ

1. ควบคุมระดับความรูสึกและความตื่นตัว (conciousness and degree of alertness) ซึ่งเกี่ยวกับการเกิด sensory

response และวงจรการหลับต่ืน

2. ควบคุมการทํางานของ skeleton m. โดยผานทาง reticulospinal + reticulobulbar tr. เกี่ยวกับ muscle tone, reflex

activity และ reciprocal inhibition

3. ควบคุมการทํางานของ Autonomic nervous system

4. ควบคุม Somatic and visceral sensation โดยมีอิทธิพลในการเสริมหรือยับยั้ง ** เปนกุญแจสําคัญใน Gating

mechanism สําหรับควบคุมการรับความรูสึกเจ็บปวด (pain perception)

5. ควบคุม Endocrine nervous system โดยผานทาง hypothalamus ในการหลั่ง releasing-inhibiting factor ควบคุม

การทํางานของตอม hypophysis {pituitary gland}

6. มีอิทธิพลใน biological rhythms โดยวิถีท่ีรับความรูสึกเขาหรือออกที่จะสงตอไปยัง hypothalamus

• Medullary reticular formation

1. Medial region

- พบ raphe nuclei เซลลประสาทกลุมนี้ติดตอกับ cerebellum และบางสวนติดตอกับ raphe nuclei ใน pons

2. Central region

- Nucleus reticularis ventralis

• ท่ี Pons พบท่ี dorsal pons หรือ pontine tegmentum

• ท่ี Midbrain ไมรวมเปนกลุมชัดเจนอยางใน Pons

1. ตัดขวางที่ระดับ Inferior colliculi พบถัดจากบริเวณทางดานนอกและหลังตอ decussation of superior cerebellar

peduncle ออกมา

2. ตัดขวางที่ระดับ Superior colliculi อยูท่ีบริเวณดานหลังและนอกตอ red nucleus

Page 13: Brain Stem

NN EE RR VV OO UU SS SS YY SS TT EE MM 13

เ ส น ป ร ะ ส า ท ส ม อ ง ( C R A N I A L N E R V E )

เปนเสนประสาทที่มีจุดกําเนิดจากบริเวณฐานของสมอง ออกจากสมอง ในปลาและสัตวครึ่งบกครึ่งน้ํามีจํานวน 10 คู สวนในพวก

สัตวเลื้อยคลาน สัตวปกและสัตวเลี้ยงลูกดวยนม มีจํานวน 12 คู สําหรับคนเรามี 12 คู ดังนี้

11 .. O ll ff aa cc tt oo rr yy nn ee rr vv eeO รับความรูสึกดานกลิ่น โดยมีเซลลรับกลิ่นอยูท่ีเยื่อบุของโพรงจมูกสวนบน เขาสู Olfactory bulb แลวเขาสู olfactory lobe ของสมองสวนซี

รีบรัมอีกทีหนึ่ง

ตำแหนงที่โผล cribriform plate of ethmoid bone

22 .. O pp tt ii cc nn ee rr vv eeO รับความรูสึกเกี่ยวกับการมองเห็น มีเซลลรับภาพอยูท่ี retina ของนัยนตา เขาสู optic lobe แลวสงไปยัง occipital lobe ของซีรีบรัมอีกที

หนึ่ง

ตำแหนงที่โผล optic canal

33 .. O cc uu ll oo m oo tt oo rr nn ee rr vv eeO m มาจาก Ocolomotor nucleus + Edinger-Westphal nucleus (เซลลประสาทในระบบ Parasym.) ท่ี midbrain

ตำแหนงที่โผล ดานหนาของ midbrain บริเวณ interpeduncular fossa สุดทายออกที่ superior orbital fissure

GSE ; ไปเลี้ยงกลามเนื้อภายนอกลูกตาทั้งหมด (extraocula m. 4 ม ัด) ยกเวน superior oblique m. และ Lateral rectus m.

เพื่อควบคุมการเคลื่อนไหวของลูกตาชนิดใตอํานาจจิตใจ

; เลี้ยงกลามเนื้อที่ทําใหลืมตา (levator palpebrae superioris m.)

GVE ; เลี้ยง Ciliary m. ของ Ciliary body เปนกลามเนื้อปรับเลนสตา และ เลี้ยง Pupillary constrictor m. ทําใหมานตา (iris)

หรี่หรือขยาย

44 .. TT rr oo cc hh ll ee aa rr nn ee rr vv ee มาจาก trochlear nucleus ท่ี midbrain

ตำแหนงที่โผล ออกทางดานหลังที่ระดับลางตอ inferior colliculus สุดทายออกที่ superior orbital fissure

GSE ; เลี้ยงกลามเนื้อ superior oblique ของลูกตา ทําใหมีการทําใหลูกตามองลงลางและไป ดานขาง

55 .. TT rr ii gg ee m ii nn aa ll nn ee rr vv eem มีใยประสาทมาจาก nucleus ตางๆ ไดแก chief {principal}sensory nu., spinal V nucleus, mesencephalic nu., motor

nu. แบงออกเปน 3 แขนง คือ ophthalmic (V1), maxillary (V2), mandibular division (V3)

ตําแหนงที่โผล ออกมาทางหนาและขางของ pons สุดทาย

V1 ออกที่ superior orbital fissure

V2 ออกที่ Foramen rotundum

V3 ออกที่ Foramen ovale

GSA ; รับความรูสึกสัมผัส เจ็บปวด รอน เย็น จากบริเวณใบหนา ศีรษะดานหนา ตา ฟน ชองปาก เยื่อหุมสมอง เยื่อบุโพรงจมูก

; รับ propioception จาก Hard palate, ฟน TMJ

; stretch rp. ท่ีกลามเนื้อเคี้ยว

Page 14: Brain Stem

NN EE RR VV OO UU SS SS YY SS TT EE MM 14

SVE ; เลี้ยงกลามเนื้อเคี้ยว 4 มัด ไดแก mylohyoid, anterior belly of digastric, tensor tympani และ tensor veli

palatine m.

66 .. A bb dd uu cc ee nn ss nn ee rr vv eeA มาจาก abducens nu. ใน tegmentum ของ pons

ตำแหนงที่โผล รองระหวาง pons และ medulla สุดทายออกที่ superior orbital fissure

GSE ; ไปเลี้ยงกลามเนื้อ lateral rectus ของลูกตา ทําใหมองไปดานขาง

77 .. FF aa cc ii aa ll nn ee rr vv ee ตำแหนงที่โผล รองระหวาง pons และ medulla สุดทายออกที่ Internal auditory meatus

SVE ; เลี้ยงกลามเนื้อแสดงสีหนา และ stapedius m. ในหู ลดเสียงที่ดังเกินไป (Facial motor nu.)

GVE ; (superior salivatory nu.) เลี้ยงตอมนำลาย lacrimal gland และ palatine gland

; ตอมน้ําลาย submandibular, sublingual gland

GSA ; รับ pain + temperature ท่ีผิวหนังที่ รูหูชั้นนอกและหลังใบหู (spinal V nu.)

SVA ; รับรสจากดานหนา 2/3 ของลิน้ (solitary nu.ใน medulla)

88 .. A cc oo uu ss tt ii cc ห รื อ ห รื อ aa uu dd ii tt oo rr yy ห รื อห รื อ vv ee ss tt ii bb uu ll oo cc oo cc hh ll ee aa rr nn ee rr vv eeA ตำแหนงที่โผล รองระหวาง pons และ medulla สุดทายออกที่ Internal auditory meatus

vestibular n. ( มาจาก vestibular nuclei ซึ่งประกอบดวย superior, inferior, medial, lateral nucleus ) ควบคุม

การทรงตัวของรางกาย และการเปลี่ยนตําแหนงของศีรษะ ( ซึ่งเกีย่วกับ tract ตางๆ ท่ีไปสิ้นสุดท่ี cranial motor nuclei III, IV, VI และ

anterior horn cell ของ spinal cord )

cochlear n. รับจาก semicircular canal ทําใหไดยินเสียง

99 .. G ll oo ss ss oo pp hh aa rr yy nn gg ee aa ll nn ee rr vv eeG ตำแหนงที่โผล ออกทางดานขางของ olive สุดทายออกที่ Jugular foramen รวมกับ CN 10,11

GSA ; รับความรูสึกมาจากหูสวนนอก ครึ่งในเยื่อแกวหู

GVA ; รับความรูสึกจากลิ้นสวนหลังประมาณ 1/3, tonsil, nasopharynx, oropharynx, auditory tube, หูชั้นกลาง, carotid

sinus [baro rp.], carotid body [chemo rp.]

SVA ; รับรสจากดานหลัง 1/3 ของลิ้น

GVE ; มาจาก inferior salivatory nucleus ใหใยประสาทไปกับ lesser petrosal n. สิ้นสุดท่ี otic gg. จากนั้นจะให

postganglionic ไปกับ auriculotemporal n. เลี้ยงตอมน้ําลาย Parotid ***อ.เคยเนน

SVE ; มาจาก Nuclues ambiguus เลี้ยงกลามเนื้อ stylopharyngeus

11 00 .. VV aa gg uu ss nn ee rr vv ee ตำแหนงที่โผล ออกทางดานขางของ olive สุดทายออกที่ Jugular foramen รวมกับ CN 9,11

GSA ; รับความรูสึกจากใบหูและครึ่งนอกของหูสวนนอก

GVA ; รับความรูสึกของ organ ภายในชองอกและชองทอง ไดแก หัวใจ aortic sinus [baro rp.]

aortic body [chemo rp.] หลอดลม หลอดคอ ปอด หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลําไสเล็ก ถุงน้ําดี เปนตน

SVA ; รับรสจากบริเวณโคนลิ้น และ epiglottis

GVE ; มาจาก dorsal motor nu. of N. X เลี้ยงกลามเนื้อเรียบ กลามเนื้อหัวใจ และตอมตาง ๆ (ท้ัง 3 จากระบบ Parasym.)

SVE ; มาจากสวนกลางของ Nucleus ambiguus เลี้ยง soft palate, pharynx, larynx

Page 15: Brain Stem

11 11 .. A cc cc ee ss ss oo rr yy nn ee rr vv eeA ตำแหนงที่โผล ออกทางดานขางของ olive สุดทายออกที่ Jugular foramen รวมกับ CN 9,10

SVE ; มาจาก caudal part ของ Nucleus ambiguous รวมกับ recurrent laryngeal n. ของ CN 10 ไปเลี้ยง

กลามเนื้อกลองเสียง

GSE ; มาจาก กลุมเซลลประสาทที่ anterior horn ของไขสันหลังระดับ C1-5,6 เลี้ยงกลามเนื้อ trapezius และ

sternocleidomastoid ทําใหศีรษะและไหลมีการเคลื่อนไหว

11 22 .. H yy pp oo gg ll oo ss ss aa ll nn ee rr vv eeH มาจาก hypoglossal nu.

ตำแหนงที่โผล ออกระหวาง Pyramid และ Inferior olivary nu. สุดทายออกที่ Hypoglossal canal

GSE ; ไปเลี้ยงกลามเนื้อของลิ้นท ุกมัด เวน Palatoglossus m. ชวยใหมีการเคลื่อนไหวของลิ้น

เสนประสาทสมองทัง้ 12 คู แบงออกเปน 3 กลุม คือ

1.กลุมเสนประสาทรบัความรูสึกอยางเดยีว เรียกวาเสนประสาทรับความรูสึก(sensory nerve) ประสาทกลุมนี้มีตัวเซลลประสาท

อยูในปมประสาทในสมองไดแก คูท่ี 1,2,8

2.กลุมเสนประสาทสัง่การอยางเดยีว โดยสั่งการจากสมองไปยังอวัยวะตอบสนอง เรียกวา เสนประสาทสั่งการหรือนําคําสั่ง (motor

nerve) ประสาทกลุมนี้มีตัวเซลลประสาทอยูท่ีเปลือกสมองหรือ cerebral cortex ได แก คูท่ี 3,4,6,11,12

3.กลุมเสนประสาททีทํ่าหนาท่ีท้ังรบัความรูสึกและสัง่การ เรียกวาเสนประสาทผสม (mixed nerve) ไดแกคูท่ี 5,7,9,10

โดย.. กบ (บิว 11) Blood supply, ตุกตกิ 25 cranial nerve, นิค 105 ที่เหลือ

NN EE RR VV OO UU SS SS YY SS TT EE MM 15

Page 16: Brain Stem

NN EE RR VV OO UU SS SS YY SS TT EE MM 16

H I S T O L O G YH I S T O L O G Y

BBB : Blood brain barrier

Form by 3 structure : 1. choroid plexus

2. intracerebral capillary endothelial

3. arachnoid mater

- Glucose & amino acid cross by carrier-mediated transport mechanism

- Nonpolar/lipid soluble substrate cross more readily than do polar/watersoluble

- L-dopa rather than dopamine,is used to treat Parkinson because dopamine doesn’t cross

the blood-brain barrier

BBB guarded by CIA

Glia

: Ependymal cell, Astrocyte, Schwann cell, Microglia and Oligodeendroglia

- Ependymal cell : Cell บุผนังชองวางในสมอง-ไขสันหลัง

- Astrocyte : ใหญสุด มี End feet ดูดอาหารจาก vv ไปเลี้ยง neuron

- Schwann cell : Each Schwann cell function to myelinate only 1 PNS axon. Schwann cells

promote axonal regeneration.

: - Acoustic neuroma is an example of a schwannoma

Location commonly associated with internal acoustic meatus (CN VII, VIII )

- Microglia : CNS phagocytes,Mesodermal origin .

Not readily discernible in Nissl stains. Have small irregular

nuclei & relatively little cytoplasm. In response to tissue damage,

transform into large ameboid phagocytic cells.

: - HIV-infected microglia fuse to form multinucleated giant cell in the CNS

- Oligodendroglia : Function to myelinate multiple CNS axons.

In Nissl stains, they appear as small nuclei with dark chromatin & cytoplasm. Predominant type of

glia cell in white matter.

: - These are destroyed in multiple sclerosis

ขอบอก....Glia cells ถูกสรางใหมไดเสมอหากเกิด injury

ขออีกทีนะ Astrocyte - physical support, repair, K metabolism

Microglia - phagocytosis

Oligodendroglia - central myelin production

Schwann cells - peripheral myelin production

Ependymal cells - inner lining of ventricles

Page 17: Brain Stem

NN EE RR VV OO UU SS SS YY SS TT EE MM 17

CSF: Cerebrospinal fluid

สรางจาก choroid plexus ใน lateral + third + fourth ventricles, ependymal lining of ventricle, หลอดเลือดใน

pia-arachnoid mater

- ใส ไมมีสี

- เปนแหลงอาหาร& ปองกันการกระทบกระเทือน-พยุง CNS

** Hydrocephalus : ภาวะท่ีการสราง-ถายเท ไมสมดุล เกิดไดจากหลายสาเหตุ อาจเปน congenital หรือ ตอนโตก็ได

Choroid plexus

: กลุมของ pia mater, หลอดเลือด & ependymal lining of ventricle ท่ียื่นเขาไปใน ventricles ---- สราง CSF

Ventricular system : 1. Lateral ventricle (2)

2. Third ventricle

3. Fourth ventricle

การเชื่อมตอ ของ แตละ ventricle

1-2 : interventricular foramens (2) = foramen of Luschka

2-3 : cerebral aqueduct (1) = foramen of Magendie

การไหลของ CSF เปนไปตามขางตน และ...

จาก Fourth ventricle ไป superior sagittal sinus ผานทาง arachnoid villi ใน cerebral vein (venous sinus)

Nervous repair & regeneration

Response of neuron to injury

PNS : 1. Degenerate of axon + axoplasm + myelin sheath

(ใต lesion จะ degenerate ท้ังหมด)

2. macrophages มาเก็บกินเศษ (แต cytoplasm ของ Schwann cell จะคงอยู)

3. Schwann cell จะเปน basement membrane (เกิดทอ) และจะมี collagen fiber มาหุม

4. axon จะเจริญตามทอนี้

** หากไมมีการงอกของ axon ทอจะหดตัวและหนาขึ้นจากcollagen

CNS จะตางไป(ท้ังนี้ Oligodendroglia ตองกอเปนทอไดดวยนะ)

โดย axon ท่ีจะงอกใหมจะไมสามารถไปจุดหมายเดิมได อาจมาจาก การปดกั้นของ microglia ท่ีอาจมาจุกตัวในทอ

เพราะฉะนั้น การ Regenerate ใน CNS จึงยากมาก

*** Cell body ท่ี axon ถูกทําลาย จะเกิด Retrograde degeneration โดย cell bodt จะขยายออก, nucleus ไปอยูขอบ

ของ cell -หาก neuron มีชีวิตอยูรอด จะเกิด regeneration ในอาทิตยท่ี 3 (3-6 เดือนในการ recover).

Nervous changes associated with stage of life

1. Mitosis เพิ่มจํานวนมากมายในระยะ กอนคลอด หรือ เริ่มแรกของการคลอด แลวหยุดการแบงตัว

2. ชวง 3 ปแรก หลังคลอดจะมีการเจริญ-เพิ่มขนาดของ nerve และ glia cell

3. เม่ืออายุมากขึ้น จะมีการเสื่อม- ตาย ของ nerve cell

- ประมาณ 1/10 ของ nerve cell ท้ังหมดในระยะ 50 ป

- เฉลี่ย 1 แสน เซลล ตอวัน

- ไมกอใหเกิดความผิดปกติ (เซลลท่ีเหลือชดเชยแทนได)

- Pigment ใน เซลลลดลง

- ดังนั้นในคนแก พบวา นน.ของสมองจะลดลง โพรงสมองใหญขึ้น และ มีหินปูนเกาะเยื่อหุมสมอง