cbst

31
rtyuiopasdfghjklzxcvbnmqwert yuiopasdfghjklzxcvbnmqwertyu iopasdfghjklzxcvbnmqwert yuiopsdfghjklzxcvbnmqwertyuio sdfghjklzxcvbnmqwertyuiopasdf ghjklzxcvbnmqwertyuiopasdfgh jklzxcvbnmqwertyuiopasdf jknm qwertyuiopasdfghjkl wertyuiopasdfghjklzxcvbnmqwe rtyuiopasdfghjklzxcvbnmqwert CBST- CBT คุ รู จั ดี รื ยั ง ? ก ร ม พั ฒ น า ฝี มื อ แ ร ง ง า น ก ร ะ ท ร ว ง แ ร ง ง า น Industries want flexible accessible training which meets the individual needs of employees and CBST is here to stay because it is a practical way to make task a reality. คนึงนิจ โกศัลวัฒน์ ผู ้เชีÉยวชาญด้านการพัฒนาฝี มือแรงงาน ธั น ว า ค ม Ś ŝ ŝ ŝ

Upload: komtach-rattanakot

Post on 15-Mar-2016

214 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

รูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBST)

TRANSCRIPT

Page 1: CBST

rtyuiopasdfghjklzxcvbnmqwertyuiopasdfghjklzxcvbnmqwertyu

iopasdfghjklzxcvbnmqwertyuiopsdfghjklzxcvbnmqwertyuiosdfghjklzxcvbnmqwertyuiopasdfghjklzxcvbnmqwertyuiopasdfghjklzxcvbnmqwertyuiopasdfjknm

qwertyuiopasdfghjkl wertyuiopasdfghjklzxcvbnmqwertyuiopasdfghjklzxcvbnmqwert

CBST- CBT

ค ุ ณ ร ู ้ จ ั ก ดี ห ร ื อ ย ั ง ?

ก ร ม พ ัฒ น า ฝี มื อ แ ร ง ง า น ก ร ะ ท ร ว ง แ ร ง ง า น

Industries want flexible accessible training which meets the individual needs of employees and CBST is here to stay because it is a practical way to make task a reality.

คนึงนิจ โกศลัวฒัน ์ ผ ูเ้ชียวชาญดา้นการพฒันาฝีมือแรงงาน ธ ัน ว า ค ม

Page 2: CBST

เกริ่นนํา ....................................................................................... 1

1. ไดอะไรจาก CBST-CBT ............................................................ 2

2. สาระความรูการฝกแบบใหม CBST .........………………………....... 3

2.1 CBST คืออะไร ................................................................ 3

2.2 ภาพรวมระบบ CBST ...…………………………………………... 3

2.3 แนวทางการใชระบบ CBST............................................. 3

2.4 การเช่ือมโยงกจิกรรม....................................................... 7

2.5 การบริหารโรงฝกงาน....................................................... 8

2.6 บทบาทหนาที.่.................................................................. 8

3. ความเปนมาของการฝกระบบ CBST........................................ 12

4. ผลผลิตชุดการฝกและบุคลากร CBST........................................17

4.1 ผลผลิตชุดการฝก............................................................. 17

4.2 ผลผลิตบุคลากร............................................................... 19

ภาคผนวก

1. ตัวอยางผลผลิตชุดการฝก CBST ที่ผานการตรวจรบัและใชงาน

2. หนังสือ สพท.ที่ รง 0405/3505 ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2555

ขอใหหาเอกสารความรูการฝกระบบ CBT ในโครงการเงินกู ADB

3. หนังสือ นางคนึงนิจ โกศัลวัฒน ผูเช่ียวชาญดานการพฒันาฝมือแรงงาน ลงวันท่ี 27 ธันวาคม 2555 สงเอกสารความรูการฝกระบบ CBT ในโครงการเงินกู ADB

บรรณานุกรม

ส า ร บั ญ

Page 3: CBST

ส า ร บั ญ แ ผ น ภ า พ

แผนภาพที่ 1 องคประกอบหลักของระบบ CBST............................... 3

แผนภาพที่ 2 กระบวนการสรางมาตรฐานฝมอืและหลกัสูตร CBST.. 6

แผนภาพที่ 3 การจัดทําสือ่การฝกแบบเดิมและแบบ CBST............. 7

แผนภาพที่ 4 งานของผูรบัการฝก ...................................................... 9

แผนภาพที่ 5 ภาพรวมการบรหิารจัดการ CBST................................. 11

ส า ร บั ญ ต า ร า ง

ตารางที่ 1 ผลผลิตชุดการฝกทีผ่านการตรวจรับและใชงาน ………… 12

ตารางที่ 2 ผลผลิตสือ่การฝกตามนโยบายพฒันาบุคลากร .............. 18

ตารางที่ 3 ผลผลิตบุคลากร ระหวางป 2542-2549 ....................... 19

Page 4: CBST

-1-

เ ก ริ่ น นํา

CBST - CBT

O u r

I n t a n g i b l e

A s s e t

Department of Skill Development

CBST : A partner with business ‘n industry in the preparation of a more talented and productive workforce.

CBST เปนคําตอบโจทยอุปนิสัยการทํางานที่ดีของแรงงาน

ยุคใหม (Workplace Skills) โดยเรียนรูจากการฝกเชิงปฏิบัติ

ที่ออกแบบชุดการฝกขึ้นเปนพิเศษ

ประเทศไทยมีระบบการฝก CBST ใชงานเปนแหงแรกในภาคพ้ืน

เอเชียแปซิฟก โดยความรวมมือระหวางธนาคาร ADB มหาวิทยาลัยยูทาห

สหรัฐอเมริกา และกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

CBST-CBT คืออะไร….ใชอยางไร….อยูท่ีไหน....

เอกสารฉบับน้ีมีคําตอบ เพียงแตเปดใจรับรู ใหโอกาส CBST ซ่ึง

ปจจุบันคือ CBT การฝกตามความสามารถ ไดเติบโตพัฒนาปรับปรุง

ตามรอย CBST บุคลากรมีมโนคติทําการศึกษา เรียนรู สนับสนุน

เผยแพร และใชงาน องคความรู น้ียอมเปนทรัพยสินทางปญญาอัน

ทรงคุณคาของกรม สงผลดีตอเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม.

C B S T

Page 5: CBST

-2-

----What CBST Does for DSD and Thailand----

1. ไดอะไรจาก CBST - CBT

“If CBST is successfully implemented throughout Thailand, the country can leapfrog other Asian countries in economic development.” Dr. Richard Maxfield Ph.D., 2542

ดร.ริชารด แมกซฟลด เปนผูเช่ียวชาญสาขาการออกแบบระบบการฝก (Instructional System Design : ISD)

มหาวิทยาลัยยูทาห (USU/CID) สหรัฐอเมริกา ที่ปรึกษาโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ.

2540-2546 (โครงการเงินกู ADB Loan Number 1494-THA) เขียนบทความลงใน สานสัมพันธ Vol.II No.3 July-

September 1999 วา “….เมื่อกรมพัฒนนําระบบ CBST ไปใชทั่วประเทศแลวประสบความสําเร็จ ประเทศไทยจะ

กระโดดล้ําหนาประเทศอื่นๆในอาเซียนไปไกล เพราะมีแรงงานที่ทั่วโลกตองการ...”

ไ ด อ ะ ไ ร จ า ก C B S T โ ด ย ด ร . ริ ช า ร ด แ ม ก ซ ฟ ล ด ?

1. อุปนิสัยการทํางานท่ีดี Workplace Skills : องคประกอบสําคัญที่สุดของการฝกทักษะแรงงานยุคใหม

“ ค ว า ม ซื ่อ ส ัต ย ค ว า ม คิ ด ส ร า ง ส ร ร ค ก า ร ทํา ง า น เ ป น ท ีม ก า ร แ ก ไ ข ป ญ ห า ”

ซึ่งสอนกันไมได แตผูเขาฝกตองเรียนรูจากการปฏิบัติเอาเอง ชุดการฝก CBST เปนกลไกสรางความสนใจใหผูเขาฝก

ปฏิบัติงานไดผลดี มีบรรยากาศและการจัดการที่เอื้อตอการฝก ใหอิสระในการเลือกหัวขอวิชา และรับผิดชอบตนเอง

สรางทัศนคติการพึ่งพาตนเอง ความคิดริเริ่ม ความเช่ือมั่น

2. หนาท่ีหลัก 4 ประการ ของครูฝก

“ส า ธิ ต/อ ธิ บ า ย – แ น ะ นํา– ท ด ส อ บ ค ว า ม ส า ม า ร ถ – ร ว บ ร ว ม ค ว า ม เ ห็ น/ป รั บ ป รุ ง”

3. แนวคิดหลักสูตร เ รี ย นรู เ ป น ข้ั น ต อ น ( ถูกตอง ) ส อ น ต า ม ห ลั ก สู ต ร ( ผิด )

ต อ ง นํา ห ลั ก สู ต ร ม า แ ต ก ร า ย ก า ร ทั ก ษ ะ ย อ ย ๆ ใ ห ล ะ เ อี ย ด โ ด ย

-ภาคปฏบิัต ิทักษะยอย คือ ขั้นบันไดสูความรู ความชํานาญที่สงูขึ้น มากขึ้นเร่ือยๆ มีสื่ออุปกรณที่ใชงาย และสะดวก

-ภาคทฤษฎ ีทักษะทางความคดิ ตองฝกควบคูไปกับภาคปฏิบตัิ แบบทาํไป-รูไป ( just-in-time )

4. อะไรทําใหเรียนรูไดดี ผลที่เกิด ผลที่ได (Workplace Skills)

รางวัล โดยเฉพาะทางจิตใจ --------------พอใจ-----------------ทุมเท อุตสาหะ

คําติชมและแกไข -----------------------------เกง ------------------แกไขปญหา

การใหโอกาส เรียนรูตามศักยภาพ --------สบาย ชอบ --------ซ่ือสัตย รับผิดชอบ สรางสรรค

การชวยเหลือกันในกลุม -------------------สนุก -----------------ทํางานเปนทีม

Page 6: CBST

-3-

2. สาระความรูการฝกแบบใหม CBST * ค ุ ณ ร ู ้ จ ั ก แ ล ้ ว ห รื อ ย ั ง ?

2.1 CBST คืออะไร ? Competency based Skill Training คือ กระบวนการฝกฝมือแรงงาน ที่กําหนดใหผูรับการฝกเปนผูใฝหา

ความรูและประสบการณดวยตนเอง โดยไมมีเงื่อนไขของเวลา จํานวนหัวขอเรื่อง และหลักสูตร ผูรับการฝกตองรับผิดชอบ

การฝกของตนเอง มีระเบียบวินัยในการใชอุปกรณ รูจักทํางานรวมกัน ชวยเหลือกัน มีความซื่อสัตย และมีว ินัย/นิสัย

อุตสาหกรรม

2.2 ภาพรวมระบบ CBST

การฝกฝมือแรงงาน แตกตางจาก การศึกษาสายสามัญ เพราะเปนการสรางทักษะฝมือสนองความตองการของ

ภาคอุตสาหกรรมในระยะเวลาสั้นๆ การฝก CBST จึงถูกออกแบบข้ึนเพื่อใชในการพัฒนาทักษะฝมือแรงงานโดยเฉพาะ

การแนะแนวอาชีพ เปนจุดเริ่มตนของ CBST กอนตัดสินใจเลือกสาขาการฝก ผูรับการฝกเลือกรายการ

ความสามารถที่จําเปนตออาชีพ ซึ่งกําหนดจากความตองการของภาคอุตสาหกรรม แลวกําหนดแผนการฝกของตนเอง

2.3 แนวทางการใชระบบ CBST

1) ทําความเขาใจองคประกอบหลักของระบบ

แผนภาพที่ 1 องคประกอบหลกัของระบบ CBST ทุกองคประกอบ ตองมี 4 ขั้นตอน ไดแก

ออกแบบ พัฒนา ทดลองนํารอง นําไปใช

การบริหารโรงฝกงาน

-กระบวนการ วิธีการแบบใหม

-เก็บขอมูล บอกความกาวหนา

-ครูฝกแนะนําแกไข สาธิต

-ผูเขาฝกรับผิดชอบการฝกเอง

การแนะแนวอาชีพ

ขอมูลตลาด ทักษะที่ตองฝก ทดสอบผูเขาฝก

จัดทําแผน ใหคําปรึกษา ฝกทักษะพ้ืนฐาน

ความรวมมือกบัภาคเอกชน

แนวโนมตลาด ความตองการทักษะ

ทําสัญญาการฝก จัดหาเคร่ืองมืออุปกรณ

ฝกหัวหนางาน

เปาหมายการฝก

ออกแบบ ปรับรูปแบบ วิธีการฝก

หลักสูตร ชดุการฝก (เอกสาร-ซอฟทแวร)

การจัดการของ สพภ.ศพจ.

การจัดองคกรใหม การเก็บขอมูลการฝก (CMI)

วิธีการจัดการใหม การประเมินความกาวหนาของผูเขาฝก

ระบบคอมพิวเตอรสนับสนุน คณะกรรมการหลักสูตร

ศูนยทรัพยากรการเรียนรู

หนวยพัฒนาคอมพิวเตอรเพ่ือการฝก (CBT Unit)

ระบบการบริหารจดัการ

นโยบายสนับสนุนระบบ CBST

วางแผน กําหนดมาตรฐาน/วตัถุประสงค/ผลงาน ประเมินผล

วิเคราะหดานการเงิน ประชาสัมพันธ จัดหาวัสดุฝก พัฒนาชุดการฝก

พัฒนาบุคลากร เสนทางอาชี/แรงจูงใจ สัมพันธภาพกับหนวยงานอ่ืน

มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาต ิ

ระบบสนบัสนุน

ระบบขอมูลอัตโนมัติ พัฒนา

ตอเนื่อง ขอมูลสาธารณะ

Page 7: CBST

-4-

ขอเสนอแนะของที่ปรึกษาตางประเทศ ใหใชคอมพิวเตอรเปนฐานการฝก (Computer-based Training) โดย

ซอฟทแวรการฝก (Courseware) ไดรับการออกแบบใหมีระบบโตตอบ (Interactive) ผูเขาฝกสามารถลงทะเบียนเขาฝก

วางแผนการฝก ควบคุมการฝกดวยตนเอง การฝกทําไดงายและทราบผลทันที แมไมมีพื้นฐานทางคอมพิวเตอรมากอน มี

การเช่ือมโยงภาคความรูและภาคปฏิบัติเขาดวยกัน การฝกทักษะเนนการปฏิบัติจริง สวนการจัดการมีซอฟทแวรจัดการ

ฝก (CMI : Computer Managed Instruction) เปนกลไกสําคัญชวยในการวางแผนและจัดการฝกใหเปนไปดวยดี

2) จัดทําหลักสูตร CBST: Competency List

การจัดทําหลักสูตร ควรผานข้ันตอนการสํารวจความตองการ ภาคอุตสาหกรรมตองการสาขาใด และมี

ความสามารถทําอะไรได วิเคราะหอาชีพ และจัดทํากรอบมาตรฐานฝมือแรงงาน (Competency Standard) โดยระบุ

เงื่อนไขการวัดประเมินผลและชุดการฝกที่ตองใช ไวสําหรับการวางแผนฝกรายบุคคล หลักสูตรตองระบุรายการ

ความสามารถที่ผูรับการฝกตองทําเปนทั้งหมด จนแนใจวาไมมีทักษะที่จําเปนสวนใดตกหลน เพื่อสามารถทํางานตามที่

ภาคอุตสาหกรรมตองการได และอยูในกรอบมาตรฐานฝมือแรงงานไทยรวมทั้งมาตรฐานสากล

หลักสูตร ประกอบดวยโมดูลเล็กๆ แตละโมดูลประกอบดวยกลุมรายการความสามารถยอย ครอบคลุม

ความสามารถที่ภาคอุตสาหกรรมตองการ การจัดทําหลักสูตรเริ่มจากการสรางลายแทงความสามารถ (Competency

Map) แตกรายละเอียดของงานทั้งหมดที่ตองทําเปนใหเล็กที่สุด จึงไมใชการแตกเน้ือหาหรือทฤษฎีที่จะเรียนรู งานเล็ก

ที่สุดที่ได เรียกวา ความสามารถ (Competency) หลังจากน้ันทําการจัดกลุมรายการความสามารถเพื่อการฝกหรือเรียนรู

โดยตองระบุรายการความสามารถที่จําเปนตองฝกกอน (pre-requisite)

การสรางลายแทงความสามารถ (Competency Mapping) ทําโดยการแตกรายละเอียดของงานทัง้หมดที่ตอง

ทําเปน ตามความจําเปนของตําแหนงงาน

Mapping คือ การแตกงาน (Task) ออกเปนรายการความสามารถที่เล็กที่สุด (Competencies) ที่สามารถแสดง

ใหเห็นประจักษได

C o m p e t e n c y M a p p i n g หั ว ใ จ ข อ ง ร ะ บ บ C B S T

ดังน้ัน การจัดทําลายแทงความสามารถท่ีทําโดยการแตกเน้ือหาทฤษฎี (content) แลวใสรายการ

ความสามารถลงไป จึ ง เ ป น วิ ธี ก า ร ที่ ไ ม ถู ก ต อ ง

การจัดทําหลักสูตรตามระบบ CBST ตั้งตนดวยทักษะที่ตองทําเปนกอน แลวใสเนื้อหาทฤษฎี

ที่จําเปนตอการฝกทักษะนั้นๆลงไป

* ปางมาศ วิเชียรสินธุ, พินิจ ศุภมัสดุอังกูร, 2542 สํานักงานบริหารโครงการเงินกู ADB ระบบการฝกแบบใหม CBST คุณรูจักแลวหรือยัง ?

Page 8: CBST

-5-

3) จัดทําชุดการฝก

1) เลือก รายการความสามารถจากลายแทง Competency Map

2) กําหนดรหัส ใสรหัสงานลงในรายการความสามารถทุกระดบัชั้นของลายแทง

3) จัดกลุม รายการความสามารถยอย ใหงายและเหมาะสมตอการฝก

4) กําหนดเน้ือหาและแบบฝก ในทุกรายการความสามารถ

5) กําหนดเงื่อนไข เคร่ืองมือ/เกณฑการวัดผล ในทุกรายการความสามารถ

6) กําหนดส่ือการฝก ใหงายตอการเรียนรูดวยตนเอง

7) กําหนดรหัสเช่ือมโยง ระหวางรายการความสามารถ-แบบทดสอบ-สื่อการฝก-อุปกรณ/วัสดุฝก

ข อ แ น ะนํา ก า ร จั ด ทํา ชุ ด ก า ร ฝ ก

- ทําใหงาย นาสนใจ เรียนรูสิ่งใหม (friendly use)

โ ด ย . . เพิ่มพูนจากสิ่งที่เคยเรียนรูมาแลว

- มีจุดหมายปลายทาง (clearly end)

โ ด ย . . แบงหลักสูตรเปนระดับ (level) กลุมอาชีพ อาชีพ งาน งานยอย ความสามารถยอย

เรียนรูทีละสวน แตมองเห็นเปาหมายภาพรวมการฝกดวยแผนที่และจุดหมายปลายทางจาก

องคประกอบเล็กๆ

- มีแนวคิด (concept)

โ ด ย . . ใหเน้ือหาทฤษฎีที่เกี่ยวของในแตละรายการความสามารถ เน้ือหาทฤษฎีที่เปน

concept คือ กลุมเน้ือหาที่จําเปนตองรูเพื่อสามารถทําการฝกทักษะตามรายการเหลาน้ันไดอยางเขาใจ

และเขาถึงองครวมของการเรียนรู

- เรียนรูแบบองครวม (holistics)

โ ด ย . . ผสมผสานการเรียนรูระหวาง psychomotor domain (ทักษะ/ทําเปน), cognitive

domain (แนวคิด/เขาใจ), และ affective domain (ทัศนคติ/ความพอใจที่จะทํา)

- เสริมแรงจูงใจ (reinforcement)

โ ด ย . . เรียนรูเมื่อจําเปนตองรู (ไมกอน-ไมหลัง) ใหอิสระในการเลือก ไมตองเรียงลําดับ ฝก

พรอมกับเพื่อนก็ได พึ่งพากัน มีติวเตอรแนะนํากันเอง มีการใหคําแนะนํา (direct cues) ฝกฝนตาม

คําแนะนํา (guided practice) ทราบผลยอนกลับ (feedback) และเรงรัดการเรียนรู (acceleration)

Page 9: CBST

-6-

4) วิเคราะหรายการความสามารถ

แผนภาพที 2 กระบวนการสรางมาตรฐานฝมือและหลักสูตร CBST

D A C U M

สํารวจกลุมอาชีพ ที่ภาคอุตสาหกรรมตองการ

อาชีพ 1 อาชีพ 2 อาชีพ 3

งาน 1.1 งาน 1.2 งาน 1.3 งาน 2.1 งาน 2.2 งาน 3.1 งาน 3.2

งานหลัก 1.1.1 งานหลัก 1.1.1 งานหลัก 1.1.1

งานยอย 1.1.1.1 งานยอย 1.1.1.2 งานยอย 1.1.1.3

ความสามารถ 1.1.1.1.1 ความสามารถ 1.1.1.1.2 ความสามารถ 1.1.1.1.3

ความสามารถยอย

1.1.1.1.1.1

ความสามารถยอย

1.1.1.1.1.2

ความสามารถยอย

1.1.1.1.1.3

ความสามารถยอย

1.1.1.1.1.4

หลักสูตร (กลุมรายการความสามารถยอย)

มาตรฐานฝมือแรงงาน (กรอบมาตรฐานตําแหนง)

ร า ย ก า ร ค ว า ม ส า ม า ร ถ ย อ ย

(ตองระบุชุดการฝก ส่ือ อุปกรณ วัสดุที่ใช เพื่อความสะดวกในการใชงาน) การส

ร้างล

ายแท

งควา

มสาม

ารถ

( C

o m

p e

t e

n c

y

M a

p p

i n

g )

ชุดการฝก/ส่ือ

- ส่ิงพิมพ รูปภาพ หุนจําลอง คําอธิบาย ของจริง เทปเสียง VDO CD-ROM Internet ฯลฯ

Page 10: CBST

- 7 -

5) จัดทําสื่อการฝก

เปนสื่อสําหรับผูเขาฝกใชไดดวยตนเอง สามารถฝกและควบคุมการฝกเร็ว-ชาได ใชสื่อหลากหลาย เชน รูปภาพ

หุนจําลอง ภาพสเก็ต ของจริง คําอธิบายสั้นๆ เทปเสียง VDO, CD-ROM สื่อการฝกมีลักษณะ อานงาย ฝกไดดวยตนเอง และ

จัดแบงไวเปนชุดเล็กๆ สอดคลองกับรายการความสามารถและโมดูลการฝก ครูฝกควรพัฒนาสื่อการฝกเองดวย โดยพัฒนาแตละ

รายการความสามารถ ไมใชกลุมรายการความสามารถ สื่อเหลาน้ีอาจมาจากหนาหน่ึงของหนังสือ ภาพวาด ขอความจาก

อินเตอรเน็ท

แผนภาพที่ 3 การจัดทําสื่อการฝกแบบเดิมและแบบ CBST

การจัดทําสื่อแบบเดิม ฝกตามลําดับที่จัดไว

การจัดทําสื่อแบบ CBST ฝกชุดไหนก็ไดตามความสนใจ เวนแตจะกําหนดโมดูลพื้นฐานที่ตองฝกใหผานกอน

การจัดเก็บสื่อการฝก ตองเปนหมวดหมูเพ่ืออํานวยความสะดวกการใชงานของผูรับการฝก และฝกการจัดเก็บเขาที่ทุก

คร้ังเม่ือใชเสร็จแลว การปรับปรุงสื่อการฝก ตองสมํ่าเสมอ เหมาะสมตอรายการความสามารถ และทําความเขาใจไดงาย

6) กําหนดรหัสอางอิง (Competency Coding)

โครงสรางรหัสและเลขที่อางอิง ชวยผูเขาฝกในการสรางแผนการฝก การเลือกใชวัสดุ สือ ซึ่งถูกกําหนดรหสัไว

อางอิงเช่ือมโยงกับชุดการฝก แบบทดสอบ การบันทึกคะแนน การติดตามความกาวหนา

2.4 การเชื่อมโยงกิจกรรม

1) การแนะแนวอาชีพ (Career Guidance) ผูเขาฝกไดรับการทดสอบความสนใจและความถนัด (Interest/

Aptitude Profile) การทดสอบเปนแนวทางการเลือกหลักสูตรที่เหมาะสม ผลลัพธที่ไดคือ แผนการฝกรายบุคคล

2) การวางแผนการฝก (Training Plan) เปนการจัดรวมรายการความสามารถทั้งหมดที่ผูเขาฝกเลือก มีการ

จัดเรียงอยางเหมาะสมเพื่อใหการเรียนรูมีประสิทธิภาพสูงสุด ทางเลือกของแผนการฝก แบงเปน

(1) แผนการฝกตามความตองการของตนเอง (2) แผนการฝกที่มีผูจัดทําไวและใชฝกแลว

(3) แผนการฝกที่สถานประกอบกิจการเลือกไวตามความตองการของตําแหนงงาน

3) การฝกพ้ืนฐานดานชาง (Technical Literacy) ฝกทักษะที่จําเปนกอน เชน คณิตศาสตร เครื่องมือ วัสดุชาง

4) การมีสวนรวมของภาคอุตสาหกรรม (Industrial Partnership) แตละสาขาควรมีคณะกรรมการที่ปรึกษาทาง

เทคนิค (Technical Advisory Committee) เฉพาะสาขา ทําหนาที่ใหคําปรึกษาแนะนํา รวมจัดการหลักสูตร อุปกรณ

เครื่องมือ ทักษะใหมๆ ตําแหนงงาน สภาพการจางงาน ควรแยกจากคณะกรรมการที่ปรึกษาดานการพัฒนาฝมือแรงงาน

5) การทํางานของผูจบฝก เปนความรับผิดชอบรวมระหวางฝายแนะแนวอาชีพ ครูฝก คณะกรรมการที่ปรึกษาทาง

เทคนิค และผูจบฝก บางกรณีผูเขาฝกที่เปนแรงงานใหมอาจมีการทําสัญญาการเขาทํางานกับนายจางไวแลว

1 2 3 4 5 6 7

1 2 3 4 5 6 7

Page 11: CBST

-8-

2.5 การบริหารโรงฝกงาน การบันทึกขอมูลมีความสําคัญเปนลําดับตนๆ ดังน้ี

1) ขอมูลความกาวหนาของผูรับการฝก ไดแก ระยะเวลาการฝกที่ใช จํานวนรายการที่ลงทะเบียนและสอบผาน

วันเริ่มฝกเทียบกับวันจบฝก การใชขอมูลน้ีเปนตัวชวยผลักดันระบบ CBST ใหประสบความสําเร็จ เมื่อนําขอมูล

ความกาวหนามารวมกับขอมูลอื่น เชน ระยะเวลาที่ใชฝกแตละรายการ จํานวนวัสดุที่ใช จํานวนรายการที่ลงทะเบียนฝก

ในแตละวัน จะเปนประโยชนตอการบริหารโรงฝกงาน การปรับปรุงหลักสูตร โปรแกรมการฝก การใชเครื่องจักรอุปกรณ

การวางแผนการจัดการฝกของหนวยงาน การวิเคราะหตนทุน การวางแผนงบประมาณ สามารถหาอัตราความกาวหนาตอ

ช่ัวโมงฝก และการติดตามประเมินผลโดยรวม

2) โปรแกรมการจัดการฝกอัตโนมัติ กรณีโรงฝกงานมีสิ่งอํานวยความสะดวกและมีความพรอมในการจัดการ

(1) ใชหนาจอหลัก (2 main screen) ผูเขาฝกตองลงทะเบียนเขาฝกและเลิกฝก (Log-in, Log-out) ทุกครั้งใน

แตละชวงการฝก การเลือกรายการความสามารถที่จะฝกตองไมมากกวา 5 รายการ ผูเขาฝกและครูฝกสามารถดูแผนและ

ติดตามความกาวหนาของการฝกของแตละคนได หนาจอแสดงรายช่ือ รหัสชุดการฝก สื่อ วัสดุฝก ที่เกี่ยวของหรือจําเปน

ตอการฝก และแสดงพื้นที่เฉพาะสําหรับแจงความประสงคเขารับการทดสอบรายการความสามารถน้ันๆ

(2) ใชชุดการฝกคอมพิวเตอร (Computer-based Training Materials) หลังจากลงทะเบียนเขาฝก ทํา

แบบทดสอบแนะแนวอาชีพ ตัดสินใจ และทําแผนการฝกแลว ก็สามารถเลือกรายการความสามารถที่จะฝกและลงมือฝก

จากหนาจอคอมพิวเตอร เวนแตกรณีที่รายการใดตองใชชุดการฝกที่เปนกระดาษ ใหดูรหัสชุดการฝกที่ใชในจอแลวหยิบ

เอกสารใชงานไดทันที

2.6 บทบาทหนาท่ี

1) ผูแนะแนวอาชีพ

ศึกษา เรียนรู เผยแพร แนะนํา

ศึกษา วิเคราะห ความตองการแรงงาน ลักษณะงานของอาชีพตางๆ ในประเทศและในพ้ืนที ่

ประเมินความสามารถพ้ืนฐาน ความถนัด และความสนใจ ตออาชีพของผูสมัครเขารับการฝก โดยวิธีสัมภาษณ

และใชเคร่ืองมือแนะแนว

ใหขอมูล คําแนะนํา ในการเลือกสาขาอาชีพที่ตองการฝก

ชวยเหลือผูเขารับการฝก ในการจัดทําแผนการฝก การเขาฝกความสามารถพ้ืนฐานดานวิชาชีพ การสมัครงานเม่ือจบ

ฝก การทําประวัต ิแนะแนวเสนทางและวิถีของแรงงานฝมือ

Page 12: CBST

-9-

2) ครูฝก

ออกแบบ-ปรับปรงุ-สราง-เสนอแนะ ชุดการฝก สื่อการฝก

จัดทําใบบันทึกความกาวหนาในการฝก (record keeping)

3) ผูรับการฝก

แผนภาพที่ 4 งานของผูรบัการฝก

สอน สาธิตสั้นๆ ใหคําปรึกษาแนะนํา ชมเชย แกไขขอบกพรอง ตรวจสอบ ติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกตามมาตรฐานการฝก รวบรวมขอเสนอแนะ ปรับปรุง

เขาฝก ตัง้ใจ ใฝรู ชวยเหลือตนเอง ใชสื่อ คูมือ

ขอคําแนะนํา ปรึกษา จากครู/ เพ่ือน-รุนพ่ี ท่ีไดรับมอบหมาย

บันทึกความกาวหนาเม่ือฝกเสร็จแตละรายการ

ทดสอบแสดงความสามารถ

ฝกรายการความสามารถ ตอไปจนจบแผนการฝก

ทดสอบความสามารถ/ความสนใจในอาชีพ (แนะแนว) ตดัสินใจเลือก

วางแผนการฝก ลงทะเบียน ทําความเขาใจ

Page 13: CBST

-10-

4) ผูประสานการฝก

ศึกษา เรียนรู เผยแพร แนะนํา

ประสานความรวมมือแตงตั้งคณะอนุกรรมการเทคนิคสาขาตางๆที่เปนความตองการของพ้ืนที ่

จัดประชุม และดําเนินกิจกรรมคณะอนุกรรมการเทคนิค

รวบรวมฐานขอมูลอุปสงค-อุปทาน INPUT-OUTPUT วิเคราะห และใชประโยชนขอมูล

ประสานกระบวนการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณเคร่ืองมือ สื่อ หลักสตูร ชดุการฝก การจัดการฝก การออกวุฒิบตัร-

ระเบียนผลการฝก การบรรจุงาน

ทําความรูจัก สรางความคุนเคย นําเสนอขอมูลหนวยงาน ขอมูลการฝก

เสนอแนะแนวทางการปรับปรุงพัฒนาระบบงาน กระบวนการปฏิบัตงิาน รูปแบบวิธีการเรียนรู

5) ผูเก่ียวของฝายตางๆ

ศึกษา เรียนรู เผยแพร แนะนํา

รวมมือดําเนินการตามภารกิจหรือที่ไดรับมอบหมาย อาท ิ

-คํานวณตนทุน จัดซ้ือวัสด ุอุปกรณ เพ่ือสนับสนุนใหการฝกมีความสะดวก คลองตัว

-ปรับปรุงพัฒนาระบบงาน-ระบบความปลอดภัย-สภาพแวดลอม กระบวนการปฏิบัติงาน หลักสูตร ชุดการฝก สื่อ

แบบทดสอบ ใหเปนปจจุบันและตอเน่ือง

-จัดเตรียมวัสด ุอุปกรณ หลักสูตร ชดุการฝก สื่อ เคร่ืองมือ สิง่แวดลอม และอํานวยความสะดวกการฝก การทดสอบ

การจบฝก

แนะแนว ใหคําปรึกษา วางแผนการฝก ทดสอบ ฝกทักษะพื้นฐานที่จําเปน ฝกภาคทฤษฎี ฝกภาคปฏิบัต ิ

ปฏิสัมพันธกลุม สอน สาธิต แนะนํา ทดสอบ จบฝก วุฒิบัตร ทํางาน

ฝายประสานการฝก เปนเจาภาพหลัก ตั้งกลไกการทํางาน ประสานจัดการฝก

ฝายชาง ดําเนินการฝก/งานทางเทคนิค พัฒนาชุดการฝก ส่ือ จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ

ฝายอํานวยการ สนับสนุนการเตรียมวัสดุ อุปกรณ งบประมาณ ใหเอ้ือตอการฝก

ผูบริหาร เนนย้ํานโยบาย แปลงสูการปฏิบัติ กระตุน สงเสริม ติดตาม

ทุกฝาย มีหนาที่ ศึกษา เรียนรู เผยแพร แนะนํา

เ ส น ท า ง สู ก า ร ฝ ก C B T

Page 14: CBST

-11-

แผนภาพที ่5 ภาพรวมการบริหารจัดการ CBST

แนะแนวอาชีพ

ไมม่ีฝีมือครบั

ตองการมีงานทํา

ประชาชน

ภาคอตุสาหกรรม

ตองการยกระดับฝมือ

วางแผนการฝก

ลงทะเบยีนเขาฝก

เขาฝกตามแผน

ทางเลือกเสนทางอาชีพ

เขาทํางาน

เลื่อนตําแหนง

เปลี่ยนสายงาน

ไม่ได้งาน/

ขาดความสามารถ

บางรายการ

ได้งาน

หลักสูตรที่เปนโมดูลเล็กๆ (กลุมรายการความสามารถยอย)

ส่ือ/ชุดการฝก/จัดส่ิงแวดลอมการเรียนรู/CBT

เคร่ืองมือวัดผลการฝก

มีฝีมือแลว้ครบั ผาน

วุฒิบตัรรับรอง (ระบุความสามารถ)

ไมผาน

แสดงความสามารถ

ประเมินผล

มีฝมือมากขึ้น

สถาบนัพัฒนาฝมือแรงงานภาค

ศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัด

บริหารจัดการฝกตามเกณฑคุณภาพ จัดหาวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ

ออกแบบหลักสูตร ชุดการฝก ส่ือ เคร่ืองมือวัดผล ประกาศ รับสมัคร

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ค ว า ม ร ว ม มื อ ภ า ค รั ฐ – เ อ ก ช น – ป ร ะ ช า ช น

คนึงนิจ โกศัลวัฒน 12/12

คณะกรรมการท่ีปรึกษาดานการพัฒนาฝมือแรงงาน

คณะอนุกรรมการเทคนิค สาขา...................

ชุมชน ประชาชน

เติมค

วามส

ามาร

ถบาง

รายก

ารให

สอดค

ลองตํ

าแหน

งงาน

นั้นๆ

Page 15: CBST

-12-

3. ความเปนมาของการฝกระบบ CBST การปรบัปรุงประสิทธิภาพการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2540 – 2545

การปฏิบัติการประเมินผลโครงการ พ.ศ.2546-2548

ระบบการฝก CBST ของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน เร่ิมจากโครงการไทย-อิสราเอล ป 2516 ในการพัฒนาอุปกรณชวยฝก

ของสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานแหงชาต ิโดย Dr.Aeley Tharmir รวมกับขาราชการในการพัฒนาหลักสูตรและระบบการฝก CBM

: Competency Based Modular Training ซ่ึงพัฒนาเปนการฝกระบบ CBST ของกรมพัฒนาฝมือแรงงานในระยะตอมา

ป 2540-2546

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน รวมกับธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) และสํานักงานที่ปรึกษา Utah

State University/Consortium for International Development (USU/CID) สหรัฐอเมริกา ไดริเริ่มระบบการ

ฝกอบรมตามความสามารถข้ึนเปนครั้งแรกในภาคพื้นเอเชียแปซิฟก ซึ่งขณะน้ันระบบการฝกดังกลาวกาวไปถึงจุดที่ไดรับ

การทดลองใชและพัฒนาปรับปรุงอยางเหมาะสม อยางไรก็ตาม ดวยเงื่อนไขขอตกลงตามพันธะสัญญาระหวางประเทศ

ไทยโดยกระทรวงการคลังกับธนาคาร ADB สงผลกระทบตอการจัดจางทําชุดการฝกสาขาตางๆ ซึ่งจําเปนตองประกาศให

ประเทศสมาชิกของธนาคาร ADB 56 ประเทศเขารวมการประมูลได ทั้งน้ี การจัดทําชุดการฝกตามสัญญาของผูรับจาง

ตางประเทศทุกสัญญาไมผานการตรวจรับของคณะกรรมการซึ่งเปนบุคลากรที่มีความรูประสบการณเฉพาะทางของกรม

และสํานักงานที่ปรึกษา ทั้งที่สวนใหญผานการตรวจรับงวดแรกๆ และกรมไดรับผลงานการจัดทําลายแทงความสามารถ

(competency map) เคาโครงชุดการฝก story board บางสาขาทําการทดลองใชกับกลุมตัวอยาง (try out) แตทวา

รายละเอียดเน้ือหาการฝกไมสอดคลองวัฒนธรรมและการใชงานของผูรับการฝกคนไทย ทําใหผลงานไมผานการพิจารณา

ของคณะกรรมการตรวจรับในงวดหลังๆ

ผลงานท่ีผานการตรวจรับตามสัญญาจัดทําชุดการฝก จึงมีเพียง 6 ชุดการฝก และ 1 ชุดแนะแนวการ

ฝก ซึ่งเปนผลงานตามสัญญาจางบริษัทในประเทศท้ังสิ้น นอกจากน้ี ยังมีผลงานตามแผนพัฒนาบุคลากร

โดยหนวยพัฒนาคอมพิวเตอรเพื่อการฝกรวมกับสถาบัน/ศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัด 6 แหง จัดทําสื่อ E-

Book 107 หนวย สื่อ interactive 4 หนวย และซอฟตแวรการฝกอีก 111 หนวยการฝก แจงเวียนเผยแพร

หนวยงานท่ีสนใจนําไปใชงาน

C B S T : C o m p e t e n c y B a s e d S k i l l T r a i n i n g

เปนระบบการฝกอบรมฝมือแรงงานที่ออกแบบข้ึนสําหรับการพัฒนาฝมือแรงงานไทย เดิมมีช่ือแปลวา “ระบบ

การฝกแบบอิงเกณฑความสามารถ” ตอมายกเลิกช่ือแปลเน่ืองจากเห็นวา CBST เปนช่ือเฉพาะ (Brand name) ไมตอง

แปล เปนนามที่กําหนดข้ึนเพื่อสะทอนภาพลักษณขององคกรและไมใหซ้ําซอนกับ CBT: Computer Based Training

(การฝกอบรมดวยคอมพิวเตอร) ใหช่ือโดยอดีตอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน นายจาตุรนต อรรถวิภาคไพศาลย ดวย

ความเห็นพองรวมกันในกลุมผูรวมโครงการทัง้สามฝาย ผูบริหารระดับสูงของกรมทานน้ีใหความสําคัญอยางย่ิงยวดตอการ

ผลักดันการฝกระบบใหม บทความในวารสาร สานสัมพันธ Vol.ll,No.3 July-September 1999 คอลัมน ขอคุยดวยคน

เขียนไววา “.......ผมขอตอกย้ําถึงความสําคัญของ CBST ท่ีพวกเราจะตองรวมมือกันนําระบบน้ีมาใชใหประสบความ

Page 16: CBST

-13-

สําเร็จใหได แลวเมื่อถึงวันน้ันทานจะภูมิใจ เพราะกรมเปนหนวยงานแรกและหนวยงานเดียวท่ีไดนําระบบน้ีมาใชใน

การฝกอบรมฝมือแรงงาน ขอเถอะครับ...ใหกําลังใจผมดวย..เพ่ือพวกเราชาวกรมพัฒนาฝมือแรงงานทุกคน........”

หนวยพัฒนาคอมพิวเตอรเพื่อการฝก ( CBT Unit : Computer Based Training Development) จัดต้ังข้ึนเมื่อ

เดือนเมษายน 2541 เพื่อเปนหนวยงานกลางในการผลิตและประสานการผลิตซอฟทแวรการฝกระบบ CBST ที่เนนการ

สรางทักษะเปนแกน ตลอดจนเปนหนวยถายทอดความรู ประสบการณ ในการผลิตซอฟทแวรการฝก โดยมีกองวิชาการ

และแผนงานเปนหนวยสนับสนุนการบริหารซอฟทแวรจัดการฝก (CMI : Computer Managed Instruction) และ

ฐานขอมูลการฝกระบบ CBST ประสานการจัดหา ดูแล บํารุงรักษาอุปกรณคอมพิวเตอรและระบบเครือขายการฝก ซึ่งใช

VPN : Virtual Private Network เพื่อใหการฝกดําเนินการผานเครือขายไดสมบูรณ (online learning)

การเปลี่ยนแปลงใดๆ เปนเรื่องที่ตองใชความกลาหาญ ความตอเน่ืองสม่ําเสมอ จริงจัง อดทน ประเทศตางๆ ทั้ง

ออสเตรเลีย อเมริกา แคนาดา ลวนตองใชเวลาในการปรับเปลี่ยนระบบมากวา 30 ป และยังคงพัฒนาอยางตอเน่ือ ง

สําหรับประเทศในกลุมอาเซียน ประเทศไทยนับเปนประเทศแรกที่ริเริ่มระบบการฝกใหม ผูบริหารระดับสูงของกรมจึงได

ใหนํ้าหนักความสําคัญอยางย่ิง มีคํากลาวเปรียบเปรยวา CBST เปนมิติการฝกที่ “พลิกฟาพลิกแผนดิน” ในดานการ

พัฒนาฝมือแรงงาน : สมชาติ เทวะวโรดม, 2542

ทํา อ ยา ง ไ ร C B S T จึ ง จ ะ ป ร ะ ส บ ค ว า ม สํา เ ร็ จ ?

บุคลากรเปนปจจัยหลักในการขับเคลื่อนนโยบายไปสูการปฏิบัติงานตามเปาหมายและประสบความสําเร็จตามที่ตั้งหวัง

ในชวงป 2540-2545 มีการเตรียมความพรอมบุคลากรจํานวน 679 คน เปนผูผานการฝกจากตางประเทศ 41 คน และในประเทศ

638 คน ทําการนํารอง CBST คร้ังแรกที่ สพภ.3 ชลบุรี เม่ือวันที่ 25 เมษายน 2543 ในสาขาชางเชื่อม การขับเคลื่อนงาน CBST

เปนไปอยางราบร่ืน ผูบริหารใหความสนใจ บุคลากรที่เก่ียวของมีความกระตือรือรนที่จะปฏิบัติงานใหมๆ หลังจากเขารวม

โครงการฝกอบรมอยางตอเน่ืองในชวงระยะเวลาการดําเนินโครงการ

ป 2546

กรมพัฒนาฝมือแรงงานจัดต้ังสํานักงานปฏิบัติการประเมินผลโครงการเงินกู ADB (สปป.) ตามคําสั่งกรมที่

352/2546 ลงวันที่ 24 เมษายน 2546 และคําสั่งที่ 586/2547 ลงวันที่ 7 ตุลาคม 2547 หลังจากเสรจ็สิ้นความรวมมอืกับ

ธนาคาร ADB และมหาวิทยาลัยยูทาห เฉพาะอยางย่ิงการนําระบบ CBST ไปใชทั่วประเทศ ทําการขยายผลรวมกับ

หนวยงานหลัก (คําสั่งกรมที่ 503/2546 ลงวันที่ 23 มิถุนายน 2546) ผลงานในป 2546 ประกอบดวย (1) เผยแพรชุด

การฝกสาขาตางๆ (E-Book) ที่ผลิตเองจํานวน 111 หนวยการฝก ปรากฏวา สพภ.ศพจ. 68 แหง มีความสนใจและ

มอบหมายบุคลากร 203 คน ทดลองใชงาน (2) แจกจายชุดการฝกที่จัดจาง 8 เรื่อง ไดแก Job Experience and

Enrichment, การฝกครูฝก, การจัดการ, การประกอบกิจการ, การแนะแนวอาชีพ, การประกอบอาหารไทย, การ

ประกอบอาหารเชิงพาณิชย และการฝกชางเช่ือม MIG/MAG (E-Book/CD-ROM) ใหแกทุกจังหวัดใชงาน (3) ทําการใช

ชุดการฝก CBST โดยผูเขารับการฝกบางรายที่มีความพรอม โดยแทรกในการฝกหลักสูตรปกติ 66 จังหวัด และ (4) ผลิต

และพัฒนาชุดการฝกระบบใหม 7 หนวยการฝก ไดแก เทคนิคการตัดตอวีดิโอ ดิสเบรก ระบบเครือขายทองถ่ิน LAN

ระบบไฟฟาในรถจักรยานยนต ระบบจายแรงไฟ เครื่องมือวัดไฟฟา (มัลติมิเตอร) และการอานคาสีตัวตานทาน

Page 17: CBST

-14-

ป 2547

สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาคและศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัด 9 แหง ประกอบดวย สพภ.สุพรรณบุรี

ราชบุรี ขอนแกน พิษณุโลก ลําปาง สุราษฎรธานี ศพจ.หนองคาย เชียงใหม และปตตานี ดําเนินการฝกแบบ CBST มี

ผูเขารับการฝก 331 คน ดําเนินการฝกในหลักสตูรปกติและแทรกชุดการฝก CBST บางหนวยการฝกใหผูเขารับการฝกที่มี

ความพรอม นอกจากน้ี สพภ.3 ชลบุรี ในฐานะหนวยนํารอง CBST ไดมีโครงการพัฒนาประสิทธิภาพดานการวิเคราะห

Competency แกผูบริหารตลอดจนบุคลากรระดับ 6-8 และจัดทําคูมือเผยแพร

ป 2548

สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาคและศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัด 8 แหง ประกอบดวย สพภ.ชลบุรี ราชบุรี

นครสวรรค พิษณุโลก ลําปาง สุราษฎรธานี ศพจ.หนองคาย ชัยภูมิ ดําเนินการฝกแบบ CBST มีผูเขารับการฝก 480 คน

ดําเนินการฝกในหลักสูตรปกติและแทรกชุดการฝก CBST บางหนวยการฝกใหผูเขารับการฝกที่มีความพรอม นอกจากน้ี

สพภ. 6 ขอนแกน โดยนายพินิจ ศุภมัสดุอังกูร, 2548 อดีตหัวหนาหนวยพัฒนาคอมพิวเตอรเพื่อการฝก (CBT Unit),

2540-2545 ไดจัดทําเอกสารทางวิชาการ เรื่อง กลยุทธการจัดระบบการฝกแบบยึดความสามารถของผูรับการฝกเปน

สําคัญ เสนอแนะใหกรมกําหนดนโยบายที่ชัดเจนและตอเน่ือง ใหมีระบบการฝกคูขนานสองระบบในการพัฒนาฝมือ

แรงงาน รวมทั้งปรับแกพระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ.2545 ใหเอื้อตอระบบการฝกแบบคูขนาน

การขยายผล CBST มีบุคลากรเขารวมประชุม สัมมนา ฝกอบรม รวมพัฒนาและใชชุดการฝกระหวางป 2546-

2549 จํานวน 702 คน นอกจากน้ี สปป.เสนอแผนงบประมาณโครงการพัฒนาชุดการฝก CBST และติดตามผลการฝก

ระหวางป 2548-2551 โดยเสนอใหกําหนดตัวช้ีวัด ดังน้ี (1) บุคลากรที่ผานการฝกรอยละ 50 นําความรูไปใชประโยชน

(2) ชุดการฝกที่ผลิตโดยผูเขาฝกอบรมรอยละ 50 ไดรับการเผยแพรใชงาน และ (3) ชุดการฝกไดรับการใชงานโดยแทรก

อยูในกระบวนการฝกปกติ รอยละ 5

ป 2549

สิ้นสุดการปฏิบัติการประเมินผลโครงการเงินกู ADB อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน (นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ)

มีคําสั่งยุบเลิก สปป. หลังจากน้ันการขยายผล CBST จึงเปนความรับผิดชอบของหนวยงานหลักโดยตรง ในระยะน้ันการ

ฝก CBST ใชช่ือเรียกวา การฝก Competency และมีการฝกอบรมเรื่องน้ีใหแก สพภ./ศพจ. 17 รุน ในป 2549-2550

ป 2550

การสํารวจผลงานที่เกี่ยวของกับ CBST จากทุกหนวยงาน ปรากฏวามี สพภ./ศพจ. 10 แหง ไดแก สพภ.ชลบุรี

นครราชสีมา พิษณุโลก ศพจ.สิงหบุรี ชัยภูมิ นครนายก นาน ปตตานี ยะลา และหนวยงานสวนกลางคือ กองบูรณาการ

เครือขายการพัฒนาฝมือแรงงาน และกองการเจาหนาที่ ไดดําเนินโครงการเกี่ยวกับ CBST อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

(นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ) มีนโยบายใหขยายผลการวิเคราะห Competency ในตําแหนงงานใหแกสถานประกอบ

กิจการ 200 แหง สรางวิทยากรตนแบบ 100 คน ภายในป 2550 ปรากฏมี สพภ. 10 แหง และ ศพจ.38 แหง มีความ

รวมมือกับบริษัท 276 แหง สรางวิทยากร 183 คน โดย สพภ.3 ชลบุรี ดําเนินการรวมกับสถานประกอบกิจการมากที่สุด

Page 18: CBST

-15-

คือ 100 แหง และสรางวิทยากร 14 คน รองลงมาคือ สพภ.5 นครราชสีมา สวนสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

ไดดําเนินโครงการสัมมนาผูบริหาร 50 คน ฝกอบรมวิทยากร 40 คน และเสนอแตงต้ังคณะทํางานรับผิดชอบขยายผลการ

ใชสื่อ CBST รวมทั้งจัดทําคูมือการวิเคราะห Competency เผยแพรให สพภ./ศพจ.นําไปใช อยางไรก็ดี สํานักพัฒนา

มาตรฐานและทดสอบฝมือแรงงานไดรับการพิจารณามอบหมายใหรับผิดชอบระบบ CBST ในระยะเริ่มตน และจัดทํา

มาตรฐานฝมือตามความสามารถ (Competency Standard) กอนสงมอบสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝกนําไปใช

พัฒนาหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (CBC : Competency Based Curriculum)

ป 2551

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน (นายนคร ศิลปอาชา) มีคําสั่งกรมที่ 522/2551 ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2551 จัดต้ัง

หนวยงานและอํานาจหนาที่ภายในสํานัก โดยลําดับที่ 2.3 จัดต้ังกลุมงานพัฒนาระบบการฝก รับผิดชอบการพัฒนาระบบ

รูปแบบกระบวนการฝกฝมือและการบริหารจัดการฝก ลําดับที่ 1.2 จัดต้ังกลุมงานพัฒนาระบบมาตรฐานฝมือแรงงาน

รับผิดชอบการกําหนดแนวทางรูปแบบการพัฒนามาตรฐานฝมือแรงงาน

ป 2553

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน (นายนคร ศิลปอาชา) มีคําสั่งกรมที่ 053/2553 ลงวันที่ 27 มกราคม 2553

แตงต้ังคณะทํางานพัฒนาระบบการฝกตามความสามารถ (CBST) ทําหนาที่กําหนดแนวทางพัฒนาระบบ รูปแบบ และสื่อ

การฝก CBST ผลการประชุมคณะทํางาน ไดทบทวนความเขาใจเกี่ยวกับ CBST และมอบหมาย สพภ.แตละแหง

ทําการศึกษาวิจัย เรื่อง รูปแบบการพัฒนาฝมือแรงงานรายบุคคลของสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค....จังหวัด.....

ป 2554

CBST: Competency Based Skill Training ถูกเปลี่ยนช่ือเปน CBT: Competency Based Training และมี

ช่ือภาษาไทยเปน “การฝกตามความสามารถ” จุดประสงคเพื่อใหสอดคลองกับระบบการฝก CBT ที่เปนสากล ระบบการ

ฝกตามความสามารถ CBT ของกรมไดรับการสนับสนุนใหเผยแพรทั้งในรูปสิ่งพิมพและในเว็บไซคของกลุมงานพัฒนา

ระบบการฝก ทั้งน้ี มีบุคลากรหลักซึ่งเคยปฏิบัติงานในหนวยพัฒนาคอมพิวเตอรเพื่อการฝกเดิม ทําหนาที่พัฒนาระบบการ

ฝก CBT อยางเขมแข็ง ตลอดจนคําสั่งสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝกที่ 025/2554 ลงวันที่ 23 ธันวาคม 2554

แตงต้ังคณะทํางานจัดทํารางคูมือระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) 3 สาขา คือ ชางเช่ือมแม็ก ชางซอม

ไมโครคอมพิวเตอร และชางซอมรถยนต เพื่อใชในหนวยปฏิบัติ 24 แหง ไดแก สพภ. 12 แหง ศพจ.ปทุมธานี ลพบุรี

ระยอง นครปฐม มหาสารคาม หนองคาย มุกดาหาร อุทัยธานี สุโขทัย ลําพูน นครศรีธรรมราช และตรัง

ป 2555

คําสั่งกรมที่ 208/2555 ลงวันที่ 19 เมษายน 2555 แตงต้ังบุคลากรในสวนกลางและ สพภ./ศพจ. 24 แหง เปน

คณะทํางานจัดทําแบบทดสอบและแบบประเมินผลชุดการฝกที่จัดทําแลว 3 สาขา จากการสํารวจขอคิดเห็นของ

คณะทํางานดังกลาวเมื่อเดือนพฤษภาคม 2555 คณะทํางานสวนใหญมีความเห็นตอการฝก CBT วา ลักษณะรูปแบบ

วิธีการฝกยังไมชัดเจน, สื่อไมเหมาะสมกับคนไทย โดยเสนอใหมีขอสั่งการพรอมกําหนดเปนตัวช้ีวัดการปฏิบัติงานอยาง

จริงจัง ทุกฝายตองใหการสนับสนุน, ควรจัดประกวดหนวยงานตนแบบการฝก CBT, ควรมีคําสั่งแตงต้ังฝายรับผิดชอบ

Page 19: CBST

-16-

โดยตรงใน สพภ./ศพจ., กรมควรสนับสนุนบุคลากร เครื่องมืออุปกรณ เอกสาร ชุดการฝก และงบประมาณดําเนินการ

ทั้งน้ี การฝกใหไดผลผลิต/ผลลัพธที่ดี ควรใหสถานประกอบการรวมมือจัดฝกอบรมในกระบวนการทํางานเอง

สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน (สตง.) มีหนังสือที่ ตผ.0013/1045 ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ 2555 แจงผลการ

ตรวจสอบการพัฒนาศักยภาพแรงงานเพื่อรองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจ สตง.มีขอสังเกตวา ระบบการฝกแบบอิง

เกณฑความสามารถ (Competency Based Skill Training : CBST) ไมไดนํามาใช ทําใหสูญเสียการลงทุน และแสดงวา

การใชระบบ CBST ไมประสบความสําเร็จ ควรมีการเตรียมความพรอมบุคลากร สถานที่ วัสดุอุปกรณ ทัศนคติผูเขารับ

การฝก และฝกอบรมครูฝกอยางสม่ําเสมอ ซึ่งกรมพัฒนาฝมือแรงงานมีหนังสือช้ีแจงวา การพัฒนา CBST ของกรมมีมา

ประมาณ 10 ป เทคโนโลยีจึงไมเปนปจจุบัน ประกอบกับบางหลักสูตรประสบปญหาการใชงาน จึงแตงต้ังคณะทํางาน

ศึกษาและแกไขพรอมเสนอแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสม และในป 2555 ไดมอบหมาย สพภ./ศพจ. 24 แหง เปนหนวย

ดําเนินการฝก 3 สาขาที่พัฒนาข้ึนใหม

การจุดประกายระบบการฝกตามความสามารถที่เหมาะสมสําหรับแรงงานไทย เริ่มข้ึนที่กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ปจจุบัน สตง.ยังตองการความชัดเจนดานคุณประโยชนของการฝกรูปแบบน้ีตอสาธารณะ คํากลาวของ ดร.ริชารด แมกซ

ฟลด ที่อางแลวในบทแรก ณ พ.ศ.น้ี ยังไมปรากฎผลการนําระบบ CBST ไปใชทั่วประเทศแลวประสบความสําเร็จ

อยางไรก็ตาม การเดินหนาพัฒนาและใชชุดการฝกที่ผลิตข้ึนใหม 3 สาขา ภายใตช่ือระบบการฝกตามความสามารถ (CBT)

โดยสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค และศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัด ที่กลาว

ขางตน นับเปนกาวสําคัญที่จะนําไปสูความสําเร็จในการใชระบบน้ีทั่วประเทศในอนาคตอันใกล

เ พี ย ง แ ต . . ทุกฝายเปดใจรับรู ศึกษา เรียนรู สนับสนุน เผยแพรขอมูลที่มา ขอเท็จจริง และหาเครือขายแนว

รวมการจัดการใหผลผลิตของงาน CBT ปจจุบันเกิดผลสัมฤทธ์ิตอสวนรวม การศึกษาผลงาน CBST โครงการเงินกู ADB

เมื่อวันวาน เปนการหารองรอยที่มา (story) ที่นาสนใจ เพื่อเพิ่มคุณคาใหแกผลงานในวันน้ี (value added) การคงอยูขององคความรูเรื่อง CBST ภายในตัวบุคคล (tacit knowledge) เฉพาะอยางยิ่งเจาหนาท่ีหนวย

พัฒนาคอมพิวเตอรเพ่ือการฝก (CBT Unit), เจาหนาท่ีรวมงาน (counterpart), คณะกรรมการตรวจรับ CBST ทุก

สาขา, ผูผานการฝกอบรมท้ังในและตางประเทศ มิไดสูญหายหรือหมดอายุแตอยางใด

ณ วันน้ี ยังไมมีพิมพเขียวหรือแผนที่เสนทางฉบับใดของโครงการพัฒนาระบบการฝกตามความสามารถ (CBT)

ที่พอจะทําใหบุคลากรเกิดการรวมใจทํางานเปนทีมไดทันที เพียงแตเปนการกําหนดจังหวัดนํารองทดลองใชชุดการฝก

ทั้งที่เปนโอกาสดานการเปดฝกรูปแบบใหมๆ และเปนชองทางใหภาคเอกชนใชพื้นที่ภาครัฐเปนฐานการพัฒนากําลังคน

รวมกัน ภายใตเอกลักษณที่เปนหน่ึงเดียว “ D S D . C B T I d e n t i t y ” คุ ณ รู จั ก ดี ห รื อ ยั ง ?

DSD.CBT Identity

__________________________________________________________________________________________________________CBST - CBT 12/12

Page 20: CBST

-17-

4. ผลผลิตชุดการฝกและบุคลากร CBST

4.1 ผลผลิตชุดการฝก

4.1.1 ผลผลิตทีผ่านการตรวจรบัตามสัญญาจัดทําชุดการฝก ดําเนินการโดยบริษัทผูรบัจางในประเทศ 7 สาขา

ตารางที่ 1 ผลผลิตชุดการฝกทีผ่านการตรวจรับและใชงาน

ที่ สาขา จํานวน/ชุด การใชงาน**

1 Welding (MIG/MAG) 100 จัดสรรใหหนวยปฏิบัติใชงาน ป 2544

2 Welding (ARC) 1 ประจํา สพท.ป 2545 และประสานการใชงานตามคําขอ

3 Job Experience Enrichment* 100 จัดสรรใหหนวยปฏิบัติใชงาน ป 2549

4 Entrepreneur* 100 จัดสรรใหหนวยปฏิบัติใชงาน ป 2549

5 Management* 100 จัดสรรใหหนวยปฏิบัติใชงาน ป 2549

6 Instructor Training* 100 จัดสรรใหหนวยปฏิบัติใชงาน ป 2549

7 แนะแนวการฝก* 100 จัดสรรใหหนวยปฏิบัติใชงาน ป 2549

* รายชื่อชดุการฝกกลุมสาขามิใชชาง

1) ND 10000 คุณสมบตัิของคนงานที่ด ี ND 11000 คุณลักษณะของคนงานทีด่ ี

ND 12000 การทํางานรวมกับผูอ่ืน ND 13000 การมีทักษะในการทํางาน

2) ND 70000 การจัดการ ND 71100 แนวความคิดเก่ียวกับการสื่อสาร

ND 71200 การปรับปรุงการสื่อสารระหวางบุคคล ND 71300 การใชระบบสัมภาษณรายบคุคล

ND 71400 การสือ่สารและการเจรจาตอรอง ND 71500 การสื่อสารเชงิสรางสรรค

ND 71600 ปญหาอุปสรรคดานการสื่อสาร

3) ND 30000 การปองกันและการลวงเกินทางเพศ ND 31000 ความรูเบื้องตน

ND 32000 การลวงเกินทางเพศ

4) ND 20000 การแนะแนวอาชีพ (ความตระหนักในบทบาท)

ND 22100 ผูรับการฝกหญิง-บทบาททางเพศในสังคม

ND 22200 ผูรับการฝกหญิง-เขาใจตลาดแรงงาน

ND 22300 ผูรับการฝกหญิง-ทักษะการติดตอสื่อสาร

ND 22400 การพัฒนาคุณคาในตนเองและความเจริญงอกงามสวนตน

ND 22500 ผูรับการฝก-การลวงเกินทางเพศและการปองกัน

ND 22600 การทําตนใหเปนที่รูจักในตลาดแรงงาน

ND 22700 ผูรับการฝกหญิง-มองไปขางหนาอนาคตจของทาน

5) ND 20000 การแนะแนวอาชีพ (โลกของการทํางาน)

6) ND 10000 การกอตั้งหนวยธุรกิจ ND 11000 คุณสมบตัิของผูประกอบการ

ND 12000 การสรางอุดมการณทางธุรกิจ ND 13000 ขอกําหนดทางกฎหมาย

** การเผยแพรใชงานชดุการฝก (1) สพภ.ศพจ.แหงละ 1 ชดุ (2) สพท. (ลท.) 1 ชุด และ (3) หองสมุดกรม 1 ชุด

Page 21: CBST

-18-

4.1.2 ผลผลิตตามนโยบายการพัฒนาบุคลากร โดยหนวยพัฒนาคอมพิวเตอรเพื่อการฝก (CBT Unit) รวมกับ สพภ.ชลบุรี

นครสวรรค สุพรรณบุรี ขอนแกน ศพจ.ฉะเชิงเทรา (หนวยปฏิบัติเขารวมโครงการตามความสมัครใจ) 111 หนวยการฝก

ตารางที่ 2 ผลผลิตสื่อการฝกตามนโยบายพัฒนาบุคลากร

ท่ี

สาขา สื่อ

E-Book

สื่อ

Interactive

ซอฟตแวร

การฝก

1

2

3

4

งานชางเชื่อม 4 สาขา

-เช่ือมไฟฟา

-เช่ือมกาซ

-ตัดโลหะดวยกาซ

-โลหะแผน

9

31

3

11

-

2

-

-

9

33

3

11

5

6

งานชางยนต 2 สาขา

-เคาะพนสีรถยนต

-ซอมจักรยานยนต

5

20

-

-

5

20

7

8

9

งานชางไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 3 สาขา

-ไฟฟาในอาคาร

-ซอมเครือ่งปรับอากาศ

-ประกอบ/ซอมคอมพิวเตอร

2

8

1

-

-

-

2

8

1

10

11

12

งานชางกอสรางและอุตสาหกรรมศิลป 3 สาขา

-ปูกระเบื้อง

-ไมกอสราง (เปลี่ยนลูกบิดประตู)

-ตัดเย็บเสือ้ผาสตร ี

1

1

4

-

-

-

1

1

4

13

งานชางกลโรงงาน 1 หัวขอ

-เครื่องพื้นฐาน

10

1

11

14

งานประชาสัมพันธ/บริการ 1 หัวขอ 1 1 2

รวม 14 สาขา/หัวขอ ผลิตสื่อการฝก จํานวน 107 4 111

หนวยการฝก

Page 22: CBST

-19-

4.2 ผลผลิตบุคลากร

4.2.1 บุคลากรที่ผานการฝกอบรม

ตารางที่ 3 บุคลากรที่ผานการฝกอบรม ระหวางป 2542-2549

ท่ี

หลักสูตร

ผูผานการฝกอบรม งบประมาณสมทบ

โครงการ

2542-2545

งบประมาณ

ประจําป

2546

งบประมาณ

ประจําป 2547

งบประมาณ

ประจําป 2548

งบประมาณ

ประจําป 2549

1 Instructional System Design/

Computer Based training

ตางประเทศ 41

ในประเทศ 638

รวม 679 คน

- - - -

2 การใชและพฒันาชุดการฝก

CBST และชุดแนะแนว

- 203*

(ไมมีรุน)

339**

237**

-

3 ซอฟตแวรการฝกยุคใหม

- - - - 81**

* ป 2546 บุคลากรของ สพภ.ศพจ. 68 แหง เขารวมโครงการตามความสมัครใจ เพือ่ทดลองใชและพัฒนา

ชุดการฝก CBST โดยหนวย CBT Unit เปนหนวยงานใหคําปรึกษาแนะนํา กํากบัดูแล ติดตามผล

**ป 2547-2549 ฝกอบรมบุคลากร สาขา การฝกพื้นฐาน (Technical Literacy) ชางเช่ือม ชางตัดเย็บ

เสื้อผา ชางยนต ชางอิเล็กทรอนิกส ชางกลโรงงาน ชางกอสราง

ภ า พ ส รุ ป ก า ร พั ฒ น า บ ุค ล า ก ร

ป 2542-2545 ผูผานการฝกอบรมภายใตโครงการเงินกู ADB 679 คน

ป 2546-2549 ผูผานการฝกอบรมภายใตโครงการขยายผล 860 คน

ผูผานการฝกอบรม ระหวางป 2542-2549 จํานวนทั้งสิ้น 1,539 คน

________________________________________________________________________________________________________________CBST - CBT

คิ ด ค ้น อ อ ก แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผ ล พั ฒ น า เ ผ ย แ พ ร่ ใ ช ้ง า น ห รื อยั ง ?

Page 23: CBST

1. ตัวอยางชุดการฝก CBST ท่ีผานการตรวจรับและเผยแพรใชงาน

ชุดการฝก CBST : N 70000 การจัดการ

N 71000 ความสามารถในการสื่อสารของผูบริหาร

N 72000 ความสามารถในการสรางแรงจูงใจของผูบริหาร

คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก แบบทดสอบกอนฝก แบบทดสอบหลังฝก

ลิขสิทธ์ิ กรมพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ.2545

พิมพครั้งที่ 1 มกราคม 2546

จํานวน 100 เลม

จัดพิมพ บริษัทเลิศวิลัยแอนดซันส จํากัด

สถานที่พิมพ บริษัท เอดูเน็ท จํากัด

2. หนังสือ สพท.ที่ รง 0405/3505 ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2555 ขอใหหาเอกสารความรูการฝกระบบ CBT

ในโครงการเงินกู ADB

3. หนังสือ นางคนึงนิจ โกศัลวัฒน ผูเช่ียวชาญดานการพฒันาฝมือแรงงาน ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2555

สงเอกสารความรูการฝกระบบ CBT ในโครงการเงินกู ADB

ภ า ค ผ น ว ก

Page 24: CBST
Page 25: CBST
Page 26: CBST
Page 27: CBST
Page 28: CBST
Page 29: CBST
Page 30: CBST

บรรณานกุรม

1. Dr. Richard Maxfield, 1999 วารสาร สานสัมพันธ Thai Skills Development Project Newsletter Vol.II, No.3

September 1999

2. สํานักงานบริหารโครงการเงินกู ADB หนวยพัฒนาคอมพิวเตอรเพื่อการฝก, 2542 ระบบการฝกแบบใหม CBST

คุณรูจักแลวหรือยัง?

3. สํานักงานบริหารโครงการเงินกู ADB หนวยพัฒนาคอมพิวเตอรเพื่อการฝก, 2543 คูมือการบริหารการฝกในโรงฝกงาน

สําหรับระบบ CBST

4. สํานักงานบริหารโครงการเงินกู ADB, 2543 เอกสารแนะนําโครงการเงินกู ADB Loan 1494-THA

5. สํานักงานบริหารโครงการเงินกู ADB หนวยพัฒนาคอมพิวเตอรเพื่อการฝก, 2545 เสนทางสูการปรับปรุงประสิทธิภาพ

การพัฒนาฝมือแรงงานดวยการฝกระบบ CBST

6. สํานักงานปฏิบัติการประเมินผลโครงการเงินกู ADB, 2546 Guideline OEU/DSD การบูรณาการผลงานโครงการเงินกู

ADB

7. พินิจ ศุภมัสดุอังกูร สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค 6 ขอนแกน , 2548 กลยุทธการจัดระบบการฝกแบบยึด

ความสามารถของผูรับการฝกเปนสําคัญ

8. สํานักงานปฏิบัติการประเมินผลโครงการเงินกู ADB, 2548 รายงานเรื่อง หนวยงานภายในกรมที่มีสวนรวมในการใช

CBST

9. สํานักงานปฏิบัติการประเมินผลโครงการเงินกู ADB, 2548 สรุปผลการบูรณาการผลงานโครงการเงินกู ADB 2546-

2548

10. สํานักงานปฏิบัติการประเมินผลโครงการเงินกู ADB, 2548 ขอมูลหนวยงานภายในกรมที่มีสวนรวมในการใช CBST

ระหวางป 2546-2548

11. สํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก , 2549-2550 รายงาน เรื่อง ผลการดําเนินการฝกอบรมเกี่ยวกับ

Competency

12. กลุมงานพัฒนาผูฝก, 2550 เอกสารสรุปการดําเนินการฝกอบรมเกี่ยวกับ Competency ของ สพภ. ศพจ.เครือขาย

ในป 2549-2550

13. สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน, 2555 หนังสือที่ ตผ 0013/1045 ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ 2555 เรื่อง การตรวจสอบ

การดําเนินงาน งานพัฒนาฝมือแรงงานเพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

14. กรมพัฒนาฝมือแรงงาน, 2555 หนังสือที่ รง 04.2/06868 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2555 เรื่อง รายงานผลการ

ดําเนินงานตามขอเสนอแนะจากการตรวจสอบการดําเนินงาน งานพัฒนาฝมือแรงงานเพื่อรองรับการขยายตัวทาง

เศรษฐกิจ

Page 31: CBST

BST Competency-based Skill Training

C

อักษรแตละตัวแทนความสามารถรายบุคคลซ่ึงแตกตางกัน และยดืหยุนตามลักษณะของหลักสูตร

ดานลางเปนช่ือเต็มที่เปนเสนตรงชัดเจนเปนฐานลาง หมายถึง การวัดผลความสามารถตามมาตรฐานที่ภาคอุตสาหกรรมตองการ

ระบบการฝึก CBST โครงการเงินก ู ้ADB

ปภิญญา ทองสมจิตร ออกแบบ