chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร...

42
ชุดคูมือสนับสนุนการทํางานของรัฐมนตรี คณะกรรมการจัดทําคูมือสนับสนุนการทํางานของรัฐมนตรี (สํานักงบประมาณ) การบริหารจัดการ งบประมาณ

Upload: others

Post on 29-Feb-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

ชุดคูมือสนับสนุนการทํางานของรัฐมนตร ีคณะกรรมการจัดทําคูมือสนับสนุนการทํางานของรัฐมนตรี (สํานักงบประมาณ)

การบริหารจัดการงบประมาณ

Page 2: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

ชุดคูมือสนับสนุนการทํางานของรัฐมนตรี เรื่อง การบริหารจัดการงบประมาณ

วัตถุประสงค เพื่อใหรัฐมนตรีไดรับทราบหลักปฏิบัติสําคัญเกี่ยวกับการบริหารจัดการงบประมาณ

จํานวนหนา 38 หนา

พิมพครั้งที่ 1 มีนาคม 2548 พิมพครั้งที่ 2 ตุลาคม 2549 (ฉบับปรับปรงุ) พิมพครั้งที่ 3 มกราคม 2551 (ฉบับปรับปรุง) พิมพครั้งที่ 4 กันยายน 2551 (ฉบับปรับปรุง) พิมพครั้งที่ 5 มิถุนายน 2552 (ฉบับปรบัปรุง) คณะกรรมการจัดทําคูมือสนับสนุนการทํางานของรัฐมนตรี จัดตั้งขึ้นตามคําสั่งสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ 218/2547 ลงวันที่ 20 สิงหาคม 2547 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อจัดทําคูมือในเรื่องตาง ๆ ที่จะเปนประโยชนตอการบริหารงานของรัฐมนตรี คณะกรรมการฯ ประกอบดวยผูแทนจากสวนราชการตาง ๆ ไดแก สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สํานักงบประมาณ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงาน ก.พ. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และกระทรวงการคลัง

สปค. 52/06-23

ผูจัดทํา คณะกรรมการจัดทําคูมือสนับสนุนการทํางานของรัฐมนตรี โดย

นางสาวนิลุบล เครือนพรัตน โทร. 0-2273-9977 สํานักอํานวยการและบริหารทั่วไป สํานักงบประมาณ

รายชื่อชุดคูมือสนับสนุนการทํางานของรัฐมนตรี การปฏิบัติราชการตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 เกี่ยวกับการจัดทําแผนการบริหารราชการแผนดิน

การจัดทําแผนนิติบัญญัต ิ

การบริหารราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ

การบริหารจัดการงบประมาณ

การแตงตั้งขาราชการ

การกํากับดูแลรัฐวิสาหกิจ

การกํากับดูแลองคการมหาชน

การจัดซื้อจัดจาง

การเสนอรางกฎหมายและการตรวจรางสัญญา

การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวาดวยการใหเอกชนเขารวมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535

การดําเนินการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ

Page 3: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

สารบัญ

หนา

1. การจัดทํางบประมาณรายจายประจําป 1

2. การบรหิารงบประมาณรายจายประจําป 10

3. การบรหิารงบประมาณรายจายงบกลาง 14

4. การใชจายงบประมาณเงนิราชการลับ 20

5. การจัดทํางบประมาณรายจายประจําป (จังหวัด/กลุมจังหวัด) 23

6. การบรหิารงบประมาณรายจายประจําป (จังหวัด/กลุมจังหวัด) 25

7. การบรหิารงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิน่ 26

8. การติดตามประเมนิผล 32

ภาคผนวก 35 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่เก่ียวของกับการจัดทํางบประมาณรายจายประจําป

Page 4: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว
Page 5: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

1

หลักการทั่วไป

ขั้นตอนและวิธีการจัดทํางบประมาณรายจายประจําป

ปฏิทินงบประมาณรายจายประจําป

การจดัทํางบประมาณรายจายประจาํป

Page 6: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

2

1.1 หลักการท่ัวไป

งบประมาณรายจาย หมายถึง จํานวนเงินอยางสูงท่ีอนุญาตใหจายหรือใหกอหนี้ผูกพันไดตามวัตถุประสงคและภายในระยะเวลาที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย

ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกัรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 166

งบประมาณรายจายของแผนดินใหทําเปนพระราชบัญญัติ ถาพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณออกไมทันปงบประมาณใหม ใหใชกฎหมายวาดวยงบประมาณรายจายในปงบประมาณปกอนน้ันไปพลางกอน

มาตรา 168 สภาผูแทนราษฎรจะตองวิเคราะหและพิจารณารางพระราชบัญญัติ

งบประมาณรายจายประจําปใหแลวเสร็จภายใน 105 วันนับแตวันที่รางพระราชบัญญัติดังกลาวมาถึงสภาผูแทนราษฎร และถาสภาผูแทนราษฎรพิจารณารางพระราชบัญญัติน้ันไมแลวเสร็จภายในกําหนดเวลาดังกลาว ใหถือวาสภาผูแทนราษฎรไดใหความเห็นชอบในรางพระราชบัญญัติน้ัน และใหเสนอรางพระราชบัญญัติดังกลาวตอวุฒิสภา

วุฒิสภาจะตองใหความเห็นชอบหรือไมใหความเห็นชอบภายใน 20 วันนับแตวันท่ีรางพระราชบัญญัติน้ันมาถึงวุฒิสภา โดยจะแกไขเพิ่มเติมใดๆ มิได และถาพนกําหนดเวลาดังกลาว ใหถือวาวุฒิสภาไดใหความเห็นชอบในรางพระราชบัญญัติน้ัน

Page 7: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

3

ตามพระราชบัญญัติวิธกีารงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แกไขเพิ่มเติมมาตรา 13

ให รัฐมนตรีเจาสังกัดของสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ หรือรัฐมนตรีซ่ึงตามกฎหมายใหมีหนาท่ีกํากับ หรือควบคุมกิจการของรัฐวิสาหกิจ มีหนาท่ีรับผิดชอบในการยื่นงบประมาณประจําปของสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจน้ันตอผูอํานวยการสํานักงบประมาณ

มาตรา 15 ใหผูอํานวยการสํานักงบประมาณเสนองบประมาณประจําปตอ

นายกรัฐมนตรี เพื่อคณะรัฐมนตรีเสนอตอรัฐสภาเปนเวลาอยางนอยสองเดือนกอนวันเร่ิมปงบประมาณนั้น

ตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลกัเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 16

ใหสวนราชการจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําปเสนอรัฐมนตรี ใหความเห็นชอบ ในกรณีท่ีสวนราชการมิไดเสนอแผนปฏิบัติราชการประจําปในภารกิจใด หรือภารกิจใดไมไดรับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี มิใหสํานักงบประมาณจัดสรรงบประมาณสําหรับภารกิจน้ัน

Page 8: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

4

1.2 ขั้นตอนและวิธีการจัดทํางบประมาณรายจาย ประจําป

ข้ันตอนการจัดทาํงบประมาณรายจายประจําป

เมื่อเร่ิมตนปงบประมาณสํานักงบประมาณจะนําเสนอปฏิทินงบประมาณรายจายประจําป เพื่อใหคณะรัฐมนตรีพิจารณาใหความเห็นชอบ และแจงใหหนวยงานที่รับผิดชอบรับทราบขั้นตอน แนวทาง และระยะเวลาในการจัดทํางบประมาณรายจายประจําป รวมทั้งขั้นตอนและระยะเวลาในการพิจารณาและอนุมัติงบประมาณของฝายนิติบัญญัติ

การวางแผนจัดทํางบประมาณรายจายประจําปจะมีการพิจารณากรอบหลัก ๆ ท่ีจะใชเปนแนวทางในการจัดทํางบประมาณ เชน นโยบายงบประมาณ โครงสรางงบประมาณในสวนท่ีเกี่ยวกับรายจายลงทุน รายจายประจํา เปนตน

การเตรียมความพรอมในการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปจะมีการพิจารณารวมกันระหวางสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ ตามความหมายแหงพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แกไขเพิ่มเติม และสํานักงบประมาณ ในการทบทวนผลผลิต โครงการ กิจกรรม ตัวชี้วัดตาง ๆ รวมท้ังการติดตามผลการดําเนินงานและการปรับปรุงฐานขอมูลตาง ๆ ในสวนที่เกี่ยวกับรายจายประจําขั้นต่ําท่ีจําเปนและการประมาณการรายจายลวงหนาระยะปานกลาง เพื่อประกอบการจัดทํางบประมาณรายจายประจําป

Page 9: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

5

การกําหนดปฏิทินงบประมาณรายจายประจําป สํานักงบประมาณจะกําหนดปฏิทินงบประมาณรายจายประจําป เพื่อเปนแนวทางในการวางแผนปฏิบัติงานในสวนที่เกี่ยวของกับกระบวนการงบประมาณ จนถึงขั้นตอนการอนุมัติงบประมาณ

วิธีการจดัทํางบประมาณรายจายประจําป

สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่นจัดทําแผนปฏิบัติราชการตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 มาตรา 16

การจัดทํางบประมาณรายจายประจําป จะตองดําเนินการตามวิธีการที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แกไขเพิ่มเติม ซ่ึงมีขั้นตอนการดําเนินการท่ีสําคัญ เชน สวนราชการและรัฐวิสาหกิจจะตองยื่นคําขอตั้งงบประมาณรายจายประจําปไปยังสํานักงบประมาณ เพื่อพิจารณาเสนอนายกรัฐมนตรีจัดทํารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป เสนอตอคณะรัฐมนตรีพิจารณาใหความเห็นชอบกอนเสนอตอรัฐสภา

กระบวนการอนุมัติรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปน้ัน เปนอํานาจหนาท่ีของสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา ตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซ่ึงเมื่อผานการอนุมัติของรัฐสภาแลว และจะตองนําขึ้นทูลเกลาฯ ถวายพระมหากษัตริย เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษาตอไป

Page 10: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

6

1.3 ปฏิทินงบประมาณรายจายประจําป เพื่อใหการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปเปนไปดวยความเรียบรอยโดยสอดคลองกับเงื่อนไข เงื่อนเวลาที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว และสามารถใชบังคับไดทันในวันเริ่มตนปงบประมาณนั้น ตลอดจนเปนท่ีรับทราบของผู ท่ี เ กี่ ย วข อ ง สํ า นักงบประมาณจึ งจั ดทํ าปฏิ ทินงบประมาณ รายจายประจําปเสนอใหคณะรัฐมนตรีพิจารณา ใหความเห็นชอบ เพื่อเปนกรอบใหสวนราชการและรัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่นใชเปนแนวทางในการดําเนินการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปของหนวยงานตาง ๆ ดังน้ี

ปฏิทินงบประมาณรายจายประจําป

ลําดับ ขั้นตอน 1 คณะรัฐมนตรีรับทราบการเตรียมการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปและ

ปฏิทินงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณถัดไป 2 สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่น

รายงานการติดตามผลการดําเนินงาน/การใชจายงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณที่ผานมา

รายงานการติดตามประเมินผลสําเร็จของเปาหมายในแตละระดับ 3 สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่นรวมกับสํานักงบประมาณ

ทบทวนการกําหนดเปาหมาย กลยุทธ ผลผลิต กิจกรรม และตัวชี้วัดผลสําเร็จในปงบประมาณปปจจุบัน

ปรับปรุงฐานขอมูลประมาณการรายจายลวงหนาระยะปานกลาง จัดทําประมาณการรายจายขั้นต่ําที่จําเปนที่สอดคลองกับฐานขอมูลประมาณการรายจายลวงหนาระยะปานกลาง

Page 11: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

7

ลําดับ ขั้นตอน จัดทําขอเสนองบประมาณรายจายประจําปงบประมาณถัดไป (เบื้องตน)

ประกอบดวย รายจายขั้นต่ําที่จําเปน รายจายตามขอผูกพัน ภารกิจพื้นฐาน และภารกิจยุทธศาสตรตอเนื่อง

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติรวมกับสํานักงบประมาณ

เตรียมการจัดทําขอเสนอเปาหมายและยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณถัดไป (เบื้องตน)

4 การเตรียมการตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 (กรณีจัดตั้งรัฐบาลใหม)

กระทรวงการคลัง สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ธนาคารแหงประเทศไทย และสํานักงบประมาณประชุมรวมกัน เพื่อกําหนดประมาณการรายไดประจําปงบประมาณถัดไป และประมาณการรายไดลวงหนา 3 ป (เบื้องตน) เพื่อเปนขอมูลประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการจัดทํารายงาน สรุปสภาวะของประเทศ

สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และสํานักงบประมาณ รวมกันกําหนดแนวทางการจัดทําแผนการบริหารราชการแผนดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ป และแผนปฏิบัติราชการประจําป (เบื้องตน)

สวนราชการและรัฐวิสาหกิจเตรียมการจัดทําแผนปฏิบัติราชการ 4 ป (เบื้องตน) และแผนปฏิบัติราชการประจําป (เบื้องตน) ตามแนวทางที่กําหนด

5 การจัดทําแผนการบริหารราชการแผนดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ป และแผนปฏิบัติราชการประจําป (กรณีจัดตั้งรัฐบาลใหม)

สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และสํานักงบประมาณ จัดทําแผนการบริหารราชการแผนดินใหสอดคลองกับนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ

คณะรัฐมนตรีพิจารณาใหความเห็นชอบแผนการบริหารราชการแผนดิน

Page 12: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

8

ลําดับ ขั้นตอน สวนราชการและรัฐวิสาหกิจจัดทําแผนปฏิบัติราชการ 4 ป และแผนปฏิบัติราชการ

ประจําปใหสอดคลองกับแผนการบริหารราชการแผนดิน เสนอรัฐมนตรีเจาสังกัดใหความเห็นชอบ

6 กระทรวงการคลัง สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ธนาคารแหงประเทศไทย และสํานักงบประมาณประชุมรวมกันเพื่อทบทวนประมาณการรายได และพิจารณากําหนดวงเงิน รายจาย และโครงสรางงบประมาณประจําปงบประมาณถัดไป และประมาณการลวงหนา 3 ป

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และสํานักงบประมาณทบทวนและจัดทําขอเสนอเปาหมายและยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณถัดไป ที่สอดคลองกับแผนการบริหารราชการแผนดิน

7 คณะรัฐมนตรีพิจารณาใหความเห็นชอบนโยบายงบประมาณ วงเงิน โครงสรางงบประมาณประจําปงบประมาณถัดไป ยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณฯ ที่สอดคลองกับแผนการบริหารราชการแผนดิน วงเงินรายจายขั้นต่ําที่จําเปน และรายจายตามขอผูกพัน

8 รองนายกรัฐมนตรีที่รับผิดชอบ/รัฐมนตรีมอบนโยบายใหกระทรวง สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอ่ืนของรัฐ จัดทําเปาหมายและยุทธศาสตรกระทรวงที่สอดคลองกับยุทธศาสตรการจัดสรรฯ ตามที่คณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบ

9 สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่น จัดทํารายละเอียดวงเงินและคําของบประมาณรายจายประจําปงบประมาณถัดไป ที่สอดคลองกับแผนปฏิบัติราชการประจําป และจัดทําประมาณการรายไดประจําป เสนอรัฐมนตรีและรองนายกรัฐมนตรีพิจารณาใหความเห็นชอบและสงสํานักงบประมาณ

10 สํานักงบประมาณพิจารณาและจัดทํารายละเอียดงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณถัดไป เสนอคณะรัฐมนตรี

11 คณะรัฐมนตรีพิจารณาใหความเห็นชอบรายละเอียดงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณถัดไป พรอมหลักเกณฑการปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณรายจายประจําปฯ

Page 13: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

9

ลําดับ ขั้นตอน 12 รองนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรีเจาสังกัด มอบนโยบายใหกระทรวง สวนราชการ

รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่น ปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณถัดไป ตามหลักเกณฑที่คณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบและสงสํานักงบประมาณ

13 สํานักงบประมาณพิจารณาปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณถัดไป เพื่อนําเสนอคณะรัฐมนตรี

14 คณะรัฐมนตรีพิจารณาใหความเห็นชอบการปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณถัดไป

15 สํานักงบประมาณจัดพิมพรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณถัดไป และเอกสารประกอบพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป

16 คณะรัฐมนตรีพิจารณาใหความเห็นชอบรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณถัดไป และนําเสนอสภาผูแทนราษฎร

17 สภาผูแทนราษฎรพิจารณาในวาระที่ 1

18 สภาผูแทนราษฎรพิจารณาในวาระที่ 2 – 3

19 วุฒิสภาพิจารณาใหความเห็นชอบรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณถัดไป

20 สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีนํารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณถัดไป ขึ้นทูลเกลาฯ พระมหากษัตริยเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยและประกาศในราชกิจจานุเบกษาตอไป

หมายเหตุ เมื่อมีการจัดตั้งรัฐบาลใหมอาจมีการปรับปฏิทินใหสอดคลองกับสถานการณและนําเสนอคณะรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง

Page 14: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

10

หลักการทั่วไป

ขั้นตอนการบรหิารงบประมาณรายจาย ประจําปที่เก่ียวของกับคณะรฐัมนตร ี

การบริหารงบประมาณรายจายประจําป

Page 15: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

11

2.1 หลักการท่ัวไป

เมื่อพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปมีผลใชบังคับแลว สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่นของรัฐท่ีไดรับการจัดสรรงบประมาณตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป และเอกสารประกอบพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปจะดําเนินการใชจายงบประมาณรายจายประจําปดังกลาวได โดยถือปฏิบัติตามระเบียบวาดวยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 และระเบียบอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวของ

เพื่อใหการบริหารงบประมาณรายจายประจําปเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ มีการใชจายงบประมาณที่ไดรับจัดสรรตามชวงเวลาอยางเหมาะสม โดยไมตองเรงใชจายในชวงปลายปงบประมาณ สํานักงบประมาณจึงอาจกําหนดหลักเกณฑการบริหารงบประมาณรายจายประจําป

Page 16: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

12

2.2 ขั้นตอนการบริหารงบประมาณรายจายประจําป ที่เกี่ยวของกบัคณะรัฐมนตร ี

การกอหนี้ผูกพนัขามปงบประมาณ

(1) คณะรัฐมนตรีเปนผูอนุมัติรายการและวงเงินกอหนี้ผูกพันขามป งบประมาณ ตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แกไขเพิ่มเติม มาตรา 23 วรรคสาม ตามที่สํานักงบประมาณไดรวบรวมรายการงบประมาณรายจายประจําป ซ่ึงจะตองกอหนี้ผูกพันเกินกวา 1 ปงบประมาณ และวงเงินท่ีคาดวาจะตองกอหนี้ผูกพันงบประมาณรายจายประจําปตอ ๆ ไป พรอมทั้งจํานวนเงินเผื่อเหลือเผื่อขาดเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาใหความเห็นชอบภายใน 60 วันนับแตวันท่ีพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปใชบังคับ (2) กรณีมีการเปลี่ยนแปลงรายการหรือการเพิ่มวงเงินกอหนี้ผูกพันขามปงบประมาณเกินกวาวงเงินงบประมาณที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติไวตามนัย (1) สวนราชการและรัฐวิสาหกิจ จะตองเสนอขออนุมัติตอคณะรัฐมนตรีกอน (3) การขยายระยะเวลากอหนี้ผูกพันขามปงบประมาณโดยไมเพิ่มวงเงินกอหนี้ผูกพัน ภายหลังจากคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติแลวใหเสนอ ขออนุมัติตอรัฐมนตรีเจาสังกัด และรายงานใหสํานักงบประมาณทราบภายใน 15 วัน นับแตวันท่ีไดรับอนุมัติ

Page 17: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

13

การกันเงนิงบประมาณไวเบิกเหลื่อมป และการขยายเวลาเบกิจายเงิน

(1) กระทรวงการคลังเปนผูมีอํานาจในการพิจารณาอนุมัติการกันเงินงบประมาณไวเบิกเหลื่อมป และการขยายเวลาเบิกจายเงิน กรณีท่ีมีหนี้ผูกพันใหมีระยะเวลาการกันเงินไวเบิกเหลื่อมปและการขยายเวลาเบิกจายเงินรวมกันไมเกิน 2 ปงบประมาณ สําหรับกรณีไมมีหนี้ผูกพัน แตมีความจําเปนตองขอกันเงินงบประมาณนั้นไวใชจายตอไปอีก ใหสวนราชการขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลัง (2) กรณีมีการโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณที่กันไวเบิกเหลื่อมป สํานักงบประมาณจะเปนผูพิจารณาอนุมัติการโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณที่กันเงินไวดังกลาว ตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย

Page 18: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

14

หลักการทั่วไป

วิธีการจัดสรรและใชจายเงินงบกลาง รายการที่สําคญั ๆ

การบริหารงบประมาณรายจายงบกลาง

Page 19: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

15

3.1 หลักการท่ัวไป

“รายจายงบกลาง” หมายถึง รายจายที่ตั้งไวเพื่อจัดสรรให สวนราชการ และรัฐวิสาหกิจโดยทั่วไปใชจายนอกเหนือจากงบประมาณ ท่ีไดรับตามปกติ รวมท้ังรายจายที่ตั้งไวเปนคาใชจายเฉพาะเรื่องท่ีมีการกําหนดรายการไวใหเปนรายจายงบกลาง

3.2 วิธีการจัดสรรและใชจายเงินงบกลาง รายการที่สําคัญ ๆ

(1) งบกลาง รายการเงินสํารองจายเพือ่กรณีฉุกเฉินหรือจาํเปน

กรณีสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ใหขอทําความตกลงกับสํานักงบประมาณ โดยแจงเหตุผล

ความจําเปนเรงดวนที่จะตองเรงดําเนินการ และไมอาจเสนอตั้งงบประมาณปกติไดทันหรือไมสามารถเสนอขอเพิ่มงบประมาณในขั้นตอนการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณางบประมาณรายจายประจําปมาดําเนินการได พรอมรายละเอียดคาใชจาย ชื่อผลผลิต หรือโครงการ แผนงบประมาณ งบรายจาย ตลอดจนขอมูลที่จําเปนเพื่อประกอบการพิจารณา

เสนอเรื่องใหรัฐมนตรีเจาสังกัดพิจารณากอน เวนแตกรณี ที่คณะรัฐมนตรี หรือนายกรัฐมนตรีไดอนุมัติหลักการไวแลว

Page 20: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

16

การใชจายเงินงบกลางฯ ภายในวงเงิน 10 ลานบาท ใหผูอํานวยการสํานักงบประมาณเปนผูพิจารณาอนุมัติ

การใชจายเงินงบกลางฯ ที่เกินวงเงิน 10 ลานบาท ใหสํานักงบประมาณพิจารณานําเสนอนายกรัฐมนตรีพิจารณาใหความเห็นชอบกอน เวนแตคณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีไดอนุมัติในหลักการไวแลว

การใชจายเงินงบกลางฯ ที่เกินวงเงิน 10 ลานบาท โดยเฉพาะโครงการหรือแผนงานที่มีวงเงินเกินกวา 100 ลานบาท หากนายกรัฐมนตรีเห็นสมควรจะเสนอใหคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติหลักการกอนก็ได ซึ่งไมรวมถึงกรณีที่มีบทบัญญัติของกฎหมายกําหนดใหตองนําเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ

กรณีองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญหรือหนวยงานที่ไมไดอยูในบังคับบัญชาของฝายบริหาร

หากมีความจําเปนตองใชงบกลางฯ ในวงเงินเกินกวา 10 ลานบาท ใหเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติในหลักการกอน

หลักเกณฑการอนุมัติคาใชจายกรณีฉุกเฉิน เหตุการณฉุกเฉินคือ เหตุรุนแรงที่เกิดขึ้นโดยมิไดคาดหมายหรือไมทราบลวงหนาและรัฐบาลจําเปนตองเรงเขาไปแกไขสถานการณดังกลาว ใหหมดไป หรือใหบรรเทาเบาบางลงโดยเร็ว เชน อุทกภัย วาตภัย แผนดินไหว ภัยแลง อัคคีภัย เปนตน โดยมีหลักเกณฑการอนุมัติคาใชจาย ดังน้ี 1. เปนเรื่องที่เกิดจากภัยพิบัติ หรือสาธารณภัยที่กอใหเกิดความเสียหายตอทรัพยสิน ชีวิตของประชาชน หรือทรัพยสินของทางราชการ 2. คาใชจายในการชวยเหลือโดยเรงดวน เชน คาพยาบาล คาทําศพ คาซอมแซมบานเรือนราษฎร ฯลฯ 3. กรณีที่ไมมีกฎหมายหรือระเบียบกําหนดใหเบิกจายได ตอง ขออนุมัติตอคณะรัฐมนตรีกอน 4. ประชาชนที่อยูในขายไดรับความชวยเหลือ เปนประชาชนที่อยูในเขตพื้นที่และประสบภัยพิบัติ หรือสาธารณภัย

Page 21: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

17

5. คาใชจายในการซอมแซมโครงสรางพื้นฐาน เชน ถนน สะพาน เพื่อใหสามารถใชงานไดตามปกติ 6. คาใชจายกรณีฉุกเฉินอ่ืน ๆ ซึ่งหากไมดําเนินการจะกอใหเกิดความเสียหายตอประชาชน และราชการ กรณีที่เปนคาใชจายในการบูรณะเพ่ือใหกลับคืนสภาพเดิมหรือพัฒนาใหดีขึ้นกวาเดิม ใหสวนราชการใชจายโดยการขอตั้งงบประมาณรายจายประจําปตามปกติ

หลักเกณฑการอนุมัติคาใชจายกรณีจําเปน 1. คาใชจายที่เก่ียวของกับนโยบายของรัฐบาลในการเรงรัดการดําเนินงานหรือแกไขปญหาเฉพาะกิจเรงดวน และการเสนอตั้งงบประมาณในป ตอ ๆ ไป อาจลาชาไมทันการณ เชน การแกไขปญหาการระบาดของไขหวัดนก 2. คาใชจายที่ตองปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบ หรือการออกกฎหมายหรือระเบียบตาง ๆ ในระหวางปที่มีผลบังคับใชทันทีและตองมีคาใชจายที่เพิ่มขึ้นในขณะนั้นทันที เชน คาใชจายในการเลือกต้ังตามพระราชกฤษฎีกา หรือผลทางกฎหมายตามคําพิพากษาของศาล มีผลใหทางราชการตองจายเงิน เชน เงินคาปรับ คาธรรมเนียม หรือคาสินไหมทดแทนในคดีตาง ๆ 3. คาใชจายตามนโยบายเรงดวนของรัฐบาลในการรักษาผลประโยชนของประเทศหรือเปนการแกไขปญหาระหวางประเทศ เชน การแกไขปญหาการสงสินคาออก การแกไขปญหาเรื่องสันติภาพในภูมิภาค การเดินทางไปประชุมทางการคา เศรษฐกิจและสังคม ฯลฯ 4. คาใชจายในการดําเนินการโดยเรงดวนตามที่คณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบ เชน การเรงรัดการแกไขปญหายาเสพติด เปนตน 5. คาใชจายในการใหความชวยเหลือแกตางประเทศ หรือ องคการระหวางประเทศที่ประสบภัยพิบัติตามที่คณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบแลว 6. คาใชจายที่เก่ียวของกับองคพระมหากษัตริยและพระราชวงศ

Page 22: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

18

7. คาใชจายจําเปนเรงดวนอื่น ๆ ซึ่งหากไมดําเนินการจะกอใหเกิดความเสียหายตอราชการ ทั้งน้ี ตามประมาณการคาใชจายหรือตามอัตราที่กําหนด

(2) งบกลาง รายการเงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปนของ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีท่ีไดรับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรีใหกํากับและติดตามการปฏิบัติราชการในภูมิภาคและกรุงเทพมหานคร

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการกํากับและติดตาม การปฏิบัติราชการในภูมิภาค พ.ศ. 2547 และที่แกไขเพิ่มเติม กําหนดใหรองนายก รัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีท่ีไดรับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรีใหกํากับติดตามการปฏิบัติราชการในภูมิภาค มีอํานาจในการอนุมัติการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําป งบกลาง รายการเงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน ในวงเงินไมเกินคนละ 100 ลานบาทตอป เพื่อแกไขปญหาอยางเรงดวน หากไมดําเนินการจะเกิดความเสียหาย และมีผลกระทบตอประโยชนสุขของประชาชนในพื้นท่ี ท้ังนี้ หากเกินวงเงินดังกลาวใหรองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเสนอความเห็นตอนายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติตามความจําเปนเรงดวนเปนกรณี ๆ ไป มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2548 เห็นชอบเปนหลักการใหรัฐมนตรีที่ไดรับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรีใหกํากับติดตามการปฏิบัติราชการ ในกรุงเทพมหานคร มีอํานาจในการอนุมัติจัดสรรงบประมาณรายจายประจําป งบกลางฯ ไมเกิน 50 ลานบาทตอป เพื่อแกไขปญหาเรงดวนในพื้นที่

การอนุมัติจัดสรรงบกลางดังกลาวใหแตงตั้งคณะทํางานคณะหนึ่งเปนผูพิจารณากลั่นกรองความเหมาะสมและความจําเปนในการใชจายเงินของแผนงาน หรือโครงการตาง ๆ โดยโครงการที่อยูในขายที่สามารถใชจายควรมีลักษณะ ดังนี้

Page 23: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

19

เปนโครงการเพื่อแกไขปญหาเรงดวน เปนโครงการที่มีความพรอม สามารถดําเนินการไดทันที ไมซ้ํ าซอนกับการดําเนินงานที่ ไดรับการสนับสนุนจาก

งบประมาณปกติ การกําหนดรายละเอียดคาใชจายเปนไปตามรายละเอียด

เกณฑราคามาตรฐานของทางราชการ เปนโครงการที่ไมผูกพันงบประมาณปตอไป

เมื่อรองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีท่ีกํากับดูแลกลุมจังหวัด/จังหวัด ตรวจราชการ และเห็นชอบในหลักการเบื้องตนใหแกไขปญหาเรงดวนของจังหวัด ใหหนวยงานที่เกี่ยวของเสนอรายละเอียดและวงเงินโครงการตอรองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเพื่อใหความเห็นชอบผานคณะทํางานฯ พิจารณากลั่นกรองความเหมาะสมและความจําเปนในการใชจายเงิน พรอมจัดลําดับความสําคัญเสนอใหรองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติภายในกรอบวงเงิน

สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรวบรวมโครงการที่ผานความเห็นชอบจากรองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี นําเสนอสํานักงบประมาณเพื่อพิจารณาอนุมัติจัดสรรงบประมาณตอไป

Page 24: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

20

หลักการทั่วไป

วิธีการจัดสรรและใชจายเงินราชการลับ

การใชจายงบประมาณเงินราชการลับ

Page 25: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

21

4.1 หลักการท่ัวไป

เพื่อเปนคาใชจายในการปฏิบัติราชการในทางลับที่ไมสามารถเปดเผยได หรือไมสามารถเบิกจายไดตามระเบียบปกติท่ีมีอยู

“งบประมาณเงินราชการลับ” หมายความวา เงินงบประมาณรายจายประจําปท่ีกําหนดใหเปนเงินราชการลับ หรือท่ีคณะรัฐมนตรีอนุมัติเพิ่มเติม ใหเปนเงินราชการลับ หรือเปนเงินท่ีจายใหดําเนินงานในลักษณะปกปด

ภารกิจท่ีขอใชเงินราชการลับ ไดแก ภารกิจดานความมั่นคงและการปองกันราชอาณาจักร ภารกิจดานการปองกันและปราบปรามยาเสพติด ภารกิจดานการขาว ภารกิจอื่นท่ีมีลักษณะปกปดเพื่อประโยชนในดานเศรษฐกิจ

สังคม หรือโดยสภาพแหงเทคโนโลยี

การกําหนดรายการเงินราชการลับทําไดโดยตั้งงบประมาณไวใน พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปตามที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติไว หรือในกรณีท่ีสวนราชการมีความจําเปนตองใชเงินราชการลับ หรือมีความตองการเพิ่มเติมระหวางปงบประมาณ ตองไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีกอน (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แกไขเพิ่มเติม มาตรา 19) โดยใหสวนราชการจัดทําแผนปฏิบัติงาน ซึ่งตองระบุวัตถุประสงคและวิ ธีการใช จ ายงบประมาณดั งกล าว เสนอใหนายกรัฐมนตรีเห็นชอบ

ลับ

งบประมาณเงินราชการ

Page 26: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

22

4.2 วิธีการจัดสรรและใชจายเงินราชการลบั

ใหดําเนินการตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการใชงบประมาณเงินราชการลับ พ.ศ. 2547 ดังน้ี

ใหสวนราชการที่ไดรับการจัดสรรงบประมาณเงินราชการลับกําหนดระเบียบหลักเกณฑการจายเงินราชการลับใหชัดเจน โดยใหกระทําไดภายในวงเงิน วัตถุประสงคและตามวิธีการใชจายตามแผนปฏิบัติงานท่ีนายกรัฐมนตรีเห็นชอบ (ขอ 5 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการใชงบประมาณเงินราชการลับ พ.ศ. 2547)

การสั่งจายงบประมาณเงินราชการลับ ใหมีคณะกรรมการประกอบดวยขาราชการในสวนราชการนั้นอยางนอยสี่คน โดยหัวหนา สวนราชการเปนประธานรับผิดชอบการใชจายงบประมาณเงินราชการลับใหเปนไปตามแผนปฏิบัติงาน โดยใหมีการจัดทําบัญชีการรับ-จายเงิน และหลักฐานการจายไวตรวจสอบดวย (ขอ 6 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการใชงบประมาณเงินราชการลับ พ.ศ. 2547)

หัวหนาสวนราชการตองรายงานผลการใชจายงบประมาณเงินราชการลับตอนายกรัฐมนตรีเปนประจําทุกสามเดือน นับแตวันท่ีพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปมีผลบังคับใช หรือวันท่ีคณะรัฐมนตรีอนุมัติเพิ่มเติมเงินราชการลับ โดยแสดงถึงผลสัมฤทธิ์ของงานและผลการใชจายดวย (ขอ 7 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการใชงบประมาณเงินราชการลับ พ.ศ. 2547)

ท้ังน้ี ใหเปนไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการใชงบประมาณเงินราชการลับ พ.ศ. 2547

Page 27: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

23

ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกัรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 78 (2)

รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานการบริหารราชการแผนดิน สนับสนุนใหจังหวัดมีแผนและงบประมาณเพื่อพัฒนาจังหวัด เพื่อประโยชนของประชาชนในพื้นท่ี

ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 และที่แกไขเพิ่มเติม มาตรา 52 วรรคสาม

เพื่อประโยชนในการบริหารงานแบบบูรณาการในจังหวัดหรือกลุมจังหวัด ใหจังหวัดหรือกลุมจังหวัดยื่นคําขอจัดตั้งงบประมาณได ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขท่ีกําหนดในพระราชกฤษฎีกา ในกรณีน้ีใหถือวาจังหวัดหรือกลุมจังหวัดเปนสวนราชการตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ

การจดัทํางบประมาณรายจายประจาํป (จังหวัด/กลุมจงัหวดั)

Page 28: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

24

ตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 มาตรา 28

เมื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาใหความเห็นชอบกับแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจําปของจังหวัดตามที่คณะกรรมการ นโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการเสนอแลว ใหคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการสงใหสํานักงบประมาณ เพื่อใชในการจัดสรรงบประมาณ โดยสํานักงบประมาณตองดําเนินการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปใหเพียงพอตอการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจําปของจังหวัด

การสงแผนปฏิบัติราชการประจําปของจังหวัดตามวรรคหนึ่ง ใหถือวาจังหวัดไดยื่นคําของบประมาณตอสํานักงบประมาณตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณแลวเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับงบประมาณของจังหวัด

Page 29: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

25

เน่ืองจากจังหวัดและกลุมจังหวัดเปนสวนราชการตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ ดังน้ัน การบริหารงบประมาณจึงตองถือปฏิบัติเชนเดียวกับสวนราชการอื่น ๆ

การบริหารงบประมาณรายจายประจําป (จังหวัด/กลุมจงัหวดั)

Page 30: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

26

หลักการทั่วไป

ขั้นตอนและวิธีการจัดสรรรายไดใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น

การใชจายเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

การบริหารงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

Page 31: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

27

7.1 หลักการท่ัวไป “เงินอุดหนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น” หมายถึง เงินท่ีรัฐบาลจัดสรรอุดหนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพื่อถือเปนรายไดขององคกรปกครองสวนทองถิ่น “องคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.)” ไดแก องคการบริหาร สวนจังหวัด (อบจ.) เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา รายไดขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ประกอบดวยรายได 3 สวน คือ รายไดท่ีทองถิ่นจัดเก็บเอง รายไดท่ีรัฐบาลจัดเก็บใหและแบงให และรายไดจากเงินอุดหนุน

ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกัรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 281

รัฐจะตองใหความเปนอิสระแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตามหลักแหงการปกครองตนเองตามเจตนารมณของประชาชนในทองถิ่น

มาตรา 282 การกํากับดูแลองคกรปกครองสวนทองถิ่นตองทําเทาท่ีจําเปน

และมีหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขท่ีชัดเจนสอดคลองและเหมาะสมกับรูปแบบขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

มาตรา 283 วรรคสาม ใหมีกฎหมายกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ เพื่อ

กําหนดการแบงอํานาจหนาท่ีและจัดสรรรายไดระหวางราชการสวนกลางและราชการสวนภูมิภาคกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น และระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเอง

Page 32: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

28

มาตรา 283 วรรคสี่

ใหมีกฎหมายรายไดทองถิ่น เพื่อกําหนดอํานาจหนาท่ีในการจัดเก็บภาษีและรายไดอื่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยมีหลักเกณฑท่ีเหมาะสมตามลักษณะภาษีแตละชนิด การจัดสรรทรัพยากรในภาครัฐ การมีรายไดท่ีเพียงพอกับรายจายตามอํานาจหนาท่ีขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

ตามพระราชบัญญัติกาํหนดแผนและขัน้ตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม 

ไดบัญญัติเกี่ยวกับการจัดสรรภาษีและอากรเงินอุดหนุน และรายไดอื่นใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพื่อใหสอดคลองกับภารกิจ การดําเนินงานตามอํานาจหนาท่ีขององคกรปกครองสวนทองถิ่นแตละประเภทอยางเหมาะสม โดยตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2550 เปนตนไป ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีรายไดคิดเปนสัดสวนตอรายไดสุทธิของรัฐบาลไมนอยกวารอยละ 25 โดยมีจุดมุงหมายที่จะใหองคกรปกครอง สวนทองถิ่นมีรายไดเพิ่มขึ้นคิดเปนสัดสวนตอรายไดสุทธิของรัฐบาล ในอัตราไมนอยกวา รอยละ 35 สําหรับการเพิ่มสัดสวนรายไดขององคกรปกครองสวนทองถิ่นตอรายไดสุทธิของรัฐบาลใหเพิ่มขึ้นตามระยะเวลา ท่ีเหมาะสมแกการพัฒนาใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถดําเนินกิจการบริการสาธารณะไดดวยตนเองและใหเปนไปตามภารกิจถายโอนใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นท่ีถายโอนเพิ่มขึ้นและตองมีจํานวนเงินอุดหนุนท่ีองคกรปกครองสวนทองถิ่นไดรับไมนอยกวาท่ีไดรับจัดสรรในปงบประมาณ พ.ศ. 2549

Page 33: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

29

7.2 ขั้นตอนและวิธีการจัดสรรรายไดใหแก องคกร ปกครองสวนทองถิ่น ข้ันตอน

(1) เมื่อเร่ิมตนปงบประมาณ 4 หนวยงานหลัก ไดแก สํานักงบประมาณ กระทรวงการคลัง สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และธนาคารแหงประเทศไทย กําหนดประมาณการรายได นโยบายงบประมาณ และวงเงินงบประมาณรายจายประจําป ในการนี้กระทรวง การคลังจะประมาณการการจัดเก็บภาษีของ อปท. และ 4 หนวยงานจะนํามาประกอบการกําหนดสัดสวนการจัดสรรรายไดใหแก อปท. ประจําปงบประมาณ ท่ีสอดคลองกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม ดังกลาว

(2) คณะรัฐมนตรีเห็นชอบกรอบวงเงิน งบประมาณรายจายประจําปพรอมทั้งเห็นชอบสัดสวนการจัดสรรรายไดใหแก อปท. โดยแสดงรายไดท่ี อปท.จัดเก็บเอง ภาษีอากรท่ีรัฐบาลจัดเก็บและแบงให ภาษีมูลคาเพิ่มและเงินอุดหนุนท่ีรัฐบาลจัดสรรให อปท. (3) คณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครอง สวนทองถิ่น (กกถ.) รับทราบมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับสัดสวนรายไดใหแก อปท. โดย กกถ. จะพิจารณากําหนดสัดสวนการจัดสรรเงินอุดหนุนใหแก อปท.

Page 34: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

30

แตละประเภท ไดแก กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และ องคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) เทศบาล และ อบต. ท่ีจัดสรรผานกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (4) กกถ. มอบหมายใหคณะอนุกรรมการฯ ท่ีเกี่ยวของพิจารณางบประมาณในสัดสวนท่ีจัดสรรให อบจ. เทศบาล และ อบต. เพื่อพิจารณา ในรายละเอียดของวงเงินวาสมควรจัดสรรเปนเงินอุดหนุนท่ัวไป หรือเงินอุดหนุนเฉพาะกิจเปนจํานวนเทาไร และนําเสนอ กกถ. พิจารณาใหความเห็นชอบ แลวจึงแจงมติ กกถ. ใหกรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นทราบ และจัดทําคําของบประมาณสงใหสํานักงบประมาณตามกระบวนการขั้นตอนท่ีกําหนดไวในปฏิทินงบประมาณรายจายประจําปตอไป

วิธีการจดัสรร

การขอรับการจัดสรรเงินอุดหนุนของ อปท. ประกอบดวย 2 รูปแบบ ดังน้ี (1) กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา (องคกรปกครองสวนทองถิ ่นรูปแบบพิเศษ) สามารถขอรับการจัดสรรงบประมาณไดโดยตรง (2) อบจ. เทศบาล และ อบต. ขอรับการจัดสรรเงินอุดหนุนผานกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น สําหรับการจัดสรรเงินอุดหนุนใหแก อปท. เปนไปตามหลักเกณฑท่ี กกถ. กําหนด ประกอบดวยเงินอุดหนุน 2 ประเภท ดังน้ี (1) เงินอุดหนุนทั่วไป เชน เงินอุดหนุนสําหรับดําเนินการตามอํานาจหนาที่และภารกิจถายโอนเลือกทํา

Page 35: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

31

(2) เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ เชน เงินอุดหนุนสําหรับการกอสรางระบบประปา ทั้งน้ี หากเปนงบผูกพันจะตองดําเนินการตามระเบียบการกอหนี้ผูกพันขามป งบประมาณ พ.ศ. 2534 และที่แกไขเพิ่มเติม

7.3 การใชจายเงนิขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

เมื่อพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปมีผลใชบังคับแลว กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น จะดําเนินการใชจายงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณดังกลาวได โดยถือปฏิบัติตามระเบียบวาดวยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 และระเบียบอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวของ กรณีการใชจายเงินของ อบจ. เทศบาล และ อบต. ท่ีจัดสรรผาน กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เมื่อกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นไดจัดสรรเงินอุดหนุนแลว อปท. จะดําเนินการ ดังน้ี

กรณีเงินอุดหนุนท่ัวไป อปท. ตองนํามารวมเปนรายไดและสามารถจะใชจายโดยการกําหนดประเภทรายจายและจะตองไดรับความเห็นชอบจากสภาทองถิ่นน้ัน ๆ กอน

สําหรับกรณีเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ จะเบิกจายเมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระเหมือนสวนราชการอื่น โดยกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นเปนผูดําเนินการ

Page 36: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

32

8.1 หลักการท่ัวไป

การติดตามประเมินผล คือ การติดตามความสําเร็จของเปาหมาย/ตัวชี้วัดผลผลิตตามแผนปฏิบัติราชการและโครงการของสวนราชการ รวมไปถึงผลการเบิกจายงบประมาณตามแผนการใชงบประมาณที่ไดรับอนุมัติ ซ่ึงจะเปนขอมูลยอนกลับท่ีสําคัญใหกับสวนราชการในการปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการ/โครงการ และเปนขอมูลใหกับรัฐบาลในการปรับนโยบายและแผนการบริหารราชการแผนดินตอไป โดยมีประเด็นสําคัญท่ีตองพิจารณา คือ

ตองมีข อมูลความก าวหน าและผลการประ เมินตามแผนปฏิบัติราชการ

ตองมีขอมูลความกาวหนาและผลการประเมินตามงาน/โครงการที่สวนราชการรับผิดชอบ

ตองมีขอมูลผลการวิเคราะหระดับความสําเร็จของการดําเนินงานจากการใชจายงบประมาณ (PART)

การติดตามประเมนิผล

Page 37: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

33

8.2 ขั้นตอนและวิธีการติดตามประเมินผล

ข้ันตอนการติดตามและประเมินผล ดังนี้

วางระบบการติดตามประเมินผลความสําเร็จโดยใชเคร่ืองมือในการติดตามประเมินผลของสํานักงบประมาณ ประกอบดวย (1) การติดตามโดยใชแบบรายงาน (2) การติดตามผลแบบเรงดวน (3) การติดตามผลเฉพาะเรื่องเชิงลึก (4) การใชเครื่องมือวิเคราะหวัดระดับความสําเร็จของการดําเนินงานจากการ ใชจายงบประมาณ (PART : Performance Assessment Rating Tool)

(1) การติดตามโดยใชแบบรายงาน เปนการติดตามผลการดําเนินงานและผลการใชจายงบประมาณของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่นของรัฐโดยใชรูปแบบรายงาน ซึ่งสํานักงบประมาณเปนผูกําหนดแบบรายงานใหสวนราชการฯ รายงานทั้งแผน/ผลการปฏิบัติงาน และการใชจายงบประมาณเพื่อทราบความกาวหนา ปญหา อุปสรรค อันเปนสารสนเทศในการบริหารงบประมาณ โดยพิจารณาจากผลผลิตหรือการใหบริการของสวนราชการฯ วา ไดดําเนินงานตรงตามตัวชี้วัดที่กําหนดไวหรือไม โดยเปรียบเทียบระหวางแผนกับผลการปฏิบัติงานและการใชจายงบประมาณที่ไดดําเนินงานอยูในแตละไตรมาส แบบรายงานที่จะใชเปนขอมูลทุติยภูมิ คือ สงป.301 สงป.302 สงป.302/1 สงป.302/2 และ สงป.303 นอกจากจะติดตามผลการปฏิบัติงานและการใชจายงบประมาณเปนรายไตรมาสแลว สํานักงบประมาณจะสรุปในภาพรวมผลการปฏิบัติงานและการใชจายงบประมาณเปรียบเทียบกับแผนที่วางไวแยกตามยุทธศาสตร กระทรวง และกรมทุก 6 เดือน และสิ้นปงบประมาณ

Page 38: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

34

หากผลการปฏิบัติงานและผลการใชจายงบประมาณในชวง 6 เดือนแรกของปงบประมาณไมเปนไปตามแผนที่วางไว สํานักงบประมาณจะนําเสนอมาตรการสงเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพการใชจายงบประมาณตอคณะรัฐมนตรี เพื่อใหหนวยงานตาง ๆ ปรับแผนการปฏิบัติงานใหสอดคลองกับขอเท็จจริงและความสามารถในการดําเนินงานได เพื่อใหมีเงินหมุนเวียนอยูในระบบ

(2) การติดตามผลแบบเรงดวน จะใชสําหรับการติดตามที่อยูในชวงเวลาจํากัดแตตองการทราบผลของการติดตามโดยเร็ว เพื่อใชเปนขอมูลในการตัดสินใจของผูบริหาร โดยกําหนดวัตถุประสงคที่จะติดตามใหชัดเจนวาจะตองการทราบหรือศึกษาเรื่องอะไรภายในระยะเวลาที่จํากัด ศึกษารายละเอียดความเปนมาของกิจกรรมหรือโครงการหรือผลผลิตที่จะติดตาม เก็บและรวบรวมขอมูล ประมวลและวิเคราะหขอมูล และจัดทํารายงานพรอมขอเสนอแนะ

(3) การติดตามผลเฉพาะเรื่องเชิงลึก การติดตามผลโดยใชแบบรายงานอาจไมสามารถใหขอมูลไดเพียงพอตอการตัดสินใจ จึงมีการติดตามผลเฉพาะเรื่องเชิงลึก เชน เรื่องที่อยู ในความสนใจ เรื่องที่เปนนโยบายของรัฐบาล เปนตน เพื่อใหทราบความกาวหนา ความสําเร็จจากการดําเนินงานในระดับผลผลิต/ผลลัพธ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการดําเนินงาน ปญหา อุปสรรค และจัดทําขอเสนอแนะ

(4) การใชเครื่องมือวิเคราะหระดับความสําเร็จของการดําเนินงานจากการใชจายงบประมาณ (PART : Performance Assessment Rating Tool) เครื่องมือวิเคราะหระดับความสําเร็จของการดําเนินงานจากการ ใชจายงบประมาณ (PART) เปนเครื่องมือวิเคราะหความเชื่อมโยงแผนของหนวยงานกับความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ และวิเคราะหความสัมพันธของผลลัพธ-ผลผลิต-กิจกรรม-งบประมาณอยางเปนระบบ และเปนเครื่องมือในการประเมินตนเองของหนวยงาน

Page 39: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

35

ภาคผนวก

บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวของกับการจัดทํางบประมาณรายจายประจําป

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มี

บทบัญญัติที่เกี่ยวของกับการจัดทํางบประมาณรายจายประจําป ดังนี้ 1. มาตรา 78 (2) บัญญัติวา “...สนับสนุนใหจังหวัดมีแผนและ

งบประมาณเพื่อพัฒนาจังหวัด...”

จังหวัดถือเปนสวนราชการตามมาตรา 4 แหงพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 จึงสามารถยื่นคําขอตั้งงบประมาณตอสํานักงบประมาณไดเชนเดียวกับหนวยงานอื่นตามหลักเกณฑทั่วไปที่ผูอํานวยการสํานักงบประมาณกําหนด ดังน้ัน การต้ังงบประมาณใหจังหวัดจึงดําเนินการเชนเดียวกับสวนราชการอื่น โดยใหจังหวัดจัดทําแผนปฏิบัติราชการตามพระราชกฤษฎีกา วาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ ดี พ .ศ . 2546 และรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยเปนผูยื่นคําของบประมาณ ตามมาตรา 13 ของพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502

2. มาตรา 167 วรรคหน่ึง บัญญัติว า “ในการนําเสนอรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ ตองมีเอกสารประกอบซึ่งรวมถึงประมาณการรายรับ และวัตถุประสงค กิจกรรม แผนงาน โครงการในแตละรายการของการใชจายงบประมาณใหชัดเจน รวมทั้งตองแสดงฐานะการเงินการคลังของประเทศที่เกี่ยวกับภาพรวมของภาวะเศรษฐกิจ ท่ีเกิดจากการใชจายและการจัดหารายได ประโยชนและการขาดรายไดจากการ

Page 40: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

36

ยกเวนภาษีเฉพาะรายในรูปแบบตาง ๆ ความจําเปนในการตั้งงบประมาณผูกพันขามป ภาระหนี้ และการกอหนี้ของรัฐและฐานะการเงินของรัฐวิสาหกิจในปท่ีขออนุมัติงบประมาณนั้นและปงบประมาณที่ผานมาเพื่อใชประกอบการพิจารณาดวย”

ในการนําเสนอรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ ตองมีเอกสารประกอบรางพระราชบัญญัติฯ ใหมีความสอดคลองและครบถวนตามที่บัญญัติไวในมาตราดังกลาวทุกรายการ ดังน้ี

(1) ประมาณการรายรับ (2) วัตถุประสงค กิจกรรม แผนงาน โครงการในแตละรายการ

ซึ่งหมายถึงผลผลิตของการใชจายงบประมาณใหชัดเจน (3) คําแถลงประกอบงบประมาณแสดงฐานะการเงินการคลัง

ของประเทศที่เก่ียวกับภาพรวมของภาวะเศรษฐกิจที่เกิดจากการใชจายและการจัดหารายได

(4) คําชี้แจงประโยชนและการขาดรายไดจากการยกเวนภาษีเฉพาะรายในรูปแบบตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในปที่ขอตั้งงบประมาณ ตัวอยางเชน การใหสิทธิประโยชนทางภาษีจากการสงเสริมการลงทุน การจัดเก็บภาษีสรรพสามิตธุรกิจโทรคมนาคมกรณีชินคอรป เปนตน

(5) ความจําเปนในการตั้งงบประมาณผูกพันขามป (6) ภาระหนี้ และการกอหนี้ของรัฐและฐานะการเงินของ

รัฐวิสาหกิจในปที่ขออนุมัติงบประมาณและปงบประมาณที่ผานมา

3. มาตรา 167 วรรคสอง บัญญัติวา “หากรายจายใดไมสามารถจัดสรรงบประมาณใหแกหนวยราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหนวยงานอื่นใดของรัฐไดโดยตรง ใหจัดไวในรายการรายจายงบกลาง โดยตองแสดงเหตุผลและ ความจําเปนในการกําหนดงบประมาณรายจายงบกลางนั้นดวย”

Page 41: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

37

รัฐธรรมนูญไดบัญญัติหลักการสําหรับการตั้งงบประมาณรายจายงบกลางใหต้ังไดในกรณีที่ไมสามารถจัดสรรงบประมาณใหแกหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานอื่นใดของรัฐไดโดยตรง แตตองแสดงเหตุผลและความจําเปนในการกําหนดงบประมาณรายจายงบกลางที่ต้ังไวทุกรายการดวย ซึ่งตามหลักการจําแนกประเภทรายจายตามงบประมาณที่สํานักงบประมาณกําหนดใชเปนแนวทางในการตั้งงบกลางไดมีความหมายสอดคลองกับหลักการตามรัฐธรรมนูญดังกลาว โดยหมายถึง รายจายที่ต้ังไวเพื่อจัดสรรใหสวนราชการและรัฐวิสาหกิจโดยทั่วไปใชจาย ซึ่งในการตั้งงบกลางไดจําแนกเหตุผลและความจําเปนที่ตองต้ังเปนงบกลางไว 2 ประการ คือ

(1) รายจายที่สวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจจําเปนจะตองใชจายงบประมาณรวมกัน แตไมสามารถประมาณการคาใชจายที่สวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจจะใชจายไดเปนจํานวนที่แนนอน เชน คาใชจายในการรักษาพยาบาลขาราชการ ลูกจาง และพนักงานของรัฐ เงินชวยเหลือขาราชการ ลูกจาง และพนักงานของรัฐ เปนตน

(2) รายจายซึ่งมีหลายหนวยงานรับผิดชอบและยังไมสามารถกําหนดเปาหมายหรือวงเงินคาใชจายที่แนนอนได เชน เงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน เงินชดเชยคางานสิ่งกอสราง เปนตน

4. มาตรา 168 วรรคแปด บัญญัติวา “รัฐตองจัดสรรงบประมาณ ใหเพียงพอกับการบริหารงานโดยอิสระของรัฐสภา ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง และองคกรตามรัฐธรรมนูญ”

มาตรา 168 วรรคเกา บัญญัติวา “ในการพิจารณางบประมาณรายจายของรัฐสภา ศาล และองคกรตามวรรคแปด หากหนวยงานนั้นเห็นวางบประมาณรายจายที่ไดรับการจัดสรรใหนั้นไมเพียงพอ ใหสามารถเสนอคําขอแปรญัตติตอคณะกรรมาธิการไดโดยตรง”

การจัดสรรงบประมาณใหรัฐสภา ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง และองคกรตามรัฐธรรมนูญ รัฐตองจัดสรรงบประมาณให

Page 42: chapter new-มี.ค.52 เน้นคำ + · 2013-07-09 · การเสนอร างกฎหมายและการตรวจ ... ตามพระราชกฤษฎีกาว

การบริหารจัดการงบประมาณ

38

เพียงพอกับการบริหารงานโดยอิสระของหนวยงานดังกลาว หากหนวยงานใดดังกลาวเห็นวางบประมาณรายจายที่ไดรับจัดสรรนั้นไมเพียงพอ หนวยงานนั้นสามารถเสนอขอแปรญัตติตอคณะกรรมาธิการไดโดยตรง ซึ่งแสดงวารัฐธรรมนูญไดยอมรับหลักการไวระดับหนึ่งวา รัฐบาลอาจเสนอตั้งงบประมาณรายจายใหหนวยงานดังกลาวไมครบตามคําขอตั้งงบประมาณได

5. มาตรา 169 วรรคหนึ่ง บัญญัติใหกําหนดแหลงท่ีมาของรายไดเพื่อชดใชรายจายที่ไดใชเงินคงคลังจายไปกอนแลวดวย

บทบัญญั ติตามมาตราดังกลาว ตองดําเนินการโดยตั้ งงบประมาณรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลังเปนเงินงบประมาณเพื่อชดใชจริง ทั้งน้ี ใหระบุแหลงที่มาของรายไดสําหรับรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลังวามาจากแหลงใด เชน จากการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการจัดเก็บภาษีประเภทใด เปนจํานวนเทาใด จากการเพิ่มอัตราภาษีประเภทใด เปนจํานวนเทาใด จากการเพิ่มภาษีประเภทใหม เปนจํานวนเทาใด จากรายไดอ่ืน ประเภทใด เปนจํานวนเทาใด ซึ่งแตเดิมจะตั้งงบประมาณรายจายดังกลาวเปนรายจายชดใชในลักษณะการรายงาน ใหรัฐสภาทราบวา รัฐบาลไดใชจายเงินคงคลังไปเปนจํานวนเทาใด โดยมิไดต้ังเงินสําหรับชดใชจริงในรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป