charge (ประจุไฟฟ้า)

12
ประจุไฟฟ้า (ELECTRIC CHARGE) บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต ครูสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. เขต 26

Upload: somporn-laothongsarn

Post on 14-Jun-2015

10.112 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Charge (ประจุไฟฟ้า)

ประจุไฟฟ้า (ELECTRIC CHARGE) บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต

ครูสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. เขต 26

Page 2: Charge (ประจุไฟฟ้า)

ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)

เมื่อน าวัตถุสองชนิดทีเ่หมาะสมถูกันแล้วต่างเกิดมีอานาจดูดของเบาๆ ได้นั้นเราเรียกว่าวัตถุทั้งสองต่างเกิดมีประจุไฟฟ้าขึ้น การกระท าที่ท าให้วัตถุเกดิมีอ านาจไฟฟ้าขึ้นได้เราเรียกว่า electrify หรือ charge วัตถุและเมื่อวัตถุนั้นๆ หมดอ านาจไฟฟ้าแล้ว เราเรียกว่า วัตถุนี้เป็นกลาง (neutral)

Page 3: Charge (ประจุไฟฟ้า)

ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) กฏเกี่ยวกับประจุไฟฟ้า

1. ประจุไฟฟ้ามีอยู่ 2 ชนิดคือ - ประจุไฟฟ้าบวก หรือเราเรียกสั้นๆ ว่า ประจุบวก (+) เป็นประจุที่เกิดบนแท่งแก้ว เมื่อถูด้วยผ้าไหม - ประจุไฟฟ้าลบ หรือเราเรียกสั้นๆ ว่า ประจุลบ (-) เป็นประจุที่เกิดบนแท่งอ าพัน เม่ือถูด้วยผ้าขนสัตว์ โดย เบนจามิน แฟรงกลิน นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันคนแรกที่จ าแนกชนิดของประจุไฟฟ้า

หน่วยของประจุไฟฟ้า เรียกว่า คูลอมบ์ (Coulomb, C)

Page 4: Charge (ประจุไฟฟ้า)

ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)

1. ประจุไฟฟ้าบวก (Positive charge)

2. ประจุไฟฟ้าลบ (Negative charge)

+

-

Page 5: Charge (ประจุไฟฟ้า)

ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)

กฏเกี่ยวกับประจุไฟฟ้า 2. แรงกระท าที่เกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้า แบ่งได ้2 ชนิดคือ - แรงดงึดูดกัน เป็นแรงกระท าระหว่างประจุต่างชนิดกัน - แรงผลักกัน เป็นแรงกระท าระหว่างประจุชนิดเดียวกัน

Page 6: Charge (ประจุไฟฟ้า)

ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)

แรงกระท าที่เกดิขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้า แบ่งได้ 2 ชนิดคือ 1. แรงดงึดดูกัน เป็นแรงกระท าระหว่างประจุต่างชนิดกัน

2. แรงผลักกัน เป็นแรงกระท าระหว่างประจุชนิดเดียวกันกัน

+

-

-

- + +

F F

F F F F

Page 7: Charge (ประจุไฟฟ้า)

ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)

วัตถุประกอบด้วยอะตอมจ านวนมากและแต่ละอะตอมมีนิวเคลียสซึง่ประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าบวก เรียกว่า โปรตอน (proton) อนุภาคที่เป็นกลางทางไฟฟ้า เรยีกว่า นิวตรอน (neutron) และบริเวณภายนอกนิวเคลียสมีอนุภาคที่มีประจุลบ เรียกว่า อิเล็กตรอน (electron) ไฟฟา้

Page 8: Charge (ประจุไฟฟ้า)

ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)

โครงสร้างของอะตอม

-

- -

โปรตอน (proton)

อิเล็กตรอน (electron)

+

+

+

นิวตรอน (neutron)

Page 9: Charge (ประจุไฟฟ้า)

ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)

เมื่อน าวัตถุสองชนิดมาถูกันจะท าให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมของวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง วัตถุที่สูญเสียอิเล็กตรอนจึงมีประจุบวก และวัตถุที่ได้รับอิเล็กตรอนจะมีประจุลบ ล าดับของการเกิดชนิดประจุจากการถูวัสดุคู่หนึ่งแสดงดงัตารางต่อไปนี้ โดยวัตถุที่อยู่ต าแหนง่เหนือกว่า (เลขน้อยกว่า) จะเป็นบวก ส่วนวัตถุที่อยู่ล าดับต่ ากว่า (เลขมากกว่า) จะเป็นลบ เช่น เมื่อน า ผ้าไหมไปถูกับอ าพัน ผ้าไหมจะมีประจุบวกและอ าพันมีประจุลบ

Page 10: Charge (ประจุไฟฟ้า)

ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) ตารางแสดงล าดับการเกิดชนิดของประจุของวัตถุ

1. แก้ว

2. เส้นผมคน

3. เปอร์สเปกซ์

4. ไนลอน

5. ผ้าสักหลาด

6. ผ้าไหม

7. ผ้าฝ้าย

8. อ าพัน

9. โพลีไวนิลคลอไรด์ (พีวีซ)ี

10. เทฟลอน

Page 11: Charge (ประจุไฟฟ้า)

ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)

ลองคิดดู

1. นักเรียนคิดว่า ถ้าถูเทฟลอนด้วยผ้าสักหลาดวัตถุใดจะมีประจุไฟฟ้าบวกและวัตถุใดจะมีประจุไฟฟ้าลบ

2. ถ้าถูไนลอนด้วยพีวีซ ีนักเรยีนคิดว่า ถ้าวัตถุใดจะมีประจุไฟฟ้าบวกและประจุไฟฟ้าลบ ตามล าดับ

Page 12: Charge (ประจุไฟฟ้า)

ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)

เฉลย

1. เทฟลอนจะมีประจุไฟฟ้าลบ และผ้าสักหลาดจะมีประจุไฟฟ้าบวก

2. ไนลอนจะมีประจุไฟฟ้าบวก และพีวซีีจะมีประจุไฟฟ้าลบ ตามล าดับ