(common lower extremity injury): (knee fracture ... · pdf filefracture ก อให...

18
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การบาดเจ็บของรยางคลางที่พบบอย (Common Lower Extremity Injury): กระดูกหักและขอเคลื่อนที่ขอเขาและแขง (Knee Fracture-Dislocations and Tibial Fractures) นพ.ปพน สงาสูงสง ภาควิชาออรโธปดิกส โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล การบาดเจ็บของรยางคลาง หมายถึง การบาดเจ็บของรางกายสวนลางตั้งแตบริเวณเชิงกรานถึง ปลายนิ้วเทา เปนการบาดเจ็บที่พบไดบอยและมีความสําคัญเนื่องจากเปนสวนที่ใชรับน้ําหนักและ เคลื่อนไหว รวมทั้งสามารถพบรวมกับการบาดเจ็บของรางกายบริเวณอื่นเชน การบาดเจ็บที่ศีรษะหรือ กระดูกสันหลัง เปนตน และมักจะพบการบาดเจ็บของระบบยอยในบริเวณรยางคลางไดมากกวาหนึ่งระบบ เชน การบาดเจ็บของกระดูกและขอตอ, กลามเนื้อและเอ็น, หลอดเลือด, และเสนประสาท เปนตน สาเหตุ การบาดเจ็บของรยางคลางในแตละสวนของกายวิภาคนั้นมีความแตกตางกันทั้งในแงกลไกการบาดเจ็บ, การบาดเจ็บรวม, การดูแลรักษา, ภาวะแทรกซอน, และพยากรณโรคในอนาคต การบาดเจ็บบริเวณขอเขาและหนาแขงเปนการบาดเจ็บที่พบบอย สามารถเกิดไดจากการบาดเจ็บ ที่ไมรุนแรง เชนการบาดเจ็บทางกีฬา หรือการหกลม หรืออาจเกิดจากอุบัติเหตุอื่นเชน อุบัติเหตุทางจราจร หรือตกจากที่สูง เปนตน จุดประสงคของเอกสารประกอบการสอนนี้เพื่อใหนักศึกษามีความรูและเขาใจใน หลักการวินิจฉัยและดูแลรักษาเบื้องตน ในผูปวยที่มีการบาดเจ็บบริเวณนี้โดยเฉพาะการบาดเจ็บรุนแรงที่มี กระดูกหักหรือขอเคลื่อน และเพื่อใหนักศึกษามีความเขาใจในขั้นตอนของการรักษาที่จําเปนและสามารถ วางแผนการรักษาหรือสงตอผูปวยไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ ขอเขาเคลื่อนและขอเขาหักเคลื่อน (knee dislocations and fracture-dislocations) ขอเขาของมนุษยทําหนาที่ในการชวยรับน้ําหนักจากรางกายสวนบนไปสูขาและเทา และใชในการ เคลื่อนไหว จากการงอเหยียดเขาขณะเดินหรือวิ่ง รวมทั้งมีความสําคัญในดานการใหความมั่นคงเวลา เคลื่อนไหวจากเสนเอ็นในขอ และรอบขอเขาอีกดวย โดยทั่วไปการเคลื่อนของขอเขาสามารถเกิดขึ้นไดทั้ง บริเวณ patellafemoral joint, proximal tibiofibular joint, และ tibiofemoral joint แตการบาดเจ็บสอง ชนิดนี้แรกนั้นมักเปนการบาดเจ็บที่พบไดนอย, ไมรุนแรง, และอาจสัมพันธกับโรคบางชนิด ในที่นี้จึงขอ กลาวเฉพาะ tibiofemoral joint dislocation / fracture-dislocation

Upload: hoangtuyen

Post on 22-Mar-2018

232 views

Category:

Documents


6 download

TRANSCRIPT

Page 1: (Common Lower Extremity Injury): (Knee Fracture ... · PDF filefracture ก อให เกิด กระดูก, บาดเจ็บ open kn and kne ฉุกเฉินที่

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง

การบาดเจ็บของรยางคลางที่พบบอย (Common Lower Extremity Injury): กระดูกหกัและขอเคลื่อนที่ขอเขาและแขง (Knee Fracture-Dislocations and Tibial Fractures)

นพ.ปพน สงาสูงสง

ภาควิชาออรโธปดิกส โรงพยาบาลรามาธบิดี

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

การบาดเจ็บของรยางคลาง หมายถงึ การบาดเจ็บของรางกายสวนลางตั้งแตบริเวณเชิงกรานถงึ

ปลายนิ้วเทา เปนการบาดเจบ็ที่พบไดบอยและมีความสาํคัญเนื่องจากเปนสวนที่ใชรับน้ําหนกัและ

เคลื่อนไหว รวมทั้งสามารถพบรวมกบัการบาดเจ็บของรางกายบริเวณอื่นเชน การบาดเจ็บที่ศีรษะหรือ

กระดูกสันหลงั เปนตน และมักจะพบการบาดเจ็บของระบบยอยในบริเวณรยางคลางไดมากกวาหนึง่ระบบ

เชน การบาดเจ็บของกระดูกและขอตอ, กลามเนื้อและเอ็น, หลอดเลือด, และเสนประสาท เปนตน สาเหตุ

การบาดเจ็บของรยางคลางในแตละสวนของกายวิภาคนัน้มีความแตกตางกนัทัง้ในแงกลไกการบาดเจ็บ,

การบาดเจ็บรวม, การดูแลรักษา, ภาวะแทรกซอน, และพยากรณโรคในอนาคต

การบาดเจ็บบริเวณขอเขาและหนาแขงเปนการบาดเจ็บที่พบบอย สามารถเกิดไดจากการบาดเจบ็

ที่ไมรุนแรง เชนการบาดเจ็บทางกฬีา หรือการหกลม หรืออาจเกิดจากอุบัติเหตุอ่ืนเชน อุบัติเหตุทางจราจร

หรือตกจากทีสู่ง เปนตน จุดประสงคของเอกสารประกอบการสอนนี้เพือ่ใหนักศกึษามีความรูและเขาใจใน

หลักการวนิิจฉัยและดูแลรักษาเบื้องตน ในผูปวยที่มกีารบาดเจ็บบริเวณนี้โดยเฉพาะการบาดเจบ็รุนแรงที่มี

กระดูกหกัหรือขอเคลื่อน และเพื่อใหนักศกึษามีความเขาใจในข้ันตอนของการรักษาทีจ่ําเปนและสามารถ

วางแผนการรักษาหรือสงตอผูปวยไดอยางถูกตองและมปีระสิทธิภาพ

ขอเขาเคลื่อนและขอเขาหักเคลื่อน (knee dislocations and fracture-dislocations)  ขอเขาของมนษุยทาํหนาที่ในการชวยรับน้าํหนักจากรางกายสวนบนไปสูขาและเทา และใชในการ

เคลื่อนไหว จากการงอเหยยีดเขาขณะเดินหรือวิง่ รวมทั้งมีความสาํคัญในดานการใหความมัน่คงเวลา

เคลื่อนไหวจากเสนเอน็ในขอ และรอบขอเขาอีกดวย โดยทั่วไปการเคลื่อนของขอเขาสามารถเกิดขึ้นไดทั้ง

บริเวณ patellafemoral joint, proximal tibiofibular joint, และ tibiofemoral joint แตการบาดเจบ็สอง

ชนิดนี้แรกนั้นมักเปนการบาดเจ็บที่พบไดนอย, ไมรุนแรง, และอาจสัมพันธกับโรคบางชนิด ในทีน่ีจ้ึงขอ

กลาวเฉพาะ tibiofemoral joint dislocation / fracture-dislocation    

Page 2: (Common Lower Extremity Injury): (Knee Fracture ... · PDF filefracture ก อให เกิด กระดูก, บาดเจ็บ open kn and kne ฉุกเฉินที่

fracture

กอใหเกดิ

กระดูก,

บาดเจ็บ

open kn

and kne

ฉุกเฉินที่

การจาํแ

ไดแก

รูปที่ 1.

ภาวะขอเขาเ

e-dislocation

ดความเสียหา

เสนเอ็นในขอ

รวมทีสํ่าคัญห

nee dislocat

ee instability

จําเปนตองได

แนกประเภทการจําแนกป

1. Position

หลักการ

เคลื่อน โ

พบวา an

สามารถ

postero

irreduci

capsule

Knee disloc

กระดกูตนขา,

เคลื่อน (tibiof

n) เปนภาวะที

ายตอโครงสร

อและนอกขอ

หรือภาวะแท

ion with sep

y, chondroly

ดรับการวินิจฉ

ท ประเภทในภาว

n classificati

รคือ ใชตําแห

โดยแยกเปน 5

nterior knee

แบงเปน 4 ช

lateral โดยพ

ble dislocat

e ทําให medi

cation. A. Po

B. ภาพรังสขี

femoral join

ที่พบไมบอยแ

รางของขอเขา

เขา รวมทั้งห

รกซอนไดบอ

ptic arthritis,

sis with sec

ฉัยที่ถกูตองแ

วะขอเขาเคลื่

ion นิยมใชใน

หนงของกระดู

5 ชนิดคือ an

e dislocation

นิดยอยไดอีก

พบวา postero

tion ไดเนื่องจ

ial collateral

osition class

ของผูปวยทีม่ี

t dislocation

ตมีความสําคั

าไดทุกชนิดอัน

ลอดเลือดแล

อยเชน poplite

common pe

ondary oste

และการรกัษา

อน (tibiofem

นการวินจิฉัยเ

ดูก tibia เปรีย

nterior, poste

เปนแบบที่พ

กคือ anterom

olateral kne

จาก medial f

l ligament เข

sification ดูจา

มี anterior kn

n) หรือขอเขา

คัญมากเพราะ

ันไดแก กระดู

ะเสนประสาท

eal artery di

eroneal nerv

eoarthritis เป

เรงดวน

moral joint di

เบ้ืองตนเพรา

บเทียบกบักร

erior, media

พบบอยทีสุ่ด (

medial, anter

e dislocatio

femoral cond

ขาไปขวางกา

ากตําแหนงข

ee dislocati

หักเคลื่อน (ti

ะเกิดจากการ

ดูก, กระดกูออ

ทที่อยูรอบขอ

sruption wit

ve injury, mu

ปนตน ภาวะนี

islocation) ส

ะชวยในการว

ระดูก femur

l, lateral, แล

(รูปที่ 1) แตสํ

rolateral, po

n เปนแบบที่ม

dyle ทะลุ me

รดึงขอได

องกระดูกแขง

on

ibiofemoral j

รบาดเจ็บทีรุ่น

อนผิวขอ, หม

อเขา จึงทําให

th limb gang

ultiligament

นี้จึงถือวาเปน

สามารถแบงไ

วางแผนดึงขอ

เพื่อบอกทศิท

ละ rotatoray

าหรับ rotato

steromedial

มีโอกาสเปน

edial knee jo

งที่เคลื่อนเทยี

joint

นแรงและ

อนรอง

หพบการ

grene,

injury

นภาวะ

ด 2 แบบ

อเขาที่ได

ทางการ

โดย

ory type

l, และ

oint

ยบกับ

Page 3: (Common Lower Extremity Injury): (Knee Fracture ... · PDF filefracture ก อให เกิด กระดูก, บาดเจ็บ open kn and kne ฉุกเฉินที่

2. Anatomic classification ใชสําหรับการวางแผนการรักษาหลงัจากดึงขอเขาที่แลวเพื่อ

พิจารณาการผาตัด หลกัการคือแบงตามเสนเอ็นที่ฉีกขาดในแตละบริเวณของขอเขา (anterior

and posterior cruciate ligament, medial and lateral collateral ligaments, และ

posterolateral corner structure) รวมทัง้ใชสําหรับ tibiofemoral joint fracture-dislocation

ดวย การจําแนกประเภทแบบนี้มีเนื้อหาซบัซอน

เกินไปจงึขอไมกลาวถึงในทีน่ี ้

การวินิจฉัย ผูปวยที่มีภาวะขอเขาเคลื่อนหรือขอเขาหกัเคลื่อนสามารถมีอาการและอาการแสดงไดหลายแบบ

ข้ึนกับลักษณะการบาดเจ็บ, ระยะเวลาการบาดเจ็บ, การบาดเจ็บรวม, และภาวะแทรกซอนทีเ่กิดขึ้นขณะที่

ผูปวยไดรับการตรวจเชน

Closed simple knee dislocation ผูปวยจะมาดวยอาการปวดบวมเขา, เขาผิดรูป, และเหยยีดงอ

เขาไมได ซึ่งจะตรวจพบลักษณะผิดรูปชัดเจน, การเคลื่อนของขอลดลงจากอาการปวด

Spontaneous reduced knee dislocation ผูปวยอาจมาอาการปวดบวมเขา, มีประวัติไดรับ

บาดเจ็บและอาจสังเกตไดวาเขาผิดรูปแตสามารถเขาที่เองได การตรวจรางกายจะพบวามีเขาบวมโดยที่

อาจจะมนี้ําในขอเขาไมมากนัก แตจะพบ gross ligamentous instability ภาวะนีถ้ือวาเปนภาวะทีว่ินิจฉัย

ไดยากและทาํใหเกิด missed diagnosis ไดบอยเพราะอาการไมชัดเจนแตจําเปนตองรูและตรวจรางกาย

เสมอ นอกจากนี้ในกรณีที่มกีระดูกหกัของขารวมกับขอเขาเคลื่อนแตเขาที่เอง (ipsilateral fracture with

spontaneous reduced knee dislocation) จะวนิิจฉัยไดลําบากเนื่องจากไมสามารถตรวจรางกายได

เพราะผูปวยปวดจากกระดูกหัก โดยจะสามารถวนิิจฉัยไดจากการตรวจในหองผาตัดขณะที ่

ผูปวยไมรูสึกตวัและหลงัจากผาตัดยึดตรึงกระดูกแลว

Knee dislocation / fracture-dislocation with associated neurovascular injury อาจได

ประวัติที่สัมพนัธกนั เชน รูสึกปลายขาซดีลง, มีอาการชาหรือไมรูสึกบริเวณขาและปลายเทา, กลามเนื้อ

เทาออนแรง เปนตน การตรวจรางกายจะพบวาคลําได pulse deficit หรือ pulseless รวมกับมีปลายเทาที่

เย็นและซีดเมือ่เทียบกบัขางปกติ, หรือตรวจพบวา sign of vascular disruption อ่ืน เชน expanding

hematoma บริเวณ popliteal fossa, active pulsative bleeding เปนตน ซึ่งถือวาภาวะนี้เปนภาวะฉุกเฉนิ

ที่ตองรักษาอยางเรงดวน ในกรณีที่คลาํได pulse ปกตต้ัิงแตแรกรับแนะนําใหติดตามตรวจตอเนือ่ง (serial

examination) ที่ 6-8 ชั่วโมง และ 24-48 ชั่วโมงหลงัจากผูปวยเขาโรงพยาบาลอีกดวย นอกจากนีม้ีผู

แนะนาํใหตรวจ ankle-brachial index (ABI) เพื่อชวยในการวินิจฉัยอกีดวย โดยแนะนําวาถา ABI < 0.9

ใหสงสัยวามี significant vascular injury แตจากศึกษาพบวาการตรวจรางกายโดยการคลํา pulse ก็

เพียงพอตอการวินิจฉัยแลว

Page 4: (Common Lower Extremity Injury): (Knee Fracture ... · PDF filefracture ก อให เกิด กระดูก, บาดเจ็บ open kn and kne ฉุกเฉินที่

Knee dislocation / fracture-dislocation with compartment syndrome อาจไดประวัติอาการ

ปวดบวมมากขึ้นเรื่อยๆ แมวาไดรับยาแกปวดอยางเหมาะสมแลว ตรวจพบ tense swelling limb และ

อาการแสดงของ compartment syndrome หรือตรวจไดผลบวกจากการตรวจ intracompartmental

pressure ในกรณีที่ผูปวยไมรูสึกตัวหรือมีการบาดเจบ็ของกระดูกสันหลังและระบบประสาทรวมดวย อาจ

วินิจฉัยภาวะนี้ไดลําบาก เพราะไมไดประวัติหรือไมสามารถตรวจรางกายยนืยนัได โดยจะตรวจพบวามีขา

บวมมากรวมกับมีผลบวกจากการตรวจ intracompartmental pressure เทานั้น

ในกรณีที่มีบาดแผลรอบเขา จําเปนตองตรวจเพื่อวินิจฉัยภาวะ open dislocation หรือ open

fracture-dislocation ดวย ซึ่งโดยทั่วไปบาดแผลในลักษณะมักมีลักษณะจําเพาะที่สังเกตุไดเชน เปนแผล

ขนาดเล็กที่มีเลือดไหลออกตลอดเวลาและมีสีเลือดเปนสีคล้ําไมสัมพนัธกับบาดแผล, อาจมีละอองไขมัน

ปนออกมากดวยในกรณีที่เปน open fracture หรืออาจเหน็ความผิดปกติของภาพรังสีบางอยางเชน air /

air-fluid level in knee joint เปนตน ในกรณีที่ไมแนใจวามีภาวะนีห้รือไมอาจพิจารณาตรวจโดยใช saline

test (จะกลาวในเนื้อหาสวนถัดไป) หรือทาํ wound exploration ในหองผาตัดกรณีทีผู่ปวยจาํเปนตองเขา

รับการผาตัดฉุกเฉินอยูแลว โดยเตรียมผูปวยกอนผาตัดเสมือนมีภาวะ open fracture ดวย

การตรวจทางรังสี นยิมใชทา knee AP และ lateral view ก็เพยีงพอตอการวนิิจฉัยเบื้องตน ใน

กรณีที่มีกระดกูหักรวมดวยเชน tibial plateau fracture อาจสงภาพรังสีทาอืน่ไดหลังจากดึงขอเขาเขาที่

แลว (ขอกลาวในเนื้อหาสวนของ tibial plateau fracture) การตรวจทางรังสีอ่ืนที่อาจใชรวมประเมนิดวย

ไดแก

CT scan ใชประเมินในกรณทีี่มีกระดูกหักรวมดวยเพื่อวางแผนการผาตัด

MRI ใชในกรณีที่สงสัย knee ligamentous injury หรือ meniscus injury โดยมักจะทําหลังจากดงึ

ขอเขาที่แลวเพื่อใชในการวางแผนผาตัดที่ซับซอนตอไป

Angiography ใชในตรวจเพือ่ยืนยนัและหาตําแหนงของ vascular injury (รูปที่ 2) แตไมแนะนําให

สงตรวจทกุรายโดยควรตรวจเฉพาะผูปวยที่มีขอบงชี ้(selective angiography) ไดแก ตรวจรางกายพบ

อาการแสดงของ vascular injury, มีผลตรวจเปนบวกจาก non-invasive method เชน ABI, หรือไมแนใจ

จากการตรวจรางกาย (equivocal finding)  

Page 5: (Common Lower Extremity Injury): (Knee Fracture ... · PDF filefracture ก อให เกิด กระดูก, บาดเจ็บ open kn and kne ฉุกเฉินที่

รูปที่ 2.

         (

การรกัษ

closed r

มาแลว โ

นัก ทาํโด

กลับเขาท

subluxa

surgica

closed o

angiogr

อาจพิจา

รวมดวย

รักษาโด

definitiv

ขอเขา แ

ตัวอยางภาพ

ลูกศร)

ษา การรักษาเบื้อ

reduction un

โดยทัว่ไปการ

ดยดึงขาตามแ

ที ่แตถาดึงขอ

ation) จะถือว

l immobiliza

observation

ในกรณีที่มีภ

raphy และผา

ารณาทํา prop

ในกรณีที่มีภ

ใหพจิารณา

การรกัษาแบโดยทัว่ไปแล

ยการไมผาตดั

ve treatment

และไมมีการผ

พรังสจีากการ

องตนที่สําคัญ

nder anesth

รดึงขอหลังจา

แนว (longitu

อไมเขาหรือดึ

วาเปนภาวะข

ation ดวย join

ในโรงพยาบ

าวะ vascula

าตัด vascula

phylactic fas

าวะ open di

รักษาแบบเรง

บบอนุรักษ วการรักษาแบ

ด และการรัก

เพราะการใช

าตัดเสนเอ็นใ

ตรวจ angiog

ญทีสุ่ดสําหรบั

esia เพื่อลดค

ากผูปวยสลบ

udinal tractio

งขอเขาที่แลว

อหลุดแบบไม

nt-spanning

าลอยางนอย

ar injury ใหป ึ

ar repair อยา

sciotomy รว

islocation, o

งดวนตามขั้น

 บบอนุรักษใน

ษาโดยการผ

ช external fix

ในขอเขา

graphy พบว

บภาวะขอเขา

ความเสีย่งใน

หรือไดยาระงั

on) รวมกบังอ

วเกิดภาวะขอ

มมั่นคง ใหพจิ

g external fix

ย 5-7 วันเนื่อง

ปรึกษาศัลยแพ

างเรงดวน (ค

มดวยเพื่อปอ

open fracture

นตอนการรักษ

นภาวะขอเขา

าตัดแบบที่ใช

xator ในกรณี

วา total occlu

เคลื่อนหรือขอ

นการเกิดภาว

งับปวดอยางเ

อหรือเหยียดเ

อหลุดซ้ําหรือข

จารณาผาตัด

xator หลังจาก

งจากสามารถ

พทยดานหลอ

วรทําภายใน

องกนั compa

e-dislocatio

ษาของภาวะนั้

เคลื่อนหรือข

ช joint-spann

ณนีี้จะทําหนาที

usion ของ po

อเขาหกัเคลือ่

ะแทรกซอนต

เพียงพอแลวส

ขาหรือออกแ

ขอเคลื่อนอีก

เพื่อ open

กดึงขอเขาทีแ่

ถเกิด late art

อดเลือดเพื่อพิ

6-8 ชั่วโมงห

artment synd

n, หรือ comp

นัน้รวมดวย

อเขาแตกเคลื

ning externa

ที่เปนอุปกรณ

opliteal arte

อนคือ emerg

ตางๆ ดังที่กลา

สามารถทาํได

แรงดันเพื่อใหข

(re-dislocat

reduction ห ื

แลวใหพิจารณ

terial thromb

พิจารณาทํา

ลังการบาดเจ็

drome

partment sy

ล่ือนจะรวมทัง้

al fixator เปน

ณเพิ่มความมัน่

ry  

gency

าว

ดไมยาก

ขอเขา

tion or

รือ

ณา

bosis ได

จบ็) โดย

ndrome

งการ

นัคงของ

Page 6: (Common Lower Extremity Injury): (Knee Fracture ... · PDF filefracture ก อให เกิด กระดูก, บาดเจ็บ open kn and kne ฉุกเฉินที่

การรักษาดวยวิธีนีม้ีขอบงชีคื้อ ผูปวยที่มภีาวะวกิฤตที่ไมสามารถทนตอการผาตัดได, มีบาดแผล

สกปรก และ/หรือมีเนื้อเยื่อบาดเจ็บรุนแรงบริเวณทีจ่ะเปนแผลผาตัด, และผูปวยสงูอายุมากที่ไมคอย

เคลื่อนไหวในชีวิตประจําวัน ขอบงชี้ในการใช external fixator คือใชชวยในการผาตดั vascular repair,

ขอเขาเคลื่อนหรือหลุดซ้ําหลังจากดึงขอแลว, และผูปวยอวนที่ไมสามารถรักษาโดยการใสเฝอกหรือกาย

อุปกรณเสริมได

การรักษาโดยการใสเฝอก long leg cast หรือ cylinder cast, หรือใช spanning external fixator

ประมาณ 7-8 สัปดาห และถายภาพรังสีเปนระยะเพื่อดูความมัน่คงของขอเขาระหวางการรักษา เมื่อครบ

กําหนดใหถอดเฝอกหรือ external fixator ออกแลวทาํการดัดเขาและกายภาพบาํบดัใหขอเขาขยับและ

เคลื่อนไหวตอไป   

การรกัษาโดยการผาตัด การรักษาภาวะขอเคลื่อนในที่นี้เปนการรักษาเฉพาะภาวะกระดูกหกัและเสนเอน็ฉีกขาดที่มีขอบงชี้

โดยจะไมรวมถึงการผาตัดเพื่อรักษาภาวะการบาดเจ็บรวมที่กลาวในการรักษาเบื้องตนเชน associated

vascular injury, open fracture-dislocation เปนตน การผาตัดเพื่อรักษาขอเขาเคลือ่นหรือขอเขาหัก

เคลื่อนประกอบดวย

1. Emergency open reduction and stabilization เปนการผาตัดเรงดวนสําหรับกรณีที่ไม

สามารถทํา closed reduction ไดสําเร็จ และโดยสวนใหญมักใช external fixator เปน

อุปกรณยึดตรงึหลงัการผาตดั

2. Early open ligament repair and fracture fixation สําหรับกรณีที่มีภาวะกระดูกหกัใน

บริเวณเขาทีม่ขีอบงชี้ในการผาตัดรวมทัง้ displaced avulsion fracture ที่มีขนาดใหญและ

สามารถยึดตรึงกระดูกเพื่อทาํใหขอเขามัน่คง และสามารถทํากายภาพบําบัดไดเร็วขึ้น

โดยทัว่ไปการผาตัดแบบนี้จะทําในชวง 1-3 อาทิตยหลงัการบาดเจ็บ และเนื้อเยื่อบริเวณที่คาด

วาจะเปนแผลผาตัดยุบบวมหรือฟนสภาพแลว

3. Acute ligament reconstruction หมายถึงการผาตัดเพื่อรักษาภาวะขอเขาไมมั่นคงจากการ

ฉีกขาดของเสนเอ็นขอเขาหลายเสนโดยการสรางเสนเอน็ขอเขาใหมภายใน 4 สัปดาหแรกแทน

เสนเอ็นเดิมทีฉี่กขาดและไมสามารถเย็บซอมไดเพื่อลดระยะเวลาการฟนตัวจากการบาดเจ็บ

เหมาะสําหรับผูปวยที่มีการบาดเจ็บไมรุนแรงนัก

4. Delayed ligament reconstruction หมายถึงการผาตัดสรางเสนเอ็นใหมหลังจากการบาดเจ็บ

ไปแลวอยางนอย 4 สัปดาห เหมาะสําหรับผูปวยที่มีการบาดเจ็บรุนแรงมากที่จาํเปนตองใช

เวลาพักฟนนานอยูแลว, ผูปวยทีม่ีภาวะ poor nutritional state, ผูปวยที่ severe soft tissue

injury ไมเหมาะกับการผาตดัในชวงแรก

Page 7: (Common Lower Extremity Injury): (Knee Fracture ... · PDF filefracture ก อให เกิด กระดูก, บาดเจ็บ open kn and kne ฉุกเฉินที่

ภาวะแทรกซอน 1. ภาวะแทรกซอนระยะแรก ไดแก limb ischemia & gangrene, nerve injury, compartment

syndrome, และ septic arthritis

2. ภาวะแทรกซอนระยะหลัง ไดแก knee stiffness, late knee instability, และ osteoarthritis

กระดูกสะบาหัก (Patellar fractures) กระดูกสะบา (patella) เปน sesamoid bone ที่อยูในโครงสรางดานหนาเขาและทําหนาที่ชวยใน

การเหยียดเขา นอกจากนี้จะพบวาเนื้อเยื่อดานหนา, ดานใน, และดานนอกของกระดูกสะบา (dorsal,

medial, and lateral retinaculum) จะเปนเนื้อเยื่อที่ตอกนัระหวาง quadriceps tendon และ patellar

ligament ซึ่งทาํหนาที่ชวยในการเหยียดเขาดวยกลไกการเกิดกระดูกสะบาหกัสามารถเกิดไดทั้งการรับแรง

กระแทกโดยตรง (direct trauma) และการบาดเจ็บทางออม (indirect injury) จากการดึงของ quadriceps

tendon อยางรุนแรงจนเกิด avulsion fracture โดยพบวาการบาดเจ็บ โดยตรงนั้นอาจเกิดรวมกับการฉีก

ขาดของเนื้อเยื่อออนที่ชวยในการเหยยีดเขาดวยหรือไมก็ได แตการบาดเจ็บทางออมนั้น มักเกิดรวมการ

ฉีกขาดของเนือ้เยื่อออนเหลานี้เสมอเพราะถูกแรงดึงกระชากจนฉีกขาดพรอมกับการหักของกระดกูสะบา

(fail in tension)

การวินิจฉัย ผูปวยที่มีกระดูกสะบาหักมกัจะมาดวยอาการปวดบวมขอเขาหลังไดรับบาดเจ็บ รวมกับอาจไม

สามารถเหยยีดเขาเองไดหรือปวดมากเวลาเหยียดเขา การตรวจรางกายจะพบวามีเขาบวม, มีน้าํในขอเขา,

คลําได crepitation และใหผูปวยงอเหยียดเขาเอง (active knee extension) เพื่อประเมินการฉีกขาดของ

extensor mechanism ที่กลาวมาแลวดวย ในกรณีที่ผูปวยที่มีกระดกูสะบาหักแตไมเคลื่อนหรือเคลื่อน

เล็กนอยแตปวดมากจากการที่มีกระดูกหกัและเลือดออกในขอจนไมสามารถงอเหยยีดได อาจทําการตรวจ

โดยการดูดเลอืดในขอออกกอนและฉีดยาชาเขาในขอเพื่อลดอาการปวดแลวตรวจการงอเหยยีดอีกครั้ง

นอกจากนี้ในกรณีที่มีบาดแผลเปดรวมดวย ยงัจําเปนตองตรวจเพื่อวนิิจฉัยวาเปนภาวะ open fracture

ดวยเพราะเปนภาวะฉุกเฉนิที่ตองรักษาดวยการผาตัด สามารถตรวจโดยใช “saline test” ซึ่งทาํไดโดยใช

เข็มฉีดยาทีม่ีเข็มขนาดใหญพอควรเชน 18-gauge needle เจาะดูดเลอืดในขอแลวตามดวยการฉีด

physiologic saline เขาในขอ 50 ml ถามนี้ําไหลออกจากแผลแสดงวาเปนผลบวกคือเปนแผลเปดเขาขอ

จริง แตการตรวจนี้อาจใหผลลบลวง(false negative) ไดในกรณีที่แผลเปดมีขนาดเลก็

Page 8: (Common Lower Extremity Injury): (Knee Fracture ... · PDF filefracture ก อให เกิด กระดูก, บาดเจ็บ open kn and kne ฉุกเฉินที่

การตรวจทางรังสี นยิมตรวจโดยใชทา knee PA และ lateral view เปนหลกั การใชทา PA

เนื่องจากสะบาจะอยูชิดแผนฟลมทาํใหเห็นรอยหักชัดเจนขึ้น นอกจากนี้ยงัสามารถใช tangential view ใน

กรณีที่สงสยั vertical fracture หรือ osteochondral fragment แตควรใชทาที่ไมงอเขามากเชน Merchant

view (งอเขาประมาณ 40-45 องศา) เพื่อปองกนัการหกัเคลื่อนของกระดูกสะบามากขึ้น การตรวจโดยใช

MRI จะชวยในกรณีที่ตองการประเมินเนือ้เยื่อออนทีบ่าดเจบ็เชน การฉีกขาดของ retinaculum หรือสงสัย

occult osteochondral injury หรือเพื่อแยกโรคบางชนิดเชน bipartite patella  

การจาํแนกประเภท นิยมแบงเปน 2 กลุมหลกัคือ nondisplaced fracture และ displaced fracture แลวแบงยอยใน

แตละกลุมโดยใชลักษณะของรอยหักที่เหน็จากภาพรงัส ี(รูปที่ 3) โดยพบวา displaced transverse

fracture เปนแบบที่พบบอยที่สุด และเกดิไดจากทั้ง direct และ indirect mechanism สวน vertical และ

comminuted fracture มักเกิดจาก direct injury ที่บริเวณดานหนาของเขา นอกจากนี้ยงัพบวา vertical

fracture มักจะไมสัมพนัธกบัการฉีกขาดของ retinaculum อีกดวย

รูปที่ 3. Patella fracture descriptive classification.  

การรกัษา การรักษาเบื้องตนสามารถทาํไดโดยการทาํ immobilization in knee extension or slight flexion

เชน cylinder slab รวมกับการประคบเย็นและใหยาแกปวด หลกัการรักษากระดูกสะบาหกัคือ ใหกระดูก

ติดกันและไดผิวขอที่เรียบ ในกรณีที่เปน open fracture หรือ open joint injury ควรทําการผาตัดลางขอ

แบบฉุกเฉินเพือ่ปองกันการติดเชื้อในอนาคต แตถาเปน closed fracture with severe soft tissue injury

แตมีขอบงชี้ในการผาตัดสามารถรอการผาตัดไปกอนไดอยางนอย 1-3 สัปดาหเพื่อปองกันภาวะแทรกซอน

Page 9: (Common Lower Extremity Injury): (Knee Fracture ... · PDF filefracture ก อให เกิด กระดูก, บาดเจ็บ open kn and kne ฉุกเฉินที่

incongr

knee ex

รูปที่ 4.

f  

การรกัษาแบมีขอบงชี้คือ

ruity (<1-2 ม

xtension ประ 

การรกัษาโดขอบงชี้คือ

1. Displac

2. Displac

มม.

3. มีชิ้นกระ4. มีกระดูก

surgery

โดยทัว่ไปกา

1. Open re

ทําไดในก

สะบาหกั

osteoch

materia

ภาพแสดงกา

fracture

บบอนุรักษ closed fract

มม.), และม ีin

ะมาณ 6 สัปด

ดยการผาตัด

ed intra-arti

ed fracture

ะดูกแตกหลุด

กหกัรอบขอเข

y)

รผาตัดสามา

eduction an

กระดกู

กสวนใหญแล

hodral fragm

l รวมกับการท

ารทาํ interna

ture รวมกับมี

ntact extens

ดาห รวมกับก

cular fractu

ที่มีผิวขอเคล่ื

ลอยในขอ (lo

ขาขางเดยีวกนั

รถทําได 3 วธิี

d internal fix

ละไดผลการรัก

ment ได สามา

ทํา tension b

al fixation แบ

ม ีminimal di

or mechanis

การทํา isome

re ที่มีการสูญ

ล่ือนหรือเหลือ่

oose intra-a

นทีจ่ําเปนตอง

ธไีดแก

ixation of pa

ักษาดีและสา

ารถใชอุปกรณ

band fixation

บบตางๆ สําห

splacement

sm รักษาโดย

etric quadric

ญเสียการทําง

อม (intra-arti

rticular oste

งผาตัด (frac

atella เปนวิธทีี

ามารถทาํรวม

ณไดหลายชนิ

n (รูปที่ 4)

หรับ A. transv

t (<1-2 มม.)

ยใสเฝอก cyli

ceps exercis

งานของ exte

cular gap o

ochondral f

cture around

ทีน่ิยมมากทีส่

มกับการ exci

นดิเชน wire, s

verse fractu

, minimal ar

inder cast ใน

se  

nsor mecha

r step-off) เกิ

fragment)

d the knee re

สุดเนื่องจากส

sion of

screw, หรือ

re, B. comm

rticular

นทา

anism

กิน 2

equiring

สามารถ

suture

minuted

Page 10: (Common Lower Extremity Injury): (Knee Fracture ... · PDF filefracture ก อให เกิด กระดูก, บาดเจ็บ open kn and kne ฉุกเฉินที่

2. Partial patellectomy and patellar ligament reattachment อาจทาํในกรณี severe

comminuted lower pole of patella ที่มีขนาดเล็กเทานัน้ เพราะการนาํกระดูกออกมาก

เกินไปทาํใหเกดิภาวะแทรกซอนได

3. Total patellectomy ไมนิยมทําเปน primary treatment เนื่องจากผลการรักษาไมดีนัก  

ภาวะแทรกซอน ภาวะแทรกซอนทีพ่บบอยไดแก ขอเขาติด และการระคายเคืองจากอุปกรณยึดตรึงกระดูก สวนที่

พบไมบอยไดแก การติดเชื้อ, อุปกรณยึดตรึงหลวมหรือพงั, ขอเสื่อม, หรือกระดูกติดชาหรือไมติดได

Tibial plateau fractures Tibial plateau คือกระดูกแขงสวนบนใตขอเขา เปนสวนหนึง่ของขอเขาและมีโครงสรางสําคัญของ

เขาหลายชนิดอยูในบริเวณนี ้ไดแก ผิวขอ, หมอนรองกระดูก, เสนเอน็ทีอ่ยูในขอและนอกขอเขา ดังนั้น

กระดูก tibial plateau จึงมีความสาํคัญทัง้ในดานการรับน้ําหนกั, การเคลื่อนไหวของขอเขา, และเกี่ยวของ

กับกับความมัน่คงของขอเขา กลไกการบาดเจ็บของ tibial plateau fracture สามารถเกิดไดจาก indirect

injury เชน เกดิจากการหกลมแบบไมรุนแรงในผูปวยสูงอายุทีม่ีกระดูกบางหรือกระดกูพรุน ซึ่งมักจะรักษา

ไดงายและใหผลการรักษาทีดี่ หรือเกิดจาก direct trauma ในผูปวยอายุนอยซึ่งมักจะเปนการบาดเจ็บ

รุนแรงที่ม ีunstable fracture pattern, มีการบาดเจ็บรวมเชน knee ligamentous injury, meniscus

injury, หรือ severe soft tissue injury หรือมีภาวะแทรกซอนเชน skin necrosis, หรือ compartment

syndrome ทําใหรักษายากกวาและมักใหผลการรักษาทีไ่มดี

การวินิจฉัย ผูปวยที่ม ีtibial plateau fracture มักจะมาดวยอาการปวดบวมขอเขา หรือเขาผิดรูปหลังได

บาดเจ็บ รวมกับไมสามารถลงน้าํหนักได การตรวจรางกายจะพบวามีเขาบวมและ/หรือ abnormal knee

alignment, มนี้ําในขอเขา, กดเจ็บบริเวณกระดูกทีห่ัก, และขยับขอไดลดลงเนื่องจากปวด การตรวจ

specific test for ligament เชน varus / valgus stress test หรือ McMurray test ยังไมจําเปนตองทาํใน

ชวงแรกเนื่องจากอาจทาํใหกระดูกหกัเคลือ่นมากขึ้น (โดยทั่วไปจะตรวจในกรณทีี่ประเมินภาพรังสีแลวเปน

stable fracture pattern ที่สามารถรักษาแบบอนุรักษได หรือทาํในหองผาตัดหลงัจากยึดตรึงกระดูกได

มั่นคงแลว) นอกจากนี้ควรตรวจระบบประสาทและหลอดเลือด, ตรวจบาดแผลและประเมินความรุนแรง

ของ soft tissue injury รวมทั้งตรวจอาการแสดงของ compartment syndrome ดวย

Page 11: (Common Lower Extremity Injury): (Knee Fracture ... · PDF filefracture ก อให เกิด กระดูก, บาดเจ็บ open kn and kne ฉุกเฉินที่

รอยกระด

postero

(ใชเพื่อดู

กระดูกหั

shaft อา

จําเปนต

วาม ีliga

MRI ดวย

การจาํแ

ประเภท

รูปที่ 5.

depress

plateau)

lateral ti 

การรกัษ

energy

บาดเจ็บ

immobil

การตรวจทาง

ดูกหกัไมชัดเจ

lateral part)

ดูลักษณะกระ

หกัซอนกนัทาํใ

าจใช tibia AP

องผาตัดนิยม

amentous di

แนกประเภทการจําแนกป

ตามวธิีของ S

Schatzker c

sion fracture

), Type IV; f

ibial plateau

ษา ในกรณีที่เปน

injury ที่สาม

รุนแรงที่มเีนือ้

lization ดวย

งรังสี นยิมตร

จนอาจใช ob

, tunnel view

ะดูกหกัในกรณ

ใหประเมินทา

P และ latera

มใช CT scan

sruption หรือ

ท ประเภทของ ti

Schatzker cl

classification

e (lateral tibi

racture of m

u), Type VI;

นการบาดเจ็บ

ารถรักษาแบ

อเยื่อฟกช้ํามา

long leg sla

รวจโดยใชทา

blique view (

w (ใชประเมิน

ณีที่ม ีcommi

างรังสีไดไมชั

l view รวมด

n เพื่อประเมนิ

อ meniscal t

ibial plateau

assification

n. Type I; sp

al plateau),

medial tibial p

bicondylar f

บทีไ่มรุนแรง,

บอนุรักษได ใ

ากหรือเปน h

ab กอนและพิ

knee AP แล

(ชวยดูกระดกู

น intra-articu

nuted fractu

ัดเจน) และใน

วย สวนกรณี

นและวางแผน

tear ที่ตองปร

u fracture นัน้

ดังรูปที่ 5

plit fracture (

Type III; pu

plateau, Typ

fracture ที่ม ี

เนื้อเยื่อรอบห

ใหพิจารณารั

high-energy

พิจารณาการรั

ละ lateral vie

กหักบริเวณ p

ular step-off

ure with frac

นกรณีที่รอยหั

ณที่เปน intra-a

นการผาตดัรว

ระเมนิเพื่อวา

นมีหลายแบบ

(lateral tibial

ure depressi

pe V; bicond

diaphyseal

หนาแขงไมบว

รักษาเบื้องตน

injury แนะนํ

รักษาตามขอ

ew เปนหลกั

posteromedi

หรือ gap), ห

cture depres

หกัของกระดกู

articular frac

วมดวย นอกจ

งแผนกอนผา

บแตโดยทั่วไป

l plateau), T

on fracture

dylar fractur

extension.

วมมาก, และเ

นดวยการใสเฝ

นาใหรักษาเบื้อ

บงชี้ตอไป

แตในกรณีทีม่

al และ

หรือ traction

ssion ที่มีรอย

กเขาไปบริเวณ

cture ที่ซับซอ

จากนี้ในผูปวย

าตัดใหพิจารณ

ปนิยมใชการจํ

Type II; split

(lateral tibia

e (medial แล

เปน stable,

ฝอกได แตถา

องตนดวยกา

มองเห็น

view

ณ tibial

อนและ

ยที่สงสัย

ณาสง

จาํแนก

al

ละ

low-

าเปนการ

Page 12: (Common Lower Extremity Injury): (Knee Fracture ... · PDF filefracture ก อให เกิด กระดูก, บาดเจ็บ open kn and kne ฉุกเฉินที่

(pattern

articular

tissue in

รางกายแ

จําเปนจ

จากแรงก

วิธีการรกั

จากการยึ

กายภาพ

บงชี้และ

ผูปวยทีม่ี

displace

มากกวา

แลวใหเป

รวมกับห

กระดูกหั

รูปที่ 6.

   

การรกัษาแบโดยทัว่ไปกา

n and locatio

r depression

njuries), แนว

และความคา

ะตองทําดวย

กดที่ขอเขาได

กษาทีไ่ดรับคว

ยึดตรึงกระดกู

พบําบดัไดงาย

ะเหมาะสําหรับ

มี poor skin c

ement และ a

า 10 องศาเมื่อ

ปล่ียนเปนอปุ

หามลงน้าํหนกั

หกั

อุปกรณพยุง

บบอนุรักษ รรักษาดวยวธิี

on of fracture

n), การบาดเจ

วของขอเขาแล

ดหวงัของผูป

ความระมัดร

ดรับและทําให

วามนิยมมาก

กไดทาํใหไมจํ

ยและรวดเร็วก

ับผูปวยบางก

condition, แ

articular dep

อเทียบกับขาง

ปกรณพยุง hin

กอยางนอย 8

เขา A. hinge

ธอีนุรักษนั้นข้ึ

e), ขนาดและ

จ็บรวมของเส

ละความมั่นค

ปวย (patient’

ระวังและตรวจ

หเกิดเขาผิดรูป

กกวาในปจจบุ

จาํเปนตองใส

กวาการรักษา

กลุมไดแก ผูป

และผูปวยอายุ

pression ไมเ

งปกติ การรัก

nge knee ca

8-12 สัปดาห

e knee cast,

ข้ึนกบัหลายป

ะปริมาณของ

สนเอน็และเนื้

คงของขอเขา

s health and

จติดตามอยา

ปและไมมั่นค

บันเพราะสาม

สเฝอกหรือใสเ

าแบบอนรัุกษ

ปวยสูงอายุทีม่ี

ยุนอยทีม่ีการบ

เกิน 5-10 มม

กษาทําโดยกา

ast หรือ hing

รวมกับตรวจ

, B. hinge kn

ปจจัยไดแก ลัก

งการทรุดตวัข

นอ้เยื่อรอบเขา

(knee alignm

d expectatio

างตอเนื่อง เพ

คงตามมาได ด

มารถทําใหกร

เฝอกในชวงแ

ษ อยางไรกต็า

มีโรคประจาํตั

บาดเจ็บแบบ

ม. รวมกับไมมี

ารใสเฝอกในร

ge knee brac

จภาพรังสเีปน

nee brace.

ักษณะและตํ

ของผิวขอ (siz

า (associate

ment and st

on) แตการรัก

พราะกระดูกหั

ดังนัน้จงึพบว

ระดูกหกัเขาที่

แรก รวมทัง้สา

ามการรักษาแ

ตัวมากไมเหม

บ Schatzker

มีภาวะ knee

ระยะแรก เมือ่

ce (รูปที่ 6) เพ

นระยะเพื่อดูก

าแหนงของก

ze and degr

d ligament a

tability), และ

กษาดวยวธิีนีน้

หกัอาจเคลื่อน

าการผาตัดเป

ทีแ่ละมีความม

ามารถทํา

แบบอนุรักษก็

าะกับการผา

type I-III ทีม่ี

malalignme

อเนื้อเยื่อยบุบ

พื่อใหเร่ิมขยบั

การเคลื่อนขอ

ระดูกหกั

ree of

and soft

ะสภาพ

นั้น

นมากขึ้น

ปน

มั่นคง

กย็ังมีขอ

ตัด,

มี

ent

บวมดี

บขอเขา

Page 13: (Common Lower Extremity Injury): (Knee Fracture ... · PDF filefracture ก อให เกิด กระดูก, บาดเจ็บ open kn and kne ฉุกเฉินที่

displace

มากกวา

compar

รูปที่ 7.

การรกัษาโดมีขอบงชี้คือเ

ement หรือ d

า 10 องศามา

rtment syndr

โดยทัว่ไปกา

1. Externa

a.

b.

2. Percuta

lateral p

การยึดต

brace ร

3. Plate an

plateau

screw fi

Internal fixa

fixation

ดยการผาตัดเปน displace

depression

กกวาขางปก

rome, หรือ o

รผาตัดสามา

l fixation สา

Temporary

ขอเขาโดยใส

severe soft

ผาตัดได

Definitive ex

fixator ซึ่งเป

กระดูกหกัรอ

ไมสามารถผ

aneous scre

plateau ที่ไมมี

ตรึงดวย screw

วมดวย

nd screw fix

fracture ไดท

ixation เพียง

ation สําหรับ

ด ed unstable

มากกวา 10

กติ, มี associ

open fracture

รถทําได 3 วิธี

มารถทาํได 2

external fixa

ส pin บริเวณก

tissue injury

xternal fixat

นอุปกรณที่อ

อบขอที่มีขนา

าตัดใส inter

w fixation เห

มี depressio

w เพียงอยาง

xation เปนวิธี

ทุกแบบและส

อยางเดียว

tibial platea

tibial platea

มม., Schatz

ated injuries

e

ธไีดแก

2 แบบคือ

ation โดยใชเ

กระดูก femu

y เพื่อ immob

tion โดยใชเป

อกแบบใหสา

ดเล็กได เหมา

nal fixation ไ

หมาะสาํหรับ

on หรือมีเพียง

งเดียว ดังนัน้ห

ธทีีน่ิยมมากที่

สามารถทําให

au fracture. A

au fracture ไ

zker type IV-

s ที่จําเปนตอ

เปน spannin

ur และ tibia เ

bilization แล

ปน hybrid ex

ามารถยึดตรึง

าะสําหรับกรณ

ได

simple split

งเล็กนอยเทา

หลังผาตดัจํา

สุดเพราะสาม

หเกิดความมัน่

A. screw fixa

ไดแก Schatz

-VI, มี knee m

องผาตัด เชน v

ng external f

เหมาะสําหรบั

ะรอใหมีการฟ

xternal fixato

งกระดกูภายน

ณีทีม่ี severe

t fracture ดา

นั้นเพราะจะไ

เปนตองใส h

มารถใชกับ d

นคงไดมากกว

ation, B. pla

zker type I-II

malalignmen

vascular inju

fixator ยึดตรึง

บใชในกรณีทีม่

ฟนตัวจนสาม

or หรือ ring e

นอกบริเวณใก

e soft tissue

าน medial หรื

ไดความแข็งแ

inge knee c

displaced tib

วาการยึดตรงึ

ate and scre

I ที่ม ี

nt

ury,

งครอม

มี

มารถ

external

กลขอที่มี

injury ที่

รือ

แรงของ

cast หรือ

bial

งดวย

ew

Page 14: (Common Lower Extremity Injury): (Knee Fracture ... · PDF filefracture ก อให เกิด กระดูก, บาดเจ็บ open kn and kne ฉุกเฉินที่

ภาวะแทรกซอน ภาวะแทรกซอนทีพ่บบอยไดแก loss of reduction, แผลแยกหรือติดเชือ้, ขอเขาติดเชื้อจาก

external fixation, ขอเขายึดติด, การระคายเคืองจากอุปกรณยึดตรึงกระดูก, nonunion, malunion, และ

posttraumatic osteoarthritis   

Tibia and fibula fractures กระดูกแขงเปน long bone ของรยางคลางเชนเดียวกับกระดูกตนขา (femur) ซึ่งทําหนาที่ในการ

รับน้ําหนักเวลาเคลื่อนไหว รวมกับเปนโครงสรางตามแนวยาวของลาํตัวที่มีผลตอความยาวของขาและ

ความสงูของรางกาย ภาวะกระดูกแขงหกัเปนภาวะกระดูกหักที่พบบอยที่สุดของ long bone fracture ใน

รางกาย และมีความสาํคัญมาก เนื่องจากพบการบาดเจ็บรวมหรือภาวะแทรกซอนรวมไดบอย กลไกการ

เกิดกระดูกแขงหกัสามารถเกิดไดทั้ง direct injury เชน อุบัติเหตุรถชนซึ่งมักทําใหเกดิกระดูกหักแบบ

comminution และ indirect injury เชน ลมขาบิด (twist injury) ซึ่งมักทําใหเกิดกระดูกหักแบบ oblique

หรือ spiral สาเหตุของการบาดเจ็บรวมทีพ่บไดบอยเนือ่งจากดาน anteromedial surface ของกระดูกแขง

เปน บริเวณทีอ่ยูใตชั้นผิวหนังทําใหเกิด open fracture ไดงาย รวมกบัเปนบริเวณที่มีกลามเนื้อเปนจํานวน

มากอยูในแตละชองปด (compartment) ของขาทาํใหเกิด acute compartment syndrome ไดงาย รวมทัง้

เปนบริเวณทีม่ีขนาดเล็กเมือ่เทียบกบัตนขาหรือลําตัวทาํใหเกิดการบาดเจ็บไดรุนแรงจากอุบัติเหตุได

มากกวาโดยอาจเกิดการบาดเจ็บรุนแรงในลักษณะ mangled extremity (ภาวะการบาดเจ็บอยางรุนแรง

ของรยางคที่มกีารบาดเจ็บรวมอยางนอย 3 ใน 4 ระบบไดแก soft tissue, nerve, blood supply และ

bone) ซึ่งทาํใหผูปวยมีโอกาสเสียขาหรือหรือเสียชีวิตจากภาวะแทรกซอนจาก mangled extremity

syndrome ได

การวินิจฉัย ผูปวยที่มีกระดูกแขงหักอาจมีอาการและอาการแสดงแตกตางกันไปตามความรนุแรงของอุบัติเหตุ

เชน ในการบาดเจ็บไมรุนแรง ผูปวยอาจมาดวยอาการปวดบวมบริเวณแขง และไมสามารถลงน้าํหนกัได

แตในการบาดเจ็บรุนแรง ผูปวยอาจมาดวย open fracture รวมกับ severe soft tissue injury และ

associated neurovascular injury (mangled extremity) ดังนัน้การวนิจิฉัยของภาวะกระดูกแขงหกัจึง

จําเปนตองตรวจระบบประสาทและหลอดเลือดเพื่อหาการบาดเจ็บรวม, ตรวจบาดเแผลเพื่อวนิิจฉัยภาวะ

open fracture, และตรวจหาอาการแสดงหรือวัด intra-compartmental pressure เพื่อวนิิจฉัยภาวะ

compartment syndrome สําหรับการตรวจทางรงัสีใชทา (tibia AP และ lateral)

Page 15: (Common Lower Extremity Injury): (Knee Fracture ... · PDF filefracture ก อให เกิด กระดูก, บาดเจ็บ open kn and kne ฉุกเฉินที่

การจาํแนกประเภท โดยทัว่ไปสามารถแบงตามตาํแหนงกระดกูที่หกั (proximal, middle, distal), ลักษณะแนว

กระดูกหกั (transverse, oblique, spiral) และ fracture comminution (wedge, butterfly, comminuted,

bone loss) นิยมใช AO/Orthopaedic Trauma Association (OTA) classification

ในกรณี open fracture จะนยิมใช Gustilo and Anderson classification แตถาเปน closed

fracture จะตองทาํการประเมิน associated soft tissue injury โดยใช Oestern and Tscherne

classification

Grade 0 minimal soft tissue swelling, and simple fracture pattern

Grade 1 superficial abrasion or contusion, and mild fracture pattern

Grade 2 deep abrasion with skin or muscle contusion, and severe fracture pattern

Grade 3 extensive skin contusion or crush injury, severe damage to underlying

muscle, subcutaneous avulsion, or compartment syndrome

การรกัษา การรักษาเบื้องตนทําไดโดยการทาํ immobilization ดวย long leg slab รวมกับใหยาแกปวด ใน

กรณีที่เปน closed fracture ที่มีขอบงชี้ในการรักษาแบบอนุรักษสามารถทาํการจัดเรียงกระดูกและใส long

leg cast ในทา 20-30 knee flexion แตในกรณีที่เปน open fracture ใหพิจารณาเปนภาวะฉุกเฉนิและ

รักษาตามแนวทางการรักษา open fracture การดูแลบาดแผลเบื้องตนแนะนําใหลางแผลใหสะอาดและ

พันแผลดวย compressive dressing เพื่อหามเลือดรอการผาตัด

การรกัษาเชิงอนุรักษ มีขอบงชี้คือ stable, low-energy closed fracture ที่สามารถจัดกระดกูใหม ีvarus / valgus

angulation ไมเกิน 5 องศา, anterior / posterior angulation ไมเกนิ 10 องศา, ไมมี internal rotation และ

external rotation ไมเกิน 5 องศา, ม ีfracture apposition มากกวารอยละ 50, fracture shortening ไม

เกิน 1 cm และ ไมมี fracture distraction รักษาโดยการจัดกระดูกและใสเฝอก long leg cast ในทางอเขา

เล็กนอยและไมอนุญาติใหลงน้าํหนักในชวง 4-6 สัปดาหแรก ในกรณีทีติ่ดตามการรักษาแลวมกีารกระดูก

เคลื่อนมากขึ้นกวาเกณฑที่ยอมรับไดใหพิจารณา cast reapplication หรือ open wedging cast เมื่อเร่ิมมี

soft callus formation แลวใหเปลี่ยนเปน patellar tendon weight bearing cast และอนุญาติให partial

weight bearing ไดตออีก 6-8 สัปดาห โดยรวมใชเวลาประมาณ 3-4 เดือนในการรักษา

Page 16: (Common Lower Extremity Injury): (Knee Fracture ... · PDF filefracture ก อให เกิด กระดูก, บาดเจ็บ open kn and kne ฉุกเฉินที่

conserv

(floating

trauma

รูปที่ 8.

          f

การรกัษาดวขอบงชี้ในกา

vative treatm

g knee injury

โดยวธิีการผา

1. Externa

ทนการผ

จําเปนผ

หรือสภา

กระดูก (

2. Plate an

involvem

เนื่องจาก

ทําใหเกิด

เทคนิคก

เล็กกวาร

รอบบริเว

3. Intrame

เนื่องจาก

และมีโอ

Internal fixa

fixation สําห

วยวิธีผาตัด รผาตัดเพื่อรัก

ment, open f

y), associate

าตัดสามารถท

l fixation ขอ

ผาตัดเปนเวลา

าตัดลางกระ

าวะเนือ้เยื่อพร

(Bone length

nd screw fix

ment, หรือ o

กการผาตัดแบ

ด wound co

การผาตัดเปน

รวมกบัพยาย

วณกระดูกหัก

edullary nail

กมีอัตราการติ

กาสการเกิด

ation สําหรับ

หรับ tibial sha

กษา acute t

racture, uns

ed major neu

ทาํได 3 วิธีได

บงชี้คือผูปวย

านานได (da

ดูกหลายครั้ง

รอมสําหรับก

hening หรือ

xation เหมาะ

pen fracture

บบ open red

mplication ไ

น minimally in

ยามไมเปดแผ

ก ซึง่จะทําใหมี

ถือวาเปน sta

ติดของกระดูก

wound com

tibia fractur

aft fracture.

ibia fracture

stable fractu

urovascular

ดแก

ยมกีารบาดเจ็

mage contr

หรือใชเปน t

ารผาตัดยึดต

distraction o

ะกับ fracture

e ที่จําเปนตอ

duction and

ไดงายจงึทาํให

nvasive plat

ลในบริเวณที

มี wound co

andard trea

กสูง, มีโอกาส

mplication นอ

re. A. plate f

e คือ failed c

re pattern, i

r injury requi

จบ็รุนแรงหรือ

ol surgery) ห

temporary fi

ตรึงกระดูกภา

osteogenes

ที่ม ีintra-art

งผาตัดลางบ

plate fixatio

หวิธนีี้ไมเปนที

te osteosynt

ที่กระดกูหกัเพื

omplication ล

tment สําหรับ

สกระดูกติดผิ

อยกวา plate

fixation สําหร

closed reduc

psilateral fe

ired surgery

อบาดเจ็บหลา

หรือใน seve

xation เพื่อรอ

ายใน หรือใชสํ

is) ในผูปวยที

ticular หรือ p

บริเวณกระดูก

on จําเปนตอ

ทีน่ิยม ในปจ

thesis (MIPO

พื่อรักษา biolo

ลดลงและไดผ

ับ displaced

ดรูปนอยกวา

fixation

รับ distal tib

ction, failed

emur fracture

y, และ multip

ายระบบที่ไมส

re open frac

อใหรางกายผู

สําหรับการผา

ที่มีปญหา bo

periarticular

กหักอยูแลว แ

งเปดแผลขน

จุบันไดมีการ

O) โดยเปดแผ

ogic environ

ผลการรักษาที

d tibial shaft

า external fix

ia fracture, B

e

ple

สามารถ

cture ที่

ผูปวย

าตัดยึด

one loss

r

แต

าดใหญ

รพัฒนา

ผลขนาด

nment

ที่ดีข้ึน

fracture

xation

B. nail  

Page 17: (Common Lower Extremity Injury): (Knee Fracture ... · PDF filefracture ก อให เกิด กระดูก, บาดเจ็บ open kn and kne ฉุกเฉินที่

ภาวะแทรกซอน 1. ภาวะแทรกซอนระยะแรก ไดแก skin necrosis, fat embolism, compartment syndrome,

infection, distal limb ischemia

2. ภาวะแทรกซอนระยะหลัง ไดแก malunion, nonunion, implant failure, ischemic

contracture                                   

Page 18: (Common Lower Extremity Injury): (Knee Fracture ... · PDF filefracture ก อให เกิด กระดูก, บาดเจ็บ open kn and kne ฉุกเฉินที่

Reference: 1. สรศักดิ์ ศุภผล. กระดูกหักและขอเคลื่อนทีข่อเขาและแขง (Fracture and Dislocation of the Knee

and Fracture Tibia). ใน: วิวัฒน วจนะวศิิษฐ, ภัทรวัณย วรธนารัตน, ชูศักดิ์ กิจคุณาเสถียร, สุกิจ

เลาหเจริญสมบัติ, สรศักดิ์ ศุภผล. บรรณาธิการ. ออรโธปดิกส ฉบับเรียบเรียงใหม คร้ังที่ 3.

กรุงเทพมหานคร: บริษัท โอลิสติก พับลิชชิ่ง จาํกัด, 2550 : 181-98

2. Whittle AP. Fractures of the lower extremity. In: Canale ST, Beaty JH, editors. Campbell's

operative orthopaedics. 11th ed. Philadelphia: Mosby; 2008. p. 3085-256.

3. Bedi A, Karunakar MA. Patella fractures and extensor mechanism injuries. In: Bucholz RW,

Heckman JD, Court-Brown CM, Tornetta P, editors. Rockwood And Green's Fractures In

Adults. 7th ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2010. p. 1752-79.

4. Marsh JL. Tibial plateau fractures. In: Bucholz RW, Heckman JD, Court-Brown CM, Tornetta

P, editors. Rockwood And Green's Fractures In Adults. 7th ed. Philadelphia: Lippincott

Williams & Wilkins; 2010. p. 1780-831.

5. Stannard JP, Schenck Jr RC, Fanelli GC. Knee dislocations and fracture-dislocations. In:

Bucholz RW, Heckman JD, Court-Brown CM, Tornetta P, editors. Rockwood And Green's

Fractures In Adults. 7th ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2010. p. 1832-66.

6. Petrisor BA, Bhandari M, Schemitsch E. Tibia and fibula fractures. In: Bucholz RW,

Heckman JD, Court-Brown CM, Tornetta III P, editors. Rockwood And Green's Fractures In

Adults. 7th ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2010. p. 1868-927.

7. Ellis TJ. Fractures about the knee. In: Fischgrund JS, editor. Orthopaedic knowledge update

9. Rosemont: American Academy of Orthopaedic Surgeons; 2008. p. 439-44.

8. Crawford D. Soft-tissue injuries about the knee. In: Fischgrund JS, editor. Orthopaedic

knowledge update 9. Rosemont: American Academy of Orthopaedic Surgeons; 2008. p.

445-56.

9. Gorczyca JT. Tibial fractures. In: Fischgrund JS, editor. Orthopaedic knowledge update 9.

Rosemont: American Academy of Orthopaedic Surgeons; 2008. p. 473-84.