Transcript

บทที่ 2

รายงานผลการดําเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษาภายในปการศึกษา 2550

38

รายงานผลการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปการศึกษา 2550

องคประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วตัถปุระสงค และแผนการดําเนนิการ

ตัวบงชี้ท่ี 1.1 มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนดําเนินงาน และมีการกําหนดตัวบงช้ีเพื่อความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนใหครบทุกภารกิจ

ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P)

เกณฑมาตรฐาน : ระดับ

1. มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน 2. มีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนดําเนินงาน และแผนปฏิบัติการ ประจําปใหสอดคลองกันและกัน และ

สอดคลองกับภารกิจหลักของสถาบัน ยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของชาติ 3. มีการกําหนดตัวบงช้ีของการดําเนินงาน และกําหนดเปาหมายของแตละตัวบงช้ีเพื่อวัดความสําเร็จของ

การดําเนินงาน 4. มีการดําเนินการตามแผนครบทุกภารกิจ 5. มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ี อยางนอยปละ 2 ครั้งและรายงานผล

ตอผูบริหารและสถาบัน/สภาสถาบัน 6. มีการวิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธ แผนดําเนินงาน เปาประสงค เปาหมายกับยุทธศาสตร

และแผนพัฒนาของชาติ ตลอดจนสภาพการณปจจุบันและแนวโนมในอนาคตอยางสม่ําเสมอ 7. มีการนําผลการประเมินและผลการวิเคราะหมาปรับปรุงกลยุทธและแผนการดําเนินงานอยางตอเนื่อง

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก มีการดําเนินการ 5-6 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ

39

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 คณะมีการกําหนดปรัชญาไวเปนลายลักษณอักษร และมีการ

เผยแพรในรายงานประจําป รายงานการประเมินตนเอง คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา และ เว็บไซตของคณะ

1.1 - 01 1.1 – 02 1.1 – 03 1.1 – 04

ระดับ 2 คณะมีการดําเนินการปรับปรุงแผนกลยุทธ แผนปฏิบัติการใหสอดคลองกันและสอดคลองกับภารกิจหลักของสถาบัน ยุทธศาสตร และแผนพัฒนาของชาติ

1.1 - 05 1.1 – 06 1.1 – 07

ระดับ 3 คณะมีการกําหนดตัวบงช้ีของการดําเนินงาน และกําหนดเปาหมายของแตละตัวบงช้ี เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงาน จากเอกสารผลการดําเนินงานปรับปรุงแผนกลยุทธ

1.1 – 08

ระดับ 4 คณะมีการดําเนินการติดตามแผนครบทุกภารกิจ คือ ดานการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

1.1 - 09 1.1 – 10

ระดับ 5 คณะมีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีอยางนอยปละ 2 ครั้ง และรายงานผลตอผูบริหาร ระดับคณะและสถาบัน เชน การรายงานผลการดําเนินงานและการใชจายงบประมาณเงินรายได

1.1 – 11

ระดับ 6 คณะมีการวิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธ แผนดําเนินงาน เปาประสงค เปาหมายกับยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของชาติ ตลอดจนสภาพการณปจจุบันและแนวโนมในอนาคตอยางสม่ําเสมอ

1.1 - 12

ระดับ 7 คณะมีการนําผลการประเมินและผลการวิเคราะหมาปรับปรุงกลยุทธและแผนการดําเนินงานอยางตอเนื่อง

1.1– 08

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนดําเนินงานและมีการกําหนดตัวบงช้ีเพื่อความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนใหครบทุกภารกิจ

ระดับ ระดับ 5 ระดับ 7 3

40

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

จุดท่ีควรพัฒนา /ปรับปรุง: 1. ขาดการวิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธและแผนการดําเนินงาน เปาประสงค เปาหมาย

กับยุทธศาสตร และแผนพัฒนาของชาติ ตลอดจนสภาพการณปจจุบน และแนวโนมในอนาคตอยางสม่ําเสมอ

2. ไมมีการนําผลการประเมิน และผลการวิเคราะหมาปรับปรุงกลยุทธ และแผนการดําเนินงานอยางตอเนื่อง

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 1.1 –01 รายงานประจําป 2550 ของคณะเทคโนโลยีการเกษตร 1.1 –02 รายงานการประเมินตนเอง ป 2550 1.1–03 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา ป 2550 1.1–04 เว็บไซตคณะ 1.1–05 คําสั่งแตงต้ังคณะกรรมการปรับปรุงแผนกลยุทธ 1.1–06 แผนกลยุทธคณะเทคโนโลยีการเกษตร พ.ศ.2546-2550 1.1–07 แผนปฏิบัติการคณะเทคโนโลยีการเกษตร พ.ศ.2546-2550 1.1–08 เอกสารผลการดําเนินการปรับปรุงแผนกลยุทธ 1.1–09 หลักสูตรของคณะเทคโนโลยีการเกษตร 1.1–10 ตัวอยางโครงการ / รายงานผลการดําเนินการจากโครงการตาง ๆ ดานการเรียนการ

สอน การวิจัย การบริการวิชาการ การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 1.1-11 แบบจัดทําแผน / รายงานผลการปฏิบัติงานและการใชจายเงินรายได

(แบบ สงป.301) 1.1-12 ตารางการวิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธ แผนดําเนินงาน เปาประสงค

เปาหมายกับยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของชาติ

41

ตัวบงชี้ท่ี 1.2 รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงช้ีของการปฏิบัติงานที่กําหนด

ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต (O)

การคิดรอยละตัวบงช้ี : คํานวณมาจาก เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 บรรลุเปาหมายรอยละ 60-74 บรรลุเปาหมายรอยละ 75-89 บรรลุเปาหมายรอยละ 90-100

ขอมูลการดําเนินงาน : ในปการศึกษา 2550 รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงช้ีของการปฏิบัติงานที่กําหนดเทากับ รอยละ 98.79 การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงช้ีของ การปฏิบัติงานที่กําหนด

รอยละ 80 98.79 3

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 1.2–01 แผนกลยุทธคณะเทคโนโลยีการเกษตร พ.ศ.2546-2550 1.2–02 แผนปฏิบัติการคณะเทคโนโลยีการเกษตร พ.ศ.2546-2550 1.2–03 ตารางสรุปรายจายจริงงบประมาณเงินรายไดประจําปงบประมาณ พ.ศ 2550

จํานวนตัวบงช้ีของแผนปฏิบัติงานประจําปงบประมาณที่บรรลุเปาหมาย จํานวนตัวบงช้ีของแผนปฏิบัติงานประจําปงบประมาณทั้งหมด

x 100

42

องคประกอบท่ี 2 การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ท่ี 2.1 มีระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร

ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P)

เกณฑมาตรฐาน : ระดับ 1. มีระบบและกลไกการเปดและปดหลักสูตร 2. มีการกําหนดเปาหมายการผลิตบัณฑิตทุกหลักสูตรในแผนการผลิตบัณฑิต 3. มีการเตรียมความพรอมกอนการเปดหลักสูตรใหมและการปรับปรุงหลักสูตรใหเปนไปตามเกณฑ

มาตรฐานหลักสูตรทุกเรื่อง 4. มีการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการทุกหลักสูตรประจําปการศึกษา เชน รอยละของหลักสูตรที่ไม

เปนไปตามเกณฑมาตรฐาน รอยละของบทความ จากวิทยานิพนธที่ตีพิมพเผยแพร รอยละของบัณฑิตที่ทํางานตรงสาขา

5. มีการนําผลการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการหลักสูตรประจําปการศึกษาไปปรับปรุงหลักสูตรและหรือปรับปรุงระบบและกลไกการบริหารหลักสูตร

6. หลักสูตรที่เปดสอนทุกหลักสูตรไดมาตรฐานตามเกณฑมาตรฐานทุกเรื่อง และมีการประกันคุณภาพหลักสูตรครบทุกประเด็นตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร

7. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เนนการวิจัย (ปรญิญาโท เฉพาะ แผน (ก) และปริญญาเอก) ที่เปดสอนมีจํานวนมากกวารอยละ 50 ของจํานวน หลักสูตรทั้งหมด

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก มีการดําเนินการ 5 ขอแรก มีการดําเนินการครบ 6 ขอแรก

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 มีระบบและกลไกการเปดและปดหลักสูตรโดยยึดตามเกณฑมาตรฐาน

หลักสูตรระดับอุมศึกษา พ.ศ. 2548 มีคณะกรรมการบริหารคณะเทคโนโลยีการเกษตร และคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเปนผูรับผิดชอบ

2.1 – 01 2.1 – 02 2.1 – 03 2.1 – 04

ระดับ 2 มีการกําหนดเปาหมายการผลิตบัณฑิตทุกหลักสูตรในแผนการผลิตบัณฑิตเพื่อใหสอดคลองกับปรัชญาและวัตถุประสงคหลักสูตร

2.1 – 05 2.1 – 06

ระดับ 3 มีการเตรียมความพรอมกอนการเปดหลักสูตรใหมและปรับปรุง/พัฒนาหลักสูตรใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรใหเปนตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548

2.1 – 06 2.1 – 10 2.1 – 11

43

ระดับ 4 มีการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการทุกหลักสูตรโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพื่อใชในการบริหารและปรับปรุงหลักสูตร

2.1 – 07 2.1 – 08

ระดับ 5 มีการนําผลการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการหลักสูตรไปใชในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรโดยหลักสูตรใหมไดลดจํานวนหนวยกิตลง

2.1 – 10

ระดับ 6 หลักสูตรที่เปดสอนทุกหลักสูตรไดมาตรฐานตามเกณฑมาตรฐานและมีการประกันคุณภาพหลักสูตรครบทุกประเด็นตามมาตรฐานหลักสูตรใน 4 ประเด็นคือ การบริหารการเรียนการสอน การประกอบการเรียนการสอน การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา ความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต

2.1 – 04 2.1 – 09 2.1 – 11

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ระดับ 6 6 3

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : การเตรียมความพรอมดานอาจารยผูสอนใหมีศักยภาพสูงขึ้น ในการรองรับการเปดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 2.1–01 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 และมาตรฐานหลักสูตร

ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 2.1–02 ขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาวาดวยคุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการ

สรรหาคณะกรรมการประจําคณะ พ.ศ. 2547 2.1–03 คําสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาที่ 251/2548 เรื่องแตงตั้งคณะกรรมการ

บริหารคณะเทคโนโลยีการเกษตร 2.1–04 รายช่ือคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสาขาตาง ๆ 2.1-05 แผนการผลิตบัณฑิตสาขาวิทยาศาสตรคณะเทคโนโลยีการเกษตร 2.1–06 หลักสูตรปรับปรุงระดับปริญญาตรีและหลักสูตรพัฒนาระดับปริญญาโท 2.1–07 รายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร 2.1–08 ภาระงานสอนของอาจารย 2.1–09 คําสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาที่ 952/2550 เรื่องอาจารยที่ปรึกษานักศึกษา

ภาคปกติประจําปการศึกษา 2550 2.1–10 โครงการประชุมปฏิบัติการวิพากษปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร 2.1 – 11 รายการทรัพยากร วัสดุ ครุภัณฑ สนับสนุนการเรียนการสอน

44

ตัวบงชี้ท่ี 2.2 มีกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ

ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P)

เกณฑมาตรฐาน : ระดับ

1. มีกลไกใหความรูความเขาใจกับอาจารยผูสอนถึงวัตถุประสงคและเปาหมายของการจัดการศึกษาทุกหลักสูตร

2. มีการออกแบบการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนนผูเรียน เปนสําคัญทุกหลักสูตร 3. มีการใชสื่อและเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในการสอนเพื่อสงเสริมการเรียนรูทุกหลักสูตร 4. มีการจัดการเรียนการสอนที่มีความยืดหยุนและหลากหลาย ที่จะสนองตอบตอความตองการของผูเรียน 5. มีการประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคลองกับสภาพการเรียนรูที่จัดใหผูเรียนและอิงพัฒนาการของ

ผูเรียนทุกหลักสูตร 6. มีการประเมินผลความพึงพอใจของผูเรียนในเรื่องคุณภาพการสอนและ สิ่งสนับสนุนการเรียนรูทุก

หลักสูตร 7. มีระบบการปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนและพัฒนาผูเรียนอยางตอเนื่องทุกหลักสูตร

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก มีการดําเนินการ 5-6 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 มีกลไกการใหความรูความเขาใจกับอาจารยผูสอนถึงวัตถุประสงค

และเปาหมายของการจัดการศึกษาทุกหลักสูตร โดยจัดใหอาจารยทุกทานไดมีสวนในการบริหารหลักสูตรและดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรเพื่อใหเขาใจปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตรรวมกัน

2.2 – 01 2.2 - 02

ระดับ 2 มีการออกแบบการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญทุกหลักสูตร โดยหลักสูตรในคณะเทคโนโลยีการเกษตร รายวิชาเอกสวนใหญมีภาคปฏิบัติทําใหผูเรียนไดมีสวนรวมกับกิจกรรมการเรียนอยางตอเนื่อง

2.2 – 03 2.2 – 04

ระดับ 3 มีการใชสื่อและเทคโนโลยีนวัตกรรมในการสอนเพื่อสงเสริมการเรียนรูทุกหลักสูตร เชน Powerpoint และจัดใหนักศึกษาไดคนควาผานเครือขายอินเตอรเน็ต

2.2 – 03 2.2 – 04 2.2 – 05

45

ระดับ 4 มีการจัดการเรียนการสอนที่มีความยืดหยุนและหลายหลายที่สนองตอบความตองการของผูเรียน โดยเปดโอกาสใหผูเรียนไดเลือกเรียนตามความสนใจ เชน เนนทางกลุมพืช / กลุมสัตว แตเรียนวิชาบังคับรวมกัน ตลอดจนการจัดโครงการวิจัยในวิชาปญหาพิเศษตามความสนใจของนักศึกษา รวมทั้งในรายวิชาการสัมมนานักศึกษานําเสนอในประเด็นที่ตนเองสนใจ

2.2 – 03 2.2 – 04 2.2 – 06 2.2 – 07

ระดับ 5 มีการประเมินการเรียการสอนที่มีความสอดคลองกับสาระการเรียนรูที่จัดใหผูเรียนและรวมพัฒนาผูเรียนทุกหลักสูตร โดยจัดใหมีการเรียนการสอนทั้งทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยประเมินผลจากภาคทฤษฎีและประเมินผลจากภาคปฏิบัติรวมกันเนื่องจากเปนหลักสูตรที่เปนวิชาชีพที่นักศึกษาตองนําไปประกอบอาชีพ

2.2 – 03 2.2 – 08

ระดับ 6 มีการประเมินความพึงพอใจของผูเรีนในเชิงคุณภาพการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนทุกหลักสูตรในทุกภาคการศึกษา

2.2 – 09

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ระดับ 6 6 2 การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

จุดท่ีควรพัฒนา/ปรับปรุง : ควรจัดใหมีระบบการปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนและพัฒนาผูเรียนอยางตอเนื่องทุกหลักสูตร

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 2.2–01 คําสั่งแตงต้ังคณะกรรมการบริหารหลักสูตร/คณะกรรมการปรับปรุง/พัฒนา

หลักสูตร 2.2–02 หลักสูตร 2.2–03 แนวการสอนของรายวิชาเอก 2.2–04 รายวิชาปญหาพิเศษ 2.2-05 เอกสารประกอบการใชสื่อ Powerpoint ในการสอน 2.2–06 แผนการเรียนของนักศึกษา 2.2–07 เอกสารประกอบการสัมมนาในรายวิชาสัมมนา 2.2–08 หลักฐานการประเมินนักศึกษาโดยอาจารยผูสอน 2.2–09 สรุปผลประเมินประสิทธิภาพการสอนของอาจารยโดยนักศึกษา

46

ตัวบงชี้ท่ี 2.3 มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนซึ่งบุคคล องคกร และชุมชนภายนอกมีสวนรวม

ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P)

เกณฑมาตรฐาน : ระดับ 1. มีระบบและกลไกที่กําหนดใหผูทรงคุณวุฒิ หรือผูรูในชุมชนมาชวยในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร

ทุกหลักสูตร 2. มีการจัดการเรียนการสอนที่สงเสริมใหผูเรียนมีความรูและทักษะที่นําไปใช ในการปฏิบัติไดจริง โดย

ผูทรงคุณวุฒิ หรือผูรูในชุมชนมีสวนรวมทุกหลักสูตร 3. มีการจัดโครงการ กิจกรรมทางการศึกษา ทั้งมีกําหนด และไมกําหนดในหลักสูตรโดยความรวมมือกับ

องคการหรือหนวยงานภายนอก 4. มีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินกิจกรรมการเรียนการสอนที่ไดรับการ สนับสนุนจาก

ผูทรงคุณวุฒิหรือชุมชนภายนอกสถาบันทุกหลักสูตร 5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการมีสวนรวมของบุคคล องคการ และ ชุมชนภายนอกในการ

พัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนทุกหลักสูตร

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรก มีการดําเนินการ 4 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 มีระบบและกลไกที่กําหนดใหผูทรงคุณวุฒิ หรือผูรูในชุมชนชวยในการ

พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรทุกหลักสูตรดานการวิพากษหลักสูตรทุกหลักสูตร โดยมีการระดมความคิดเห็นจากภาครัฐ เอกชน ผูประกอบการ เกษตรกร และศิษยเกา กอนการปรับปรุงหลักสูตร

2.3 – 01 2.3 – 11

ระดับ 2 มีการจัดการเรียนการสอนที่สงเสริมใหผูเรียนมีความรูและทักษะที่นําไปใชในการปฏิบัติไดจริง โดยผูทรงคุณวุฒิ หรือผูรูในชุมชนมีสวนรวมทุกหลักสูตร ดวยการเชิญอาจารยพิเศษ/วิทยากรสอนในรายวิชา/สงนักศึกษาออกฝกประสบการณวิชาชีพในสถานประกอบการ การศึกษาดูงานนอกสถานที่

2.3 – 02 2.3 – 03 2.3 – 05 2.3 – 06

ระดับ 3 มีการจัดการเรียนการสอนและมีโครงการทั้งที่กําหนดและไมกําหนดใน

หลักสูตรโดยเปนความรวมมือกับองคกรจากหนวยงานภายนอกโดยการเชิญอาจารยพิเศษและไปฝกปฏิบัติในหนวยงานของอาจารยพิเศษ การศึกษาดูงานนอกสถานที่ในรายวิชาและจัดโดยโปรแกรมวิชารวมทั้งการนํานักศึกษาไปรวมเสนอผลงานการวิจัยในระดับปริญญาตรีที่แหลงทุนจัดขึ้น

2.3 – 05 2.3 – 06 2.3 – 10

47

ระดับ 4 มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินกิจกรรมการเรียนการสอนที่ไดรับการสนับสนุนอาจารยผูทรงคุณวุฒิจากชุมชนภายนอกสถาบันทุกรายวิชา โดยมีการประเมินคุณสมบัติของอาจารยพิเศษที่จะเชิญผานคณะกรรมการวิชาการของมหาวิทยาลัย การประเมินผลการสอนโดยนักศึกษาและการสัมมนาหลังฝกประสบการณวิชาชีพของนักศึกษาเพื่อประเมินผลการฝกงานของแตโปรแกรมวิชาและใหคําแนะนําแกนักศึกษารุนตอไป

2.3 – 04 2.3 – 07 2. 3 -08 2.3 - 09

ระดับ 5 มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการมีสวนรวมของบุคคล องคกร และชุมชนภายนอกในการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนของทุกหลักสูตร ซึ่งแตละหลักสูตรมีอาจารยพิเศษ/วิทยากรในรายวิชาที่หลาก หลาย

2.3 – 12 2.3 – 13

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนซึ่งบุคคล องคกร และชุมชนภายนอกมีสวนรวม

ระดับ 5 5 3

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 2.3–01 หลักสูตร 2.3–02 แนวการสอน 2.3–03 หนังสือเชิญอาจารยพิเศษ / วิทยากร 2.3–04 แบบฟอรมประเมินคุณสมบัติอาจารยพิเศษ 2.3-05 โครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ 2.3–06 โครงการเตรียมฝก / ฝกประสบการณวิชาชีพ 2.3–07 รายงานผลการฝกประสบการณวิชาชีพของนักศึกษา 2.3–08 แบบประเมินผลการฝกงานของนักศึกษาจากสถานประกอบการ 2.3–09 โครงการสัมมนาหลังฝกประสบการณวิชาชีพ 2.3–10 การนําเสนอผลงานโครงการวิจัยของนักศึกษากับโครงการทุน IRPUS สกว. 2.3-11 รายช่ือคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิวิพากษหลักสูตรทุกหลักสูตร 2.3-12 โครงการปรับปรุงหลักสูตรปริญญาตรีและพัฒนาหลักสูตรปริญญาโทของ

คณะเทคโนโลยีการเกษตร 2.3 – 13 รายช่ืออาจารยพิเศษ/วิทยากร ของคณะเทคโนโลยีการเกษตร

48

ตัวบงชี้ท่ี 2.4 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา

ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา (I)

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

≥ +10% หรือ ≤-10% ของเกณฑมาตรฐาน

6 - 9.99% และ –6 – (-9.99)% ของเกณฑมาตรฐาน

(-5.99) – 5.99 % ของเกณฑมาตรฐาน

ขอมูลการดําเนินงาน : ในปการศึกษา 2550 คณะเทคโนโลยีการเกษตร มีอาจารยปฏิบัติงานจริง 19 คน มีนักศึกษาภาคปกติ ภาคพิเศษ(เต็มเวลาเทียบเทา) จํานวน 234.45 คน สัดสวนนักศึกษาปกติตอจํานวนอาจารยประจําเทากับ 12.34 คิดเปนรอยละของผลตางของ FTES (สาขาเกษตร) เทากับ -38.3 % ของเกณฑมาตรฐาน

วิธีการคํานวณคา FTES 1. หาเกณฑมาตรฐานของ FTES ตออาจารยประจําของสถาบัน (เกณฑเฉลี่ยของมหาวิทยาลัย) : คํานวณมาจาก

2. หาคา FTES ของอาจารยที่ปฏิบัติงานจริง 3. หารอยละของผลตางของ FTES ตออาจารยจริง : คํานวณมาจาก การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวน อาจารยประจํา

รอยละ 6 - 9.99 และ -6 – (-9.99)

-38.3 1

(เกณฑมาตรฐานของ FTES ตออาจารยประจําของกลุมสาขาที่ 1) x (FTES ของ กลุมสาขาที่ 1) + (เกณฑมาตรฐานของ FTES ตออาจารยประจําของกลุมสาขาที่ 2) x (FTES ของกลุมสาขาที่ 2) + (เกณฑมาตรฐานของ FTES ตออาจารยประจําของกลุมสาขาที่ … n) x (FTES ของกลุมสาขาที่ …n)

ผลรวมของ FTES ทุกกลุมสาขาวิชาของสถาบัน

รอยละของผลตาง = จํานวน FTES ตออาจารยประจําจริง – เกณฑมาตรฐานเฉลี่ยของสถาบัน

เกณฑมาตรฐานเฉลี่ยของสถาบัน x 100

49

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 2.4–01 รายงานการประเมินตนเองของคณะเทคโนโลยีการเกษตร ป 2550

50

ตัวบงชี้ท่ี 2.5 สัดสวนของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกหรือเทียบเทาตออาจารย ประจํา

ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา (I)

การคิดสัดสวนตัวบงช้ี : คํานวณมาจาก

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

วุฒิปริญญาเอกอยูระหวางรอยละ 1-19 หรือ วุฒิปริญญาเอกอยูระหวางรอยละ 20-29 แตวุฒิปริญญาตรีมากกวารอยละ 5

1. วุฒิปริญญาเอกอยูระหวาง รอยละ 20-29 และ 2. วุฒิปริญญาตรีเทากับหรือนอยกวารอยละ 5 หรือ 1. วุฒิปริญญาเอกมากกวาหรือเทากับรอยละ 30 และ 2. วุฒิปริญญาตรีมากกวา รอยละ 5

1. วุฒิปริญญาเอกมากกวาหรือเทากับรอยละ 30 และ 2. วุฒิปริญญาตรีเทากับหรือนอยกวารอยละ 5

ขอมูลการดําเนินงาน : ในปการศึกษา 2550 คณะเทคโนโลยีการเกษตร มีอาจารยประจํา (นับอาจารยที่ลาศึกษาตอ) จํานวน 23 คน มีอาจารยปริญญาเอก จํานวน 5 คน อาจารยวุฒิปริญญาโท จํานวน 18 คน (ในจํานวนนี้ลาศึกษาตอปริญญาเอก 4 คน) วุฒิตปริญญาเอกคิดเปนรอยละ 21.7 และวุฒิปริญญาโท คิดเปนรอยละ 78.26 การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

สัดสวนของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกหรือเทียบเทาตออาจารยประจํา

รอยละ วุฒิป.เอก 20 – 29 %

21.70 2

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : สงเสริม / สนับสนุนใหอาจารยรุนใหมไดเขาศึกษาตอในระดับปริญญาเอกตรงตามสาขาที่คณะตองการและสอดคลองกับหลักสูตรที่เปดสอนอยูและที่จะพัฒนาขึ้นมาใหม

จํานวนอาจารยที่มีคุณวุฒิปริญญาตรี/ปริญญาโท/ปริญญาเอกหรือเทียบเทา จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด (ปฏิบัติจริงและลาศึกษาตอ)

x 100

51

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 2.5–01 ขอมูลรายช่ือ – คุณวุฒิของอาจารยคณะเทคโนโลยีการเกษตรในรายงาน

ประจําป 2550

52

ตัวบงชี้ท่ี 2.6 สัดสวนของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และ ศาสตราจารย

ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา (I)

การคิดสัดสวนตัวบงชี้ : คํานวณมาจาก เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. และ ศ. รวมกันอยูระหวาง รอยละ 1-39 หรือ ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. และ ศ. รวมกันอยูระหวางรอยละ 40-59 แตผูดํารงตําแหนงระดับ รศ. ขึ้นไปนอยกวารอยละ 10

1. ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. และ ศ. รวมกันอยูระหวางรอยละ 40-59 และ 2. ผูดํารงตําแหนงระดับ รศ. ขึ้นไปเทากับหรือมากกวา รอยละ 10 หรือ 1. ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. และ ศ. รวมกันมากกวา หรือเทากับรอยละ 60 และ 2. ผูดํารงตําแหนงระดับ รศ. ขึ้นไปนอยกวารอยละ 10

1. ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. และ ศ. รวมกันมากกวา หรือเทากับรอยละ 60 และ 2. ผูดํารงตําแหนงระดับ รศ. ขึ้นไปเทากับหรือมากกวา 10

ขอมูลการดําเนินงาน : ในปการศึกษา 2550 คณะเทคโนโลยีการเกษตร มีอาจารย 23 คน (นับรวมอาจารยที่ลาศึกษาตอและสัญญาจาง) มีอาจารยดํารงตําแหนงทางวิชาการ ระดับรองศาสตราจารย 2 คน ผูชวยศาสตราจารย 4 คน และอาจารย 17 คน อาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ คิดเปนรอยละ 26.08 การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

สัดสวนของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย

รอยละ 30 26.08 1

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

จํานวนอาจารยที่ดํารงตําแหนงอาจารย /ผศ./ รศ. /ศ. จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด (ปฏิบัติจริงและลาศึกษาตอ)

x 100

53

จุดท่ีควรพัฒนา/ปรับปรุง : จํานวนอาจารยที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการทุกระดับ

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : สงเสริมการทําผลงานวิชาการเพื่อเขาสูตําแหนงทางวิชาการ

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 2.6–01 รายช่ือคณาจารยและคุณวุฒิของอาจารยคณะเทคโนโลยีการเกษตรในรายงาน

การประเมินตนเอง ป 2550

54

ตัวบงชี้ท่ี 2.7 มีกระบวนการสงเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย

ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P)

เกณฑมาตรฐาน : ระดับ

1. สถาบันมีการกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารยไวเปนลายลักษณอักษร 2. มีกระบวนการสงเสริมใหผูเกี่ยวของไดปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 3. มีการกํากับดูแลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 4. มีระบบในการดําเนินการกับผูที่ไมปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 5. มีการดําเนินการวางแผน ปองกัน หรือหาแนวทางแกไขการกระทําผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3 ขอแรก มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 มหาวิทยาลัย ไดมีประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เรื่อง

จรรยาบรรณ ขาราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา พ.ศ. 2549 และขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา วาดวยจรรยาบรรณ ขาราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา พ.ศ. 2549 และมีพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาเพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติงานตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารยตามประกาศ กพอ.

2.7 – 01 2.7 – 08 2.7 – 10

ระดับ 2 มหาวิทยาลัยสงเสริมใหอาจารยปฏิบัติตามจรรยาบรรณ และมีคณะกรรมการคัดเลือกขาราชการพลเรือนดีเดน รวมทั้งกรรมการสรรหาคนดีศรีราชภัฏ และมีการพิจารณาสรรหา “คนดีศรีราชภัฏประจําป 2550”

2.7 – 04 2.7 – 05 2.7 – 06 2.7 – 07

ระดับ 3 มีการกํากับดูแลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครูตามลําดับต้ังแตประธานกรรมการบริหารโปรแกรมวิชา คณบดี และอธิการบดี และมีสายตรงอธิการบดีบนเว็บไซตของมหาวิทยาลัย มีการรายงานการปฏิบัติงานของอาจารยและการประเมินการปฏิบัติงานของอาจารยผานประธานกรรมการบริหารโปรแกรมวิชา/คณะ/มหาวิทยาลัย ปละ 2 ครั้ง

2.7 - 02 2.7 – 03 2.7 – 11 2.7 – 12

ระดับ 4 มีระบบในการดําเนินการกับผูที่ไมปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีแบบประเมินการจางงาน/กลองรับความคิดเห็นของคณะ โดยคณะดําเนินการตามสายงาน

2.7 – 02

55

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีกระบวนการสงเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย

ระดับ 4 4 3

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

จุดท่ีควรพัฒนา /ปรับปรุง: ควรมีระบบการคัดเลือกอาจารยเนนคุณธรรม – จริยธรรม รวมดวยไมเนนดานวิชาการอยางเดียว

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : จัดกิจกรรมดานคุณธรรม – ธรรมะใหแกคณาจารยเปนชวง ๆ เพื่อกระตุนเตือนจิตใจ

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 2.7–01 ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เรื่อง จรรยาบรรณ ขาราชการพลเรือนใน

มหาวิทยาลัยราชภักสงขลา พ.ศ. 2549 2.7–02 แบบประเมินการปฏิบัติงานของอาจารย 2.7–03 รายงานการปฏิบัติงานของอาจารย 2.7–04 คําสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาที่ 183/2551 เรื่องแตงตั้งคณะกรรมการ

คัดเลือกขาราชการพลเรือนดีเดน ประจําป 2550 และกรรมการสรรหาคนดีศรีราชภัฏ ประจําป 2551

2.7-05 ภาพการมอบรางวัลในวันราชภัฏแกบุคลากรดานตาง ๆ 2.7–06 ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เรื่อง ผลการพิจารณาคัดเลือกขาราชการ

พลเรือนดีเดน 2.7–07 ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เรื่อง ผลการพิจารณาสรรหา “คนดีศรี

ราชภัฏประจําป 2550” 2.7–08 ขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาวาดวยจรรยาบรรณ ขาราชการพลเรือน

ในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา พ.ศ. 2549 2.7–09 ขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา วาดวยหลักเกณฑและวิธีการตักเตือน

การมีคําสั่งหรือการทําทัณฑบน พ.ศ. 2550 2.7–10 พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา 2.7-11 สายตรงอธิการบดี 2.7-12 แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงาน

สัญญาจาง

56

ตัวบงชี้ท่ี 2.8 มีระบบและกลไกสนับสนุนใหอาจารยประจําทําการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P)

เกณฑมาตรฐาน : ขอ 1. มีการกําหนดแนวทางการพัฒนาอาจารยดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม

การเรียนการสอน 2. มีกลไกการบริหารวิชาการที่จะกระตุนใหอาจารยคิดคนพัฒนา นวัตกรรมใหม ๆ ในดานการเรียนการ

สอน 3. มีแหลงทุนสนับสนุนการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและนวัตกรรมทางการศึกษา 4. มีผลงานวิจัยดานการเรียนการสอนและมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนและเผยแพร 5. มีการสรางเครือขายวิจัยดานนวัตกรรมการเรียนการสอนทั้งภายในและภายนอกสถาบัน

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3-4 ขอ มีการดําเนินการครบทุกขอ

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ขอ 1 มีการกําหนดแนวทางการพัฒนาอาจารยดานความรูความเขาใจ

เกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน โดยคณะมีนโยบายดานวิชาการและวิจัย และจัดใหอาจารยเปนที่ปรึกษาโครงการวิจัยปริญญาตรี / ปญหาพิเศษ

2.8 – 01 2.8 – 02

ขอ 2 มีกลไกลการบริหารวิชาการที่จะกระตุนใหอาจารยคิดคนพัฒนานวัตกรรมใหม ๆ ในการเรียนการสอน โดยคณะไดมีนโยบายดานวิจัย มีระเบียบของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาวาดวยกองทุนสนับสนุนการวิจัย พ.ศ. 2550 โดยมีรองคณบดีฝายวิชาการดูแลใหเปนไปตามนโยบายของคณะ

2.8 – 01 2.8 – 0.3 2.8 – 05

ขอ 3 มีแหลงทุนสนับสนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและนวัตกรรมทางการศกึษา โดยคณะมีโครงการพัฒนาการเรียนการสอนและกิจกรรมสนับสนุนงานวิจัยแบบบูรณาการใหแกโปรแกรมวิชา นอกจากนี้ยังมีแหลงทุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาและแหลงทุน IRPUS สกว.

2.8 – 04 2.8 – 05

57

ขอ 4 มีผลงานวิจัยดานการเรียนการสอนและมีการแลกเปลี่ยนและเผยแพรผลงานวิจัยการเรียนการสอนและนวัตกรรมทางการศึกษาอยางสม่ําเสมอ โดยอาจารยและนักศึกษาไดทํางานวิจัยรวมกันในรายวิชาปญหาพิศษ / โครงการวิจัยทุน IRPUS ซึ่งเปนทุนสนับสนุนวิจัยระดับปริญญาตรี

2.8 – 06 2.8 – 07

ขอ 5 มีการสรางเครือขายวิจัยดานนวัตกรรมการเรียนการสอนทั้งภายในและภายนอกสถาบัน โดยคณะมีนักวิจัยเขารวมวิจัยในเครือขายวิจัยภาคใตตอนลางของ สกอ. และโครงการทุน IRPUS อยางตอเนื่องเพื่อพัฒนาการเรียการสอนและวิจัยควบคูกันไป ตลอดจนทุนจากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ

2.8 – 07 2.8 – 08

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีระบบและกลไกสนับสนุนใหอาจารยประจําทําการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

ขอ 5 5 3

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : หาเครือขายที่จะสนับสนุนการวิจัยดานนวัตกรรมการเรียนการสอนเฉพาะทางในระดับคณะใหมากขึ้นเพื่อประโยชนในการพัฒนาดานตาง ๆ

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 2.8–01 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาคณะเทคโนโลยีการเกษตร ปการศึกษา 2550 2.8–02 รายช่ือคณาจารยที่เปนอาจารยที่ปรึกษาโครงงานวิจัยปริญญาตรี / ปญหาพิเศษ 2.8–03 โครงการพัฒนาการเรียนการสอนและกิจกรรมสนับสนุนงานวิจัยแบบบูรณาการ 2.8–04 หลักฐานการจัดสรรงปบระมาณสนับสนุนการวิจัย 2.8-05 ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาวาดวยกองทุนวิจัย พ.ศ. 2550 2.8–06 รายงานการวิจัย IRPUS และปญหาพิเศษ 2.8–07 รายช่ือคณาจารยไดทุน IRPUS และเครือขายวิจัยภาคใตตอนลาง 2.8–08 เครือขายการวิจัยที่สนับสนุนทุนเพื่อการวิจัยแกคณาจารย

58

ตัวบงชี้ท่ี 2.9 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําและการประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป

ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต (O)

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

รอยละ 1 – รอยละ 59 รอยละ 60 – รอยละ 79 มากกวาหรือเทากับรอยละ 80

ขอมูลการดําเนินงาน : ในปการศึกษา 2550 คณะเทคโนโลยีการเกษตร มีบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 106 คน โดยมีบัณฑิตเขารับพระราชทานปริญญาบัตรและตอบแบบสอบถาม จํานวน 94 คน เปนผูลาศึกษาตอ จํานวน 5 คน เปนบัณฑิตที่มีงานประจําอยูกอน จํานวน 4 คน และเปนบัณฑิตที่ไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป จํานวน 61 คน คิดเปนรอยละ 67.77

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทํา และ การประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป

รอยละ 70 67.77 2

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

จุดท่ีควรพัฒนา /ปรับปรุง: นักศึกษายังมีโอกาสเขาสู / เขาถึงแหลงงานภาคเอกชนไดนอย เนื่องจากตองการหางานในทองถิ่นมากกวาไปทํางานในจังหวัดหางไกล

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : คณะควรจัดสรางเครือขายกับภาคเอกชนในการรับนักศึกษาเขาทํางาน รวมทั้งสงเสริมใหนักศึกษาสรางงาน / ประกอบอาชีพอิสระมากขึ้น

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 2.9–01 สรุปผลการติดตามบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

59

ตัวบงชี้ท่ี 2.10 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑ ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต (O)

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

รอยละ 1 – รอยละ 74 ไดรับเงินเดือนเทากับหรือสูงกวา เกณฑ ก.พ.

รอยละ 75 – รอยละ 99 ไดรับเงินเดือนเทากับหรือสูงกวาเกณฑ ก.พ.

รอยละ 100 ไดรับเงินเดือนเทากับหรือสูงกวาเกณฑ ก.พ.

ขอมูลการดําเนินงาน : ในปการศึกษา 2550 คณะเทคโนโลยีการเกษตร บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 106 คน โดยมีบัณฑิตที่เขารับพระราชทานปริญญาบัตร และตอบแบบสอบถามกับมหาวิทยาลัย จํานวน 94 คน มีบัณฑิตที่ไดงานทํา 61 คน และไดรับเงินเดือนเริ่มตนตามเกณฑ จํานวน 31 คน คิดเปนรอยละ 50.8 การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑ

รอยละ 75 50.8 1

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

จุดท่ีควรพัฒนา/ปรับปรุง: ควรจัดทําแหลงงานเพิ่มขึ้น เพื่อใหนักศึกษาไดมีโอกาสสมัครเขาทํางานในสถานประกอบการตางๆ ไดมากขึ้น

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : ควรสงเสริมใหนักศึกษาประกอบอาชีพอิสระเพื่อสรางรายไดใหแกตนเองในระดับที่สูงขึ้น ซึ่งอนาคตสินคาทางการเกษตรมีแนวโนมเปนที่ตองการมากขึ้น

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 2.10–01 สรุปผลการติดตามบัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

60

ตัวบงชี้ท่ี 2.11 ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิต

ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต (O)

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

ระดับความพึงพอใจมีคะแนนเฉลี่ยอยูระหวาง 1-2.49

ระดับความพึงพอใจมีคะแนนเฉลี่ยอยูระหวาง 2.50-3.49

ระดับความพึงพอใจมีคะแนนเฉลี่ยมากกวาหรือเทากับ 3.50

ขอมูลการดําเนินงาน : คณะเทคโนโลยีการเกษตร ไดใหความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตใหมีความรูทางวิชาการ ความเช่ียวชาญ และทักษะวิชาชีพ เพื่อสรางความเขมแข็งและคุณลักษณะเดนใหบัณฑิตที่จะปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพเปนที่พอใจของนายจาง โดยผลการประเมิน ปรากฏวา นายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิตมีความพึงพอใจตอบัณฑิต คณะเทคโนโลยีการเกษตร ที่ระดับคะแนน 3.59

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิต

คะแนน 3 3.59 3

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

จุดแข็ง/แนวทางเสริม : ควรมีระบบหรือชองทางใหผูประกอบการไดติดตอกับมหาวิทยาลัยหรือคณะตลอดเวลาในชวงของการใชบัณฑิตจะไดทราบขอมูลที่เปนจริงตลอดเวลาและแนวทางการปรับปรุงรวมกัน

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 2.11–01 รายงานความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

61

ตัวบงชี้ท่ี 2.12 รอยละของนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปที่ผานมา ที่ไดรับการ ประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปวัฒนธรรม และดานสิ่งแวดลอมในระดับชาติหรือนานาชาติ

ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต (O)

การคิดรอยละตัวบงช้ี : คํานวณมาจาก

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

รอยละ 0.003 – รอยละ 0.015 รอยละ 0.016 – รอยละ 0.029 1. มากกวาหรือเทากับรอยละ 0.030

ขอมูลการดําเนินงาน : ในรอบ 5 ป (2546 – 2550 ) ที่ผานมาคณะเทคโนโลยีการเกษตรมีศิษยเกาไดรับประกาศเกียรติคุณยกยองในระดับชาติดานคุณธรรม จริยธรรม 1 คน คือ นายสุเทพ จินดาวรรณ ไดรับโลเชิดชูเกียรติในฐานะขาราชการ พนักงานของรัฐและลูกจางประจําของกระทรวงศึกษาธิการ จากนายปองพล อดิเรกสาร รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2546 และไดรับเข็มเชิดชูเกียรติคนดีศรีสงขลา บุคคลดีเดนระดับประเทศและภาค ประจําป 2548 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2546 คิดเปนรอยละ 0.10 จากจํานวนศิษยเกาในระยะ 5 ป และศิษยปจจุบันรวม 987 คน

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

รอยละของนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปที่ผานมา ที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปวัฒนธรรม และดานสิ่งแวดลอมในระดับชาติหรือนานาชาติ

รอยละ 0.016 0.10 3

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

จํานวนนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปที่ผานมา ทั้งหมดทุกระดับการศึกษาที่ไดรับรางวัลทุกประเภทในปการศึกษาปจจุบัน

จํานวนนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปที่ผานมา

ทั้งหมดทุกระดับการศึกษา

x 100

62

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : ควรจัดใหมีระบบการติดตามศิษยเกาเพื่อใหไดขอมูลศิษยเกาในสาขาตาง ๆ มากขึ้น

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 2.12–01 หลักฐานการไดรับรางวัล (ช่ือรางวัล – ช่ือผูรับรางวัล)

63

องคประกอบท่ี 3 กิจกรรมการพัฒนานิสตินักศึกษา

ตัวบงชี้ท่ี 3.1 มีการจัดการบริการแกนักศึกษาและศิษยเกา

ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P)

เกณฑมาตรฐาน : ระดับ 1. มีการสํารวจความตองการจําเปนของนักศึกษาปที่ 1 2. มีการจัดบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการพัฒนาการเรียนรูของนักศึกษา 3. มีการจัดบริการดานกายภาพที่สงเสริมคุณภาพชีวิตของนักศึกษา 4. มีการจัดบริการใหคําปรึกษาแกนักศึกษา 5. มีการบริการขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอนักศึกษาและศิษยเกา 6. มีการจัดโครงการเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาชีพแกนักศึกษาและศิษยเกา 7. มีการประเมินคุณภาพของการใหบริการทั้ง 5 เรื่องขางตนเปนประจําทุกป 8. นําผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการมาพัฒนาการจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกา

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 มีการดําเนินการไมครบ 7 ขอแรก มีการดําเนินการ 7 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 คณะมีการสํารวจความตองการจําเปนของนักศึกษาชั้นปที่ 1 3.1 – 01 ระดับ 2 คณะจัดใหมีแหลงเสริมสรางทักษะวิชาชีพภายในมหาวิทยาลัยเพื่อ

พัฒนาการเรียนรูในสายวิชาชีพ เชน สถานีปฏิบัติการสัตวบาล สถานีปฏิบัติการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา สถานีปฏิบัติการพืชไร สถานีปฏิบัติการพืชสวน ฯลฯ

3.1 – 02

ระดับ 3 มีการจัดการดานกายภาพที่สงเสริมคุณภาพชีวิตของนักศึกษา เชน หองปฐมพยาบาล โรงอาหาร หองออกกําลังกาย ฯลฯ

3.1 – 03 3.1 – 04

ระดับ 4 มีการแตงต้ังอาจารยที่ปรึกษาเพื่อใหคําปรึกษาแกนักศึกษา 3.1 – 05 ระดับ 5 คณะมีการบริการขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอนักศึกษาและ

ศิษยเกาโดยมีเว็บไซตคณะ บอรดประชาสัมพันธ คูมือนักศึกษา ฯลฯ

3.1 – 06 3.1 – 07 3.1 – 08

ระดับ 6 คณะ มีการจัดโครงการเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพ ฝกประสบการณวิชาชีพและสัมมนาหลังฝกประสบการณวิชาชีพทุกปการศึกษา

3.1 – 09 3.1 – 10

64

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีการจัดการบริการแกนักศึกษาและศิษยเกา ระดับ 6 6 1 การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

จุดท่ีควรพัฒนา/ปรับปรุง : ควรพัฒนาเรื่องการประเมินคุณภาพการใหบริการ

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : ควรมีการประเมินคุณภาพการใหบริการตาง ๆ แกนักศึกษาอยางครบถวนและตอเนื่อง

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 3.1–01 แบบสํารวจขอมูลจากอาจารยที่ปรึกษา 3.1–02 เอกสารแสดงสถานีปฏิบัติการตาง ๆ ภายในคณะ 3.1–03 ตารางการใหบริการหองพยาบาล 3.1–04 ตารางการใหบริการหองฟตเนส 3.1-05 คําสั่งแตงต้ังอาจารยที่ปรึกษาภาคปกติ ปการศึกษา 2550 3.1–06 เว็บไซตคณะเทคโนโลยีการเกษตร 3.1–07 คูมือการศึกษา 2550 3.1–08 ภาพบอรดประชาสัมพันธของคณะ 3.1–09 โครงการเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพ 3.1–10 โครงการฝกประสบการณวิชาชีพ

65

ตัวบงชี้ท่ี 3.2 มีการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถวนและสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึง ประสงค

ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P)

เกณฑมาตรฐาน : ระดับ 1. มีการจัดทําแนวทางสงเสริมการจัดกิจกรรมที่สอดคลองกับวิสัยทัศนของ สถาบันและคุณลักษณะ

บัณฑิตที่พึงประสงคตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา 2. มีการสงเสริมใหหนวยงานและองคการนักศึกษาจัดกิจกรรมนักศึกษาใหครอบทุกประเภท โดยอยาง

นอยตองดําเนินการใน 5 ประเภท ดังนี้ กิจกรรมทางวิชาการ กิจกรรมกีฬาและการสงเสริมสุขภาพ กิจกรรมบําเพ็ญ ประโยชนและรักษาสิ่งแวดลอม กิจกรรมนันทนาการ และกิจกรรมสงเสริม ศิลปวัฒนธรรม

3. มีกระบวนการติดตามและประเมินผลโครงการหรือกิจกรรม ทั้งที่จัดโดยหนวยงานและองคการนักศึกษาทุกสิ้นปการศึกษา

4. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาอยางตอเนื่อง

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 มีการจัดทําแผนสงเสริมการจัดกิจกรรมที่สอดคลองกับ

วิสัยทัศนของคณะโดยมีการจัดทําแผนกลยุทธประจําป 2550 และมีการจัดงบประมาณเพื่อสนับสนุน โดยมีคณาจารยเขารวมทั้งคณะ

3.2 – 01 3.2 – 02

ระดับ 2 มีการสงเสริมใหหนวยงานและองคการนักศึกษาจัดกิจกรรมครบทั้ง 5 ดาน คือ

1. ดานวิชาการ เชน โครงการราชภัฏวิชาการ 2. ดานกีฬาและสงเสริมสุขภาพ เชน กีฬาภายในคณะ

และระหวางคณะ 3. ดานบําเพ็ญประโยชนและรักษาสิ่งแวดลอม เชน

โครงการทําดีเพื่อพอ 4. ดานนันทนาการ เชน โครงการวันเด็ก 5. ดานสงเสริมศิลปวัฒนธรรม เชน ลอยกระทง บายศรี

สูขวัญและทอดกฐิน

3.2 – 03

66

ระดับ 3 มีการติดตามประเมินผลโครงการและกิจกรรม 3.2 – 04

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถวนและสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค

ระดับ 3 3 2

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย จุดแข็ง/แนวทางเสริม : มีการจัดทําแผนและโครงการโดยระดมความคิดจากอาจารยทั้งคณะ

แนวทางพัฒนาปรับปรุง : ควรมีการนําผลการประเมินเพื่อใชในการปรับปรุง การจัดกิจกรรมอยางตอเนื่อง

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง

3.2–01 คําสั่งคณะเทคโนโลยีการเกษตร เรื่องแตงต้ังกรรมการเขารวมจัดทําแผนกลยุทธ 3.2–02 คูมือจัดกิจกรรมนักศึกษา

3.2–03 สรุปโครงการ / กิจกรรมนักศึกษา

3.2–04 รายงานผลการดําเนินโครงการ

67

องคประกอบท่ี 4 การวิจัย

ตัวบงชี้ท่ี 4.1 มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและงานสรางสรรค

ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P)

เกณฑมาตรฐาน : ขอ 1. มีการจัดทําระบบบริหารงานวิจัยและงานสรางสรรค เพื่อใหบรรลุเปาหมายตามแผนของสถาบันและ

สอดคลองกับยุทธศาสตรการวิจัยของชาติ 2. มีการจัดทําระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการบริหารงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ใช

ประโยชนไดจริง 3. มีการจัดสรรทรัพยากรการเงิน ทรัพยากรบุคคล แหลงคนควาตาง ๆ เพื่อสนับสนุนงานวิจัยและงาน

สรางสรรค 4. มีระบบและกลไกพัฒนาทรัพยากรบุคคลดานการวิจัย 5. มีระบบสรางขวัญและกําลังใจและยกยองนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยและงานสรางสรรคดีเดน 6. มีระบบและกลไกสงเสริมความรวมมือระหวางนักวิจัยกับองคกรภายนอกทั้งภาครัฐ เอกชน และ

ภาคอุตสาหกรรม

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ มีการดําเนินการ 3-4 ขอ มีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอ

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ขอ 1 มีการจัดทํานโยบายคณะ แผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการ

โครงการ พ.ศ. 2546 – 2550 คณะเทคโนโลยีการเกษตรและคําสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาที่ 251/2548 เรื่องแตงตั้งคณะกรรมการบริหารคณะเทคโนโลยีการเกษตรใหมีผูรับผิดชอบงานวิชาการและวิจัย

4.1 – 01 4.1 – 02 4.1 – 03

ขอ 2 มีการจัดทําระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของการบริหารงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ใชประโยชนไดจริงโดยจัดทําฐานขอมูลรายป

4.1 – 04

ขอ 3 มีการจัดสรรทรัพยากรการเงิน ทรัพยากรบุคคล แหลงคนควาตาง ๆ เพื่อสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรค ไดมีการจัดสรรงบประมาณของคณะและกําหนดบุคลากรรับผิดชอบหองปฏิบัติการกลางคณะเทคโนโลยีการเกษตรเพื่ออํานวยความสะดวกแกการทํางานวิจัยของบุคลากร

4.1 - 05 4.1 – 06 4.1 – 07 4.1 – 09

68

ขอ 4 มีระบบและกลไกพัฒนาทรัพยากรบุคคลดานการวิจัย เชน นโยบายดานวิจัย มีผูรับชอบเชิงนโยบาย โครงการอบรม งบประมาณ คําสั่งไปราชการงานวิจัยดวย

4.1 – 02 4.1 – 03 4.1 – 05 4.1 – 06 4.1 – 07 4.1 – 08 4.1 – 10 4.1 – 11 4.1 – 12

ขอ 5 มีระบบสรางขวัญและกําลังใจและยกยองนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยและสรางสรรคดีเดน เชน ประกาศมหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา เรื่องภาระงานอาจารย ผูที่ไดรับรางวัลนักวิจัย

4.1 – 10 4.1 – 12

ขอ 6 มีระบบและกลไกสงเสริมความรวมมือระหวางนักวิจัยกับองคกรภายนอกทั้งภาครัฐ เอกชนและภาคอุตสาหกรรม

4.1 – 13 4.1 – 14

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและงานสรางสรรค

ขอ 5 6 3

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย จุดแข็ง/แนวทางเสริม : คณะเทคโนโลยีการเกษตร มีนโยบายและแผนงานดานการวิจัยโดยการสรางองคความรูใหมและการวิจัยตามความตองการของทองถิ่น โดยมีรองคณบดีฝายวิชาการรับผิดชอบใหเปนไปตามนโยบาย จัดใหมีโครงการพัฒนาเพิ่มศักยภาพการวิจัยแกคณาจารยและบุคลากรของคณะและสนับสนุนใหมีการพิมพและนําเสนองานวิจัยอยางตอเนื่อง รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 4.1–01 แผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการ พ.ศ. 2546 -2550 คณะเทคโนโลยีการเกษตร 4.1–02 นโยบายคณะดานการวิจัยในรายงานประจําป 4.1–03 คําสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาที่ 251/2548 เรื่องแตงตั้งคณะกรรมการ

บริหารคณะเทคโนโลยีการเกษตร 4.1–04 ฐานขอมูลงานวิจัย

69

4.1-05 คูมือการเบิกจายงบประมาณ 4.1–06 เอกสารหลักฐานการรับทุนสนับสนุนงบประมาณวิจัยของบุคลากรในคณะ 4.1–07 กําหนดภาระหนาที่ของเจาหนาที่หองปฏิบัติการ 4.1–08 โครงการอบรมเรื่อง การวิจัยเชิงคุณภาพสําหรับนักวิทยาศาสตรดาน

การเกษตร 4.1–09 อาคารปฏิบัติการกลาง อาคารวิจัยและปฏิบัติการสัตวบาล อาคารวิทยาศาสตร

และเทคโนโลยีการอาหาร และอาคารการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา สถานีปฏิบัติการตางๆ

4.1–10 ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เรื่อง ภาระงานของอาจารยประจํา 4.1 – 11 ประกาศสถาบันราชภัฏสงขลา เรื่องแนวปฏิบัติในการรับจายเงินกองทุน

พัฒนาการวิจัยของผูที่ไดรับทุน 4.1 – 12 โครงการวิจัยที่ไดรับรางวัลจาก วช. 4.1 – 13 รายช่ือทั้งภาคอุตสาหกรรมและเอกชนที่เขารับในโครงการ IRPUS 4.1 – 14 รายช่ือนักวิจัยที่รับทุนเครือขายวิจัยภาคใตตอนลาง

70

ตัวบงชี้ท่ี 4.2 มีระบบบริหารจัดการความรูจากงานวิจัยและงานสรางสรรค

ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P)

เกณฑมาตรฐาน : ขอ 1. มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยและงานสรางสรรคทั้งในวงการวิชาการและการ

นําไปใชประโยชน 2. มีระบบรวบรวม คัดสรร วิเคราะหและสังเคราะหความรูจากงานวิจัยและงานสรางสรรคที่เช่ือถือไดและ

รวดเร็วทันตอการใชประโยชน 3. มีการสรางเครือขายเผยแพรผลงานวิจัยและงานสรางสรรคไปยังผูเกี่ยวของทั้งภายในและภายนอก

สถาบัน 4. มีระบบและกลไกการสนับสนุนความรวมมือระหวางนักวิจัยกับองคการภายนอกสถาบันเพื่อการนํา

ผลงานไปใชประโยชน 5. มีกลไกสนับสนุนการจดสิทธิบัตรการซื้อขายทรัพยสินทางปญญา ตลอดจนการคุมครองสิทธิของ

งานวิจัย หรือสิ่งประดิษฐ หรือนวัตกรรมใหแกนักวิจัยเจาของผลงาน เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ มีการดําเนินการ 3 ขอ มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอ

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ขอ 1 มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยและ

นําไปใชประโยชน โดยมีนโยบายคณะฯ ดานการวิจัย งบประมาณสนับสนุนไปราชการเพื่อการวิจัย/มีวารสารของคณะฯ

4.2 – 01 4.2 – 02 4.2 – 08

ขอ 2 มีระบบรวบรวม คัดสรร วิเคราะหและสังเคราะหความรูจากงานวิจัยและงานสรางสรรคที่เช่ือถือไดและรวดเร็วทันตอการใชประโยชน เชน เว็บไซตของคณะเกี่ยวกับงานวิจัย

4.2 – 03 4.2 – 04

ขอ 3 มีการสรางเครือขายเผยแพรงานวิจัยและงานสรางสรรคไปยัง

ผูเกี่ยวของทั้งภายในและภายนอกสถาบัน เชน ฐานขอมูล และรายช่ือหนวยงานเพื่อการวิจัยและแลกเปลี่ยนวารสารกับคณะฯ

4.2 – 04 4.2 – 05

ขอ 4 มีระบบและกลไกการสนับสนุนความรวมมือระหวางนักวิจัยกับองคการภายนอกเพื่อการนําไปใชประโยชน เชน ทุนจาก IRPUS และเครือขายวิจัยภาคใตตอนลาง

4.2 – 06 4.2 – 07

71

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีระบบบริหารจัดการความรูจากงานวิจัยและงานสรางสรรค ขอ 3 4 3

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

จุดแข็ง/แนวทางเสริม : คณะฯ มีนโยบายดานการวิจัย สําหรับใหอาจารยดําเนินการวิจัยรวมกับนักวิจัยภายนอก รวมทั้งผูประกอบการภาคอุตสาหกรรมและเอกชน สนับสนุนใหมีการเผยแพรผลงานวิจัยไปยังกลุมที่ใชประโยชนอยางจริงจัง

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 4.2–01 นโยบายดานการวิจัยของคณะเทคโนโลยีการเกษตร 4.2–02 วารสารเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 4.2–03 ฐานขอมูลงานวิจัย 4.2–04 ขอมูลงานวิจัยบนเว็บไซตของคณะ 4.2-05 รายช่ือหนวยงานตอบรับวารสารเทคโนโลยีการเกษตรและแลกเปลี่ยน

วารสาร 4.2–06 รายช่ือภาคอุตสาหกรรม ผูประกอบการและเอกชนที่รวมกําหนดปญหา

วิจัยและนําผลวิจัยไปใชของโครงการ IRPUS 4.2–07 รายช่ือนักวิจัยของคณะฯ และนักวิจัยที่รับทุนจากเครือขายวิจัยภาคใต

ตอนลาง 4.2–08 เอกสารหลักฐานการรับทุนสนับสนุนงบประมาณการวิจัยจากแหลงทุน

ภายในและภายนอก

72

ตัวบงชี้ท่ี 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารย ประจํา

ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา (I)

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

อยูระหวาง 1 – 16,999.- บาท 17,000.- บาท – 24,999.- บาท มากกวาหรือเทากับ 25,000.- บาท

ขอมูลการดําเนินงาน : ในปการศึกษา 2550 คณะเทคโนโลยีการเกษตร มีอาจารยประจํา (ไมนับรวมอาจารยที่ลาศึกษาตอ) จํานวน 19 คน มีอาจารยในคณะไดรับเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย จํานวน 11 เรื่อง รวมเงินสนับสนุน 2,088,600 บาท คิดเปนจํานวนเงินสนับสนุนวิจัยและงานสรางสรรคภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยตออาจารยประจํา (ไมนับอาจารยลาศึกษาตอ) เทากับ 109,926.31 บาท / คน

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา

บาท 25,000 109,926.31 3

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

จุดแข็ง/แนวทางเสริม : คณาจารยคณะเทคโนโลยีการเกษตรมีความกระตือรือรนและมีศักยภาพในการทํางานวิจัยในสาขาวิชาชีพที่สอดคลองกับแหลงทุน

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 4.3–01 รายงานการประเมินตนเองปการศึกษา 2550 4.3–02 เอกสารหลักฐานการรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากแหลงทุนภายใน

และภายนอกของคณะเทคโนโลยีการเกษตร

73

ตัวบงชี้ท่ี 4.4 รอยละของงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพร ไดรับการจดทะเบียนทรัพยสินทาง ปญญาหรืออนุสิทธิบัตร หรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและในระดับนานาชาติตอ จํานวนอาจารยประจํา

ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต (O) เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 รอยละ 1 – รอยละ 19 รอยละ 20 – รอยละ 29 มากกวาหรือเทากับรอยละ 30

ขอมูลการดําเนินงาน : ในปการศึกษา 2550 คณะเทคโนโลยีการเกษตร มีผลงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพรระดับชาติ จํานวน 16 เรื่อง โดยคิดจากจํานวนอาจารยประจํา (ไมนับอาจารยลาศึกษาตอ) จํานวน 19 คน คิดเปน รอยละ 84.21

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

รอยละของงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพร ไดรับการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาหรืออนุสิทธิบัตร หรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและในระดับนานาชาติตอจํานวนอาจารยประจํา

รอยละ 20 84.21 3

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย จุดแข็ง/แนวทางเสริม : คณาจารยมีศักยภาพในการทําวิจัย ควรมีการสงเสริมคณาจารยในเรื่องสิ่งอํานวยควมสะดวกใหแกคณาจารยไดมีกําลังใจในการทําวิจัย รวมทั้งควรมีนักวิจัยสาย ข. ทํางานรวมกับอาจารย รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 4.4–01 หลักฐานการเผยแพรงานวิจัย

74

องคประกอบท่ี 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ท่ี 5.1 มีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมายของสถาบัน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P) เกณฑมาตรฐาน : ระดับ

1. มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ และแผนดําเนินงานของการบริการทางวิชาการแกสังคม 2. มีคณะกรรมการ คณะทํางานหรือหนวยงานดําเนินการใหบริการทาง วิชาการแกสังคมตามแผนที่

กําหนด 3. มีการกําหนดหลักเกณฑและหรือระเบียบในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม 4. มีการประเมนิผลการปฏิบัติงานตามแผนที่กําหนด 5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการทางวิชาการแกสังคม 6. มีการจัดทําแผนการเชื่อมโยงและบูรณาการการบริการทางวิชาการแกสังคมเขากับการเรียนการสอน

หรือการวิจัย หรือการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 7. มีการประเมินสัมฤทธิผลและนําผลการประเมินไปพิจารณาปรับปรุงความเชื่อมโยงและบูรณาการ

ระหวางการบริการทางวิชาการแกสังคมกับภารกิจ อื่น ๆ ของสถาบัน

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ5 ขอแรก มีการดําเนินการ 5-6 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 คณะมีการจัดทํานโยบายแผนกลยุทธและแผนงานของการ

บริการวิชาการแกสังคม 5.1 – 01

ระดับ 2 คณะมีการแตงต้ังคณะทํางานในการใหบริการวิชาการแกสังคม 5.1 – 02 ระดับ 3 มีการกําหนดหลักเกณฑระเบียบในการใหบริการวิชาการแก

สังคม 5.1 – 03

ระดับ 4 มีการประเมินผลการปฏิบัติงาน 5.1 – 03 ระดับ 5 นําผลการประเมินไปปรับปรุงบริการวิชาการ 5.1 - 04

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมายของสถาบัน

ระดับ 4 5 2

75

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย จุดท่ีควรพัฒนา/ปรับปรุง : แผนเชื่อมโยงและปฏิบัติการไมชัดเจน

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : จัดทําแผนการเชื่อมโยงและบูรณาการการบริการวิชาการแกสังคมใหชัดเจน

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 5.1–01 แผนกลยุทธคณะเทคโนโลยีการเกษตร 5.1–02 คําสั่งแตงต้ังคณะกรรมการดําเนินโครงการใหบริการวิชาการ 5.1–03 โครงการบริการวิชาการ 5.1–04 แบบประเมินผลโครงการบริการวิชาการ

76

ตัวบงชี้ท่ี 5.2 รอยละของอาจารยประจําที่มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาติตออาจารยประจํา

ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา (I)

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

อยูระหวาง รอยละ 1 – รอยละ 24 รอยละ 25 – รอยละ 34 มากกวาหรือเทากับรอยละ 35

ขอมูลการดําเนินงาน : ปการศึกษา 2550 คณะเทคโนโลยีการเกษตรมีอาจารยที่เปนวิทยากร กรรมการวิชาการ กรรมการวิทยานิพนธ และกรรมการวิชาชีพ รวมทั้งสิ้น 8 คน จากอาจารยประจําทั้งหมด 23 คน คิดเปนรอยละ 34.78

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

รอยละของอาจารยประจําที่มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาติตออาจารยประจํา

รอยละ 25 34.78 2

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 5.2–01 เอกสารหลักฐานเปนกรรมการวิทยานิพนธ กรรมการวิชาการและ

กรรมการวิชาชีพ 5.2–02 เอกสารหลักฐานการเปนวิทยากร

77

ตัวบงชี้ท่ี 5.3 รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการทางวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการ การพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติตอ อาจารยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต (O) เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 อยูระหวาง รอยละ 1 – รอยละ 24 รอยละ 25– รอยละ 39 มากกวาหรือเทากับรอยละ 40

ขอมูลการดําเนินงาน : ปการศึกษา 2550 คณะเทคโนโลยีการเกษตร มีกิจกรรม / โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพ จํานวนทั้งสิ้น 19 โครงการ มีอาจารยประจํา (ไมรวมอาจารยที่ลาศึกษาตอ) 19 คน คิดเปนรอยละ 100

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการทางวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติตออาจารยประจํา

รอยละ 40 100 3

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 5.3–01 โครงการบริการวิชาการคณะเทคโนโลยีการเกษตร ปการศึกษา 2550 5.3–02 Common data set ขอมูลจํานวนอาจารยประจําคณะ

78

ตัวบงชี้ท่ี 5.4 รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการ ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต (O) เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 รอยละ 65 - รอยละ 74 รอยละ 75 – รอยละ 84 มากกวาหรือเทากับรอยละ 85

ขอมูลการดําเนินงาน : รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการทางวิชาการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มีความพึงพอใจเฉลี่ยเทากับ 4.04 คิดเปนรอยละ 80.8 การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการ รอยละ มากกวา 75

80.8 2

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย จุดท่ีควรพัฒนา/ปรับปรุง : บางโครงการไมมีการประเมินความพึงพอใจของผูเขารับบริการ แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : ทางคณะควรอํานวยความสะดวกสบายใหแกผูจัดใหบริการวิชาการ โดยเตรียมแบบฟอรมการประเมินความพึงพอใจ รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 5.4–01 รายงานสรุปผลการสํารวจความพึงพอใจของผูรับบริการทางวิชาการ

79

ตัวบงชี้ท่ี 5.5 จํานวนแหลงใหบริการทางวิชาการและวิชาชีพที่ไดรับการยอมรับในระดับชาติหรือระดับ นานาชาติ (เฉพาะสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคม) ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต (O) เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 1-2 แหลง 3 แหลง มากกวาหรือเทากับ 4 แหลง

ขอมูลการดําเนินงาน : ปการศึกษา 2550 คณะเทคโนโลยีการเกษตรไดจัดใหมีแหลงใหบริการวิชาการและวิชาชีพ 4 แหลง ไดแก สถานีปฏิบัติการสัตวบาล สถานีปฏิบัติการพืชสวน สถานีปฏิบัติการพืชไร และอาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีการอาหาร

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

จํานวนแหลงใหบริการทางวิชาการและวิชาชีพที่ไดรับการยอมรับในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ

แหลง 2 4 3

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 5.5–01 ภาพถายแหลงใหบริการวิชาการและวิชาชีพของคณะ

เทคโนโลยีการเกษตร

80

องคประกอบท่ี 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ท่ี 6.1 มีระบบและกลไกในการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P)

เกณฑมาตรฐาน : ระดับ 1. มีการกําหนดนโยบายที่ชัดเจนปฏิบัติได และมีแผนงานรองรับ 2. มีการกําหนดกิจกรรมหรือโครงการที่เปนประโยชนสอดคลองกับแผนงาน และมีการดําเนินกิจกรรม

อยางตอเนื่อง 3. มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมกับภารกิจดานอื่น ๆ 4. มีการสงเสริมการดําเนินงานดานศิลปวัฒธรรมทั้งในระดับชาติและนานาชาติ อาทิ การจัดทําฐานขอมูล

ดานศิลปวัฒนธรรม การสรางบรรยากาศศิลปะและวัฒนธรรม การจัดกิจกรรม ประชุม เสวนาทาง วิชาการ การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนอยางพอเพียงและตอเนื่อง

5. มีการกําหนดหรือสรางมาตรฐานดานศิลปวัฒนธรรม โดยผูเช่ียวชาญ และมีผลงานเปนที่ยอมรับในระดับชาติหรือนานาชาติ

6. มีการเผยแพรและบริการดานศิลปวัฒนธรรมในระดับชาติและนานาชาติ อาทิ มีสถานที่หรือเวทีแสดงผลงาน จัดทําวารสารศิลปวัฒนธรรมในระดับ ตาง ๆ มีความรวมมือในการใหบริการวิชาการดานศิลปวัฒนธรรมกับสังคม ในระดับตาง ๆ

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3 ขอแรก มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 คณะมีการกําหนดนโยบายที่ชัดเจนปฏิบัติไดและมีแผนงาน

รองรับ 6.1 – 01

ระดับ 2 มีการกําหนดกิจกรรมหรือโครงการที่เปนประโยชนสอดคลองกับแผนงาน และมีการดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง

6.1 – 02

ระดับ 3 มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมกับภารกิจดานอื่นๆ

6.1 – 03

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีระบบและกลไกในการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ระดับ 3 3 2

81

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

จุดท่ีควรพัฒนา/ปรับปรุง : - ควรมีการกําหนดหรือสรางมาตรฐานทางดานศิลปวัฒนธรรมโดยผูเช่ียวชาญและมีผลงานเปนที่

ยอมรับในระดับชาติ - ควรมีการเผยแพรและบริการดานศิลปวัฒนธรรมในระดับชาติ

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 6.1–01 แผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการของคณะเทคโนโลยีการเกษตร 6.1–02 โครงการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 6.1–03 โครงการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมที่มีการบูรณการเขากับภารกิจ

อื่นๆ

82

องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ท่ี 7.1 คณะกรรมการประจําหนวยงาน ใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการและสามารถ ผลักดันหนวยงานใหแขงขันไดในระดับสากล ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P) เกณฑมาตรฐาน : ขอ

1. คณะกรรมการประจําคณะ มีบทบาทสําคัญในการกําหนดทิศทาง ยุทธศาสตรและนโยบายของคณะ 2. คณะกรรมการประจําคณะ มีการติดตามผลการดําเนินงานตาม ภารกิจหลักของคณะมากกวาปละ 2 ครั้ง 3. มีการประชุมคณะกรรมการประจําคณะ อยางต่ํารอยละ 80 ของแผน ในการประชุมแตละครั้งมี

กรรมการเขารวมโดยเฉลี่ยไมนอยกวารอยละ 80 โดยมีการสงเอกสารใหกรรมการอยางนอย 7 วันกอนการประชุม

4. คณะกรรมการประจําคณะ จัดใหมีการประเมินผลงานของผูบริหาร ตามหลักเกณฑที่ตกลงกันไวลวงหนา

5. คณะกรรมการประจําคณะ มีการดําเนินงานโดยใชหลักธรรมาภิบาลและสงเสริมการบริหารงานโดยใชหลักธรรมาภิบาลทั่วทั้งองคกร

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอ มีการดําเนินการ 4 ขอ มีการดําเนินการครบทุกขอ

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ขอ 1 คณะกรรมการประจําคณะมีบทบาทสําคัญในการกําหนด

ทิศทาง ยุทธศาสตรและนโยบายของคณะ โดยคณะไดดําเนินการแตงตั้งคณะกรรมการประจําคณะ และดําเนินการจัด ประชุมโดยมีหนังสือเชิญประชุม และจัดทํารายงานการประชุม

7.1 – 01 7.1 - 02 7.1 – 03

ขอ 2 คณะกรรมการประจําคณะมีการดําเนินงานโดยใชหลักธรรมาภิบาลและสงเสริมการบริหารงาน ดังเชน การใหคําแนะนํา ขอเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนาหลักสูตรของคณะเพื่อรักษาผลประโยชนเรื่องคุณภาพทางวิชาการ

7.1 – 03

83

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

คณะกรรมการประจําหนวยงานใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ และสามารถผลักดันหนวยงานใหแขงขันไดในระดับสากล

ขอ 3 2 1

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย จุดท่ีควรพัฒนา /ปรับปรุง :

1. ขาดการติดตามผลการดําเนินงานตามภารกิจหลักของคณะ 2. การประชุมของคณะกรรมการประจําคณะนอยกวารอยละ 80ของแผน 3. ขาดการประเมินผลงานของผูบริหารจากคณะกรรมการประจําคณะ

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : 1. คณะกรรมการประจําคณะควรมีการดําเนินการติดตามผลการดําเนินงานตามภารกิจหลักของคณะ

อยางนอยปละ 3 ครั้ง 2. คณะกรรมการประจําคณะควรมีการประชุมใหเปนไปตามแผน 3. คณะกรรมการประจําคณะควรมีการประเมินผลงานของคณบดี

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 7.1–01 คําสั่งแตงต้ังคณะกรรมการประจําคณะ 7.1–02 หนังสือเชิญประชุมคณะกรรมการประจําคณะ 7.1–03 รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําคณะ

84

ตัวบงชี้ท่ี 7.2 ภาวะผูนําของผูบริหารทุกระดับของหนวยงาน

ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P)

เกณฑมาตรฐาน : ระดับ 1. มีกระบวนการสรรหาผูบริหารที่เปนระบบ โปรงใส ตรวจสอบได 2. ผูบริหารดําเนินการบริหารดวยหลักธรรมาภิบาลและใชศักยภาพภาวะผูนําที่มีอยู โดยคํานึงถึงประโยชน

ของหนวยงานและผูมีสวนไดสวนเสีย 3. มีกระบวนการประเมินศักยภาพและผลการปฏิบัติงานของผูบริหารที่ชัดเจนและเปนที่ยอมรับใน

หนวยงาน 4. มีการจัดทําแผนและกลไกการพัฒนาศักยภาพของผูบริหารตามผลการประเมินและดําเนินการตามแผน

อยางครบถวน

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร

ระดับ 1 คณะมีกระบวนการสรรหาผูบริหารที่เปนระบบ โปรงใส ตรวจสอบได โดยคณะไดดําเนินการสรรหาผูบริหารโดยใช ขอบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาวาดวยคุณสมบัติ หลักเกณฑ และวิธีการสรรหาคณบดี พ.ศ.2547

7.2-01 7.2-02

ระดับ 2 ผูบริหารดําเนินการบริหารดวยหลักธรรมาภิบาลและใชศักยภาพภาวะผูนําที่มีอยู โดยคํานึงถึงประโยชนของหนวยงานและผูมีสวนไดสวนเสีย โดยผูบริหารมีระบบการทํางานที่โปรงใสใหทุกคนมีสวนรวมในการกําหนดและรับรูการบริหารเชน การจัดสรรงบประมาณ และการเสนอโคงการ

7.2-03 7.2-04 7.2-05

ระดับ 3 คณะมีกระบวนการประเมินศักยภาพ และผลการปฏิบัติงานของคณบดีจากการรายงานสรุปผลการทํางานประจําป

7.2-06

85

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

ภาวะผูนําของผูบริหารทุกระดับของหนวยงาน ระดับ 3 3 2

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

จุดท่ีควรพัฒนา /ปรับปรุง : ขาดการจัดทําแผนและกลไกการพัฒนาศักยภาพของผูบริหารตามผลการประเมิน และดําเนินการตามแผนอยางครบถวน

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง :

ควรจัดทําแผนและกลไกในการพัฒนาศักยภาพของผูบริหารตามผลการประเมินและดําเนินการตามแผนอยางครบถวน รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 7.2–01 ขอบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา วาดวยคุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการ

สรรหาคณบดี พ.ศ. 2547 7.2–02 เอกสารหลักฐานการสรรหาคณบดี 7.2–03 หนังสือเชิญประชุมจัดสรรงบประมาณ 7.2–04 เอกสารการจัดสรรงบประมาณ 7.2-05 ตนฉบับโครงการตางๆ ที่มาจากโปรแกรมวิชา 7.2-06 รายงานการสรุปผลการทํางานประจําปของคณบดี

86

ตัวบงชี้ท่ี 7.3 มีการพัฒนาหนวยงานสูองคการเรียนรู ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P) เกณฑมาตรฐาน : ระดับ

1. มีการทบทวนและจัดแผนการจัดการความรู เพื่อมุงสูองคกรแหงการเรียนรูและประชาสัมพันธเผยแพรใหประชาคมของหนวยงานรับทราบ

2. มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรู และประสบความสําเร็จตาม เปาหมายไมนอยกวา รอยละ 50 3. มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตาม เปาหมายรอยละ 100 4. มีการติดตามประเมินผลความสําเร็จของการจัดการความรู 5. มกีารนําผลการประเมินไปปรับใชในการพัฒนากระบวนการจัดการความรูใหเปนสวนหน่ึงของ

กระบวนงานปกติและปรับปรุงแผนการจัดการความรู เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3 ขอแรก มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร

ระดับ 1 คณะใหความสําคัญกับการจัดการความรู จึงไดใหคณาจารยไดเขารวมประชุมอบรมเกี่ยวกับการจัดการความรูที่จัดโดยมหาวิทยาลัย เพื่อใหมีความเขาใจในขั้นตอนและวิธีการจัดการความรู

7.3-01

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีการพัฒนาหนวยงานสูองคการเรียนรู ระดับ 2 1 1

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

จุดท่ีควรพัฒนา /ปรับปรุง: ควรจัดทําแผนการจัดการความรูเพื่อมุงสูองคกรแหงการเรียนรู ในประเด็นที่ประชาคมใหความเห็นชอบ

รวมกัน และประชาสัมพันธเผยแพรใหประชาคมของหนวยงานรับทราบ

87

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : กระตุนใหผูที่เกี่ยวของ หรือทุกคน เห็นความสําคัญของการจัดการความรู และดําเนินกิจกรรมการจัดการความรูภายในคณะ

88

ตัวบงชี้ท่ี 7.4 มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไวใหบุคลากร มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P) เกณฑมาตรฐาน : ระดับ

1. มีการจัดทําแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนรูปธรรม ภายใตการวิเคราะหขอมูลเชิงประจักษ 2. มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนการสงเสริมสมรรถนะในการปฏิบัติงาน เชน การ

สรรหา การจัดวางคนลงตําแหนง การกําหนดเสนทางเดินของตําแหนง การสนับสนุนเขารวมประชุม ฝกอบรมและหรือเสนอผลงานทางวิชาการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน มาตรการสรางขวัญกําลังใจ มาตรการลงโทษ รวมทั้งการพัฒนา และรักษาบุคลากรที่ มีคุณภาพ

3. มีระบบสวัสดิการและเสริมสรางสุขภาพที่ดี และสรางบรรยากาศที่ดีใหบุคคลทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและอยูอยางมีความสุข

4. มีระบบสงเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพสูงใหมีโอกาสประสบ ความสําเร็จและกาวหนาในอาชีพอยางรวดเร็วตามสายงาน

5. มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับอยางเปนระบบ 6. มีการนําผลการประเมินความพึงพอใจเสนอผูบริหารระดับสูง และมีแนวทางในการปรับปรุงพัฒนา

เพื่อใหดีขึ้น เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3-4 ขอแรก มีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรก

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 คณะมีการจัดทําแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลเปนรูปธรรม

ภายใตการวิเคราะหขอมูลเชิงประจักษ โดยดําเนินการตามแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการคณะเทคโนโลยีการเกษตร พ.ศ. 2546 – 2550 และแผนความตองการอัตรากําลัง

7.4-01 7.4-02 7.4.03

ระดับ 2 คณะมีระบบและกลไกการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนการสงเสริมสมรรถนะในการปฏิบัติงาน เชน การสํารวจความตองการพัฒนาตนเองของบุคลากร การทําโครงสรางอัตรากําลัง/ตําแหนงในสํานักงานคณบดี มีการจัดสรรงบประมาณในโครงการพัฒนาบุคลากรคณะฯ งบ บกศ. และโครงการพัฒนาคุณภาพและเพิ่มศักยภาพบุคลากร งบประมาณแผนดิน รวมทั้งมี

7.4-04 7.4-05 7.4-06 7.4-07 7.4-08 7.4-09

89

การใชแบบฟอรมการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรประเภทตาง ๆ และมี ขอมูลการลาศึกษาตอของอาจารย ประกอบการบริหารเพื่อคุณภาพและประสิทธิภาพของบุคลากร

ระดับ 3 คณะมีระบบสวัสดิการและเสริมสรางสุขภาพที่ดีและสรางบรรยากาศที่ดีใหบุคลากรทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและอยูอยางมีความสุข เชน การปรับปรุงอาคาร/สถานีปฏิบัติการ

7.4-10 7.4-11

ระดับ 4 คณะมีระบบสงเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพสูงใหมีโอกาสประสบความสําเร็จและกาวหนาในอาชีพ โดยมีการจัดสรรงบประมาณในโครงการพัฒนาบุคลากรคณะฯ งบ บกศ. และโครงการพัฒนาคุณภาพและเพิ่มศักยภาพบุคลากร งบประมาณแผนดิน และมีแผนพัฒนาอาจารยของคณะ

7.4-06 7.4-12

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไวใหบุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพ

ระดับ 4 4 2

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย จุดท่ีควรพัฒนา/ปรับปรุง :

1. ขาดการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับอยางเปนระบบ 2. ขาดการนําผลการประเมินความพึงพอใจเสนอตอคณบดี

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : 1. ควรมีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับอยางเปนระบบ 2. ควรนําผลการประเมินความพึงพอใจเสนอตอคณบดีเพื่อพัฒนาแนวทางใหดีขึ้น

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 7.4–01 แผนกลยุทธคณะเทคโนโลยีการเกษตร พ.ศ. 2546-2550 7.4–02 แผนปฏิบัติการและโครงการหลักคณะเทคโนโลยีการเกษตร

พ.ศ. 2546 - 2550 7.4–03 แผนความตองการอัตรากําลัง 7.4–04 แบบสํารวจความตองการพัฒนาตนเองของบุคลากร 7.4-05 โครงสรางอัตรากําลัง/ตําแหนงในสํานักงานคณบดี คณะ

90

เทคโนโลยีการเกษตร 7.4–06 เอกสารสรุปการใชงบประมาณพัฒนาบุคลากร 7.4–07 แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของอาจารย 7.4–08 แบบบันทึกการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ 7.4–09 ขอมูลการลาศึกษาตอของอาจารย 7.4–10 เอกสารปรับปรุงอาคาร/สถานีปฏิบัติการ 7.4-11 โครงการตรวจสุขภาพประจําป (อางของมหาวิทยาลัย) 7.4-12 แผนพัฒนาอาจารย คณะเทคโนโลยีการเกษตร

91

ตัวบงชี้ท่ี 7.5 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา (I) เกณฑมาตรฐาน : ระดับ

1. มีนโยบายในการจัดทําระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ 2. มีระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ 3. มีการประเมินประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล 4. มีการประเมินความพึงพอใจของผูใชฐานขอมูล 5. มีการนําผลการประเมนิในขอ 3 และ 4 มาปรับปรุงระบบฐานขอมูล 6. มีการเชื่อมโยงระบบฐานขอมูลของหนวยงานผานระบบเครือขายกับสถาบัน

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 มีการดําเนินการไมครบ 2 ขอแรก มีการดําเนินการ 2 ขอแรก มีการดําเนินการอยางนอย 3 ขอแรก

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 คณะมีนโยบายในการจัดทําระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ

เชน นโยบายหลักในการพัฒนาดานตาง ๆ 7.5-01

ระดับ 2 คณะมีระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจดานการบริหารงบประมาณโดยมีการจัดทําคูมือเบิกจายงบประมาณ และมีระบบฐานขอมูล

7.5-02 7.5-03

ระดับ 3 มีการประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล เชน การใส PASSWORD ใหเฉพาะผูบริหาร หรือผูที่เกี่ยวของ

7.5-04

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย

ระดับ 3 3 3

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

92

จุดท่ีควรพัฒนา/ปรับปรุง : 1. ขาดการประเมินความพึงพอใจของผูใชฐานขอมูล 2. ขาดการนําผลการประเมินมาปรับปรุงฐานขอมูล 3. ขาดการเชื่อมโยงระบบฐานขอมูลของคณะผานระบบเครือขายกับมหาวิทยาลัย

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : ควรมีการประเมินความพึงพอใจของผูใชฐานขอมูล และนําผลการประเมินมาใชพัฒนาเชื่อมโยงระบบฐานขอมูลของคณะผานระบบเครือขายกับมหาวิทยาลัย รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 7.5–01 นโยบายหลักในการพัฒนา (รายงานการประเมินตนเอง 2550) 7.5–02 ระบบฐานขอมูลดานการบริหารงบประมาณ 7.5–03 คูมือเบิกจายงบประมาณเงินรายได ปงบประมาณ พ.ศ 2550 7.5–04 มีรหัสผานของผูใชคือ คณบดี รองคณบดี และผูที่เกี่ยวของ

93

ตัวบงชี้ท่ี 7.6 ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนา หนวยงาน

ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต (O)

เกณฑมาตรฐาน : ระดับ 1. มีการเปดเผยขอมูลขาวสารแกประชาชนอยางโปรงใส ผานชองทางตาง ๆ อาทิ เอกสารสิ่งพิมพ เว็บไซต

นิทรรศการ 2. มีระบบการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผานชองทางที่เปดเผยและเปนที่รับรูกันโดยทั่วอยางนอย 3

ชองทาง 3. มีการนําความคิดเห็นของประชาชนไปประกอบการบริหารงาน โดย มีเจาหนาที่รับผิดชอบและมีการ

ดําเนินงานอยางเปนรูปธรรม 4. มีที่ปรึกษาที่มาจากภาคประชาชน ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ และมีการดําเนินกิจกรรมรวมกัน

อยางตอเนื่องและชัดเจน เชน จัดประชุมรวมกันอยางนอยปละ 2 ครั้ง 5. มีกระบวนการหรือกลไกการติดตามตรวจสอบโดยภาคประชาชน

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3-4 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 คณะมีการเปดเผยขอมูลขาวสารแกประชาชนอยางโปรงใส

ผานชองทางหลายชองทาง เชน สารประชาสัมพันธคณะ เว็บไซตคณะ นิทรรศการราชภัฏวิชาการซึ่งมีการจัดแสดงทุกป

7.6-01 7.6-02 7.6-03

ระดับ 2 คณะมีระบบรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผานชองทางที่เปดเผยและเปนที่ยอมรับโดยทั่วกันอยางนอย 3 ชองทาง เชน จากการระดมความคิดเห็นตัวแทนจากภาครัฐ ภาคเอกชน เกษตรกรและนักศึกษาศิษยเกาเพื่อปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร การแสดงคความคิดเห็นในแบบประเมินในการบริการวิชาการ และการแสดงคความคิดเห็นทางเว็บไซดคณะ

7.6-02 7.6-03 7.6-04 7.6-05

ระดับ 3 คณะมีการนําความคิดเห็นของประชาชนไปประกอบการบริหารงานโดยมีเจาหนาที่รับผิดชอบและมีการดําเนินงานอยางเปนรูปธรรม เชน การปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร

7.6-06 7.6-07

94

ระดับ 4 คณะมีที่ปรึกษาที่มาจากภาคประชาชนทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการและมีการดําเนินกิจกรรมรวมกันอยางตอเนื่องและชัดเจน โดยคณะมีการดําเนินการ จัดประชุมกรรมการประจําคณะ จัดประชุมกับกลุมแมบาน หรือเกษตรกรในการบริการวิชาการ

7.6-08 7.6-09

ระดับ 5 คณะมีกระบวนการหรือกลไกการติดตามตรวจสอบโดยภาคประชาชน โดยการรับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ.

7.6-10

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนาหนวยงาน

ระดับ 4 5 3

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 7.6–01 สารประชาสัมพันธคณะ 7.6–02 เว็บไซตคณะ 7.6–03 โครงการราชภัฏวิชาการ ป 2550 7.6–04 หนังสือเชิญระดมความคิดเห็นและปรับปรุงหลักสูตร 7.6-05 แบบประเมินในการบริการวิชาการ 7.6–06 เอกสารสรุปการระดมความคิดเห็น 7.6–07 หลักสูตรปรับปรุงและพัฒนา 7.6–08 รายช่ือกรรมการประจําคณะ 7.6–09 เอกสารการประชุมกลุมแมบาน หรือเกษตรกร ในการบริการวิชาการ

หรือศึกษาดูงาน หรืองานวิจัย 7.6–10 ผลการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาจากภายนอก โดย สมศ.

95

ตัวบงชี้ท่ี 7.7 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติหรือ นานาชาติ

ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต (O) เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 รอยละ 0.1 – รอยละ 0.99 รอยละ 1 – รอยละ 1.99 มากกวาหรือเทากับรอยละ 2

ผลการดําเนินงาน : อาจารยประจําที่ไดรับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพ ระดับชาติ มี 1คนแตได 2 รางวัล คิดเปนรอยละของอาจารยประจํา เทากับ 8.69 การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติหรือนานาชาติ

รอยละ 2 8.69 3

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย จุดท่ีควรพัฒนา /ปรับปรุง: ขาดการสงเสริมสนับสนุนใหอาจารยสรางและพัฒนาผลงานวิชาการและวิชาชีพ แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : สงเสริมสนับสนุนใหอาจารยสราง/พัฒนาและนําเสนอผลงานวิชาการและวิชาชีพอยางตอเนื่อง จนไดรับรางวัลในระดับชาติหรือนานาชาติ รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 7.7–01 รางวัลขาราชการพลเรือนดีเดน 7.7–02 รางวัลจากโครงการวิจัยเรื่อง ศึกษาเทคนิคการเพาะเลี้ยง การเก็บเกี่ยว และ

การเก็บรักษาสาหรายสไปรูไลนาสด เพื่อเพิ่มผลผลิตและอาหารปลอดภัย

96

ตัวบงชี้ท่ี 7.8 มีการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใชในกระบวนการบริหารการศึกษา

ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P)

เกณฑมาตรฐาน : ระดับ 1. มีการแตงต้ังคณะกรรมการหรือคณะทํางานบริหารความเสี่ยง โดยมีผูบริหารระดังสูงและตัวแทนที่

รับผิดชอบพันธกิจหลักของหนวยงานรวมเปนคณะกรรมการหรือคณะทํางาน โดยผูบริหารระดับสูงตองมีบทบาท สําคัญในการกําหนดนโยบายหรือแนวทางในการบริหารความเสี่ยง

2. มีการวิเคราะหและระบุปจจัยเสี่ยงที่สงผลกระทบหรือสรางความเสียหายหรอืความลมเหลวหรือลดโอกาสที่จะบรรลุเปาหมายในการบริหารงาน และจัดลําดับความสําคัญของปจจัยเสี่ยง

3. มีการจัดแผนบริหารความเสี่ยง โดยแผนดังกลาวตองกําหนดมาตรการหรือแผนปฏิบัติการในการสรางความรู ความเขาใจใหกับบุคลากรทุกระดับใน ดานการบริหารความเสี่ยงและการดําเนินการแกไข ลด หรือปองกันความ เสี่ยงที่จะเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม

4. มีการดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง 5. มีการสรุปผลการดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ตลอดจนมีการกําหนดแนวทางและ

ขอเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยง โดยไดรับความเห็นชอบจากผูบริหารสูงสุดของหนวยงาน

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3-4 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 มีการแตงต้ังคณะกรรมการหรือคณะทํางานบริหารความเสี่ยง

โดยมีคณบดีและคณะกรรมการบริหารคณะรวมเปนคณะกรรมการ

7.8-01

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใชในกระบวนการบริหารการศึกษา

ระดับ 3 1 1

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

97

จุดท่ีควรพัฒนา/ปรับปรุง : 1. ขาดการวิเคราะหและระบุปจจัยเสี่ยงที่สงผลกระทบหรือสรางความเสียหายหรือความลมเหลวหรือ

ลดโอกาสที่จะบรรลุเปาหมายในการบริหารงาน และจัดลําดับความสําคัญของปจจัยเสี่ยง 2. ไมมีการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง และไมมีการกําหนดมาตรการหรือแผนปฏิบัติการในการ

สรางความรู ความเขาใจใหกับบุคลากรทุกระดับใน ดานการบริหารความเสี่ยงและการดําเนินการแกไข ลด หรือปองกันความ เสี่ยงที่จะเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม

3. ขาดการดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง 4. ขาดการสรุปผลการดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ตลอดจนมีการกําหนดแนวทางและ

ขอเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยง โดยไดรับความเห็นชอบจากผูบริหารสูงสุดของหนวยงาน

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : ควรมีการวิเคราะหและระบุปจจัยเสี่ยง และจําทําแผนบริหารความเสี่ยง รวมทั้งมีการดําเนินการบริหาร

ความเสี่ยงใหเปนรูปธรรม พรอมสรุปผล เสนอใหคณบดีเห็นชอบ รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 7.8–01 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของคณะ

98

ตัวบงชี้ท่ี 7.9 ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวบงช้ีและเปาหมายของระดับองคกรสูระดับบุคคล

ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต (O)

เกณฑมาตรฐาน : ระดับ 1. มีการกําหนดแนวทางการดําเนินการในการประเมินผลภายในหนวยงาน 2. มีแผนงานการประเมินผลภายในหนวยงาน 3. มีการกําหนดตัวบงช้ีและเปาหมายตามพันธกิจและยุทธศาสตรของ หนวยงาน 4. มีการจัดทํา Strategy Map ของหนวยงานในระดับคณะหรือเทียบเทา โดยกําหนดเปาประสงคของแตละ

ประเดน็ยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับหนวยงาน ใหเช่ือมโยงกับเปาประสงคและประเด็นยุทธศาสตรของสถาบัน

5. มีการยืนยันวิสัยทัศนและประเด็นยุทธศาสตรของหนวยงาน 6. มีระบบในการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีและเปาหมายตาม คํารับรองของผูบริหารระดับ

ตาง ๆ 7. มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีและเปาหมายตามคํารับรอง 8. มีการนําผลการประเมินผลการดําเนินงานของผูบริหารไปเชื่อมโยงกับระบบการสรางแรงจูงใจ

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก มีการดําเนินการ 5-7 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 คณะมีการกําหนดแนวทางการดําเนินการในการประเมินผล

ภายในคณะโดยใชนโยบายการบริหารจัดการ มีการดําเนินการ ประเมินผลโครงการ และมีแบบประเมินผล

7.9-01 7.9-02

ระดับ 2 คณะมีแผนงานการประเมินผลภายในหนวยงานโดยใชกลยุทธ

ดานการบริหารจัดการ 7.9-03

ระดับ 3 คณะมีการกําหนดตัวบงช้ีและเปาหมายตามพันธกิจและยุทธศาสตรของคณะตามแบบจัดทําแผน/รายงานผลการปฏิบัติงานและการใชจายเงินรายได

7.9-04

ระดับ 4 คณะมีการจัดทํา Strategy Map ของหนวยงานในระดับคณะ โดยกําหนดเปาหมายของแตละประเด็นยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับหนวยงาน ใหเช่ือมโยงกับเปาประสงคและประเด็นยุทธศาสตรของสถาบัน

7.9-05

99

ระดับ 5 คณะมีการยืนยันวิสัยทัศนและประเด็นยุทธศาสตรของคณะในการดําเนินการประชุมปรับแผนกลยุทธ

7.9-06

ระดับ 6 คณะมีการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีและเปาหมายตามคํารับรองของผูบริหารระดับตาง ๆโดยการจัดทําแผน / รายงานผลการปฏิบัติงานและการใชจายเงิน

7.9- 07

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวบงช้ีและเปาหมายของระดับองคกรสูระดับบุคคล

ระดับ 5 6 2

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย จุดท่ีควรพัฒนา/ปรับปรุง :

1. ขาดการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีและเปาหมายตามคํารับรอง 2. ขาดการนําผลการประเมินผลการดําเนินงานของผูบริหารไปเชื่อมโยงกับระบบการสรางแรงจูงใจ

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : 1. ควรมีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีและเปาหมายตามคํารับรอง 2. ควรนําผลการประเมินผลการดําเนินงานของผูบริหารไปเชื่อมโยงกับระบบการสรางแรงจูงใจ

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 7.9–01 นโยบายการบริหารจัดการ 7.9–02 แบบประเมิน และการประเมินผลโครงการ 7.9-03 แผนกลยุทธดานบริหารจัดการ (กลยุทธหลัก รายงานผลการดําเนินการ

ติดตาม และประเมินผลในระยะที่กําหนด ) 7.9-04 แบบจัดทําแผน / รายงานผลการปฏิบัติงานและการใชจายเงินรายได 7.9-05 แผนกลยุทธฉบับปรับปรุงใหม 7.9-06 รายงานการประชุมปรับแผนกลยุทธ 7.9- 07 แบบจัดทําแผน / รายงานผลการปฏิบัติงานและการใชจายเงินรายได (

แบบ สงป.301)

100

องคประกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ท่ี 8.1 มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะหคาใชจาย การตรวจสอบการเงินและงบประมาณ อยางมีประสิทธิภาพ

ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P) ที่ประหยัดได รอยละเงินเหลือจายสุทธิตองบประมาณดําเนินการ และตนทุนตอหนวยผลผลิตรายหลักสูตร

เกณฑมาตรฐาน : ระดับ 1. มีแผนกลยุทธทางการเงินที่สอดคลองกับยุทธศาสตรของสถาบันใหเปนไปตามเปาหมาย 2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางดานการเงิน แผนการจัดสรร และการวาง แผนการใชเงินอยางมี

ประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได 3. มีการจัดทําระบบฐานขอมูลทางการเงินที่ผูบริหารสามารถนําไปใชในการตัดสินใจและวิเคราะหสถานะ

ทางการเงิน 4. มีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบ อยางนอยปละ 2 ครั้ง 5. มีการนําขอมูลทางการเงินไปใชในการวิเคราะหคาใชจาย และวิเคราะหสถานะทางการเงินและความ

มั่นคงขององคการอยางตอเนื่อง 6. มีหนวยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหนาที่ตรวจ ติดตามการใชเงินใหเปนไปตามระเบียบและ

กฎเกณฑที่สถาบันกําหนด 7. ผูบริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย และนํา ขอมูลจากรายงานทาง

การเงินไปใชในการวางแผนและการตัดสินใจ

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก มีการดําเนินการ 5-6 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 คณะมีแผนกลยุทธทางการเงินที่สอดคลองกับยุทธศาสตรของ

สถาบันใหเปนไปตามเปาหมาย 8.1-01

ระดับ 2 คณะมีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางดานการเงินและแผนการจัดสรรและการวางแผนการใชเงินอยางมีประสิทธิภาพโปรงใส ตรวจสอบได โดยการมีนโยบายการบริหารจัดการ ดําเนินการจัดหางบประมาณลวงหนา โดยใหทุกคนมีสวนรวม

8.1-02 8.1-03

ระดับ 3 คณะมีการจัดทําระบบฐานขอมูลทางการเงินที่ผูบริหารสามารถนําไปใชในการตัดสินใจและวิเคราะหสถานะทางการเงินไดโดยใชแผนการใชจายงบประมาณประจําป2550

8.1-04 8.1-05 8.1-06

101

8.1-07 ระดับ 4 คณะมีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบอยางนอยป

ละ 2 ครั้ง 8.1-06

ระดับ 5 มีการนําขอมูลทางการเงินมาใชวิเคราะหคาใชจายและสังเคราะหสถานะทางการเงิน และความมั่นคงขององคกรอยางตอเนื่อง

8.1-04 8.1-05

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน : ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะหคาใชจาย การตรวจสอบการเงินและงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ

ระดับ ระดับ 5 ระดับ 5 2

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

จุดท่ีควรพัฒนา /ปรับปรุง: 1. ขาดหนวยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหนาที่ตรวจ ติดตามการใชเงินใหเปนไปตามระเบียบ

และกฎเกณฑที่สถาบันกําหนด 2. ผูบริหารระดับสูงไมมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย และไมมีการนํา ขอมูลจาก

รายงานทางการเงินไปใชในการวางแผนและการตัดสินใจ

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : 1. ควรมีหนวยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหนาที่ตรวจ ติดตามการใชเงินใหเปนไปตามระเบียบ

และกฎเกณฑที่สถาบันกําหนด 2. ผูบริหารระดับสูงควรมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย และนํา ขอมูลจากรายงานทาง

การเงินไปใชในกาวางแผนและการตัดสินใจ

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 8.1–01 แผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการคณะเทคโนโลยีการเกษตร พ.ศ.

2546-2550 8.1–02 นโยบายการบริหารจัดการ 8.1–03 คําขอตั้งงบประมาณเงินรายไดปงบประมาณ พ.ศ. 2550 (จาก

หนวยงานตางๆ ของคณะ) 8.1–04 แผนการใชจายงบประมาณประจําป2550

102

8.1-05 รายงานประจําป 2550 ของคณะเทคโนโลยีการเกษตร 8.1-06 แบบจัดทําแผน / รายงานผลการปฏิบัติงานและการใชจายเงิน

รายได ( แบบ สงป.301) 8.1-07 เอกสารวิเคราะหการใชจายงบประมาณรายได พ.ศ. 2550

103

ตัวบงชี้ท่ี 8.2 มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกหนวยงานรวมกัน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P) เกณฑมาตรฐาน : ระดับ

1. มีคณะกรรมการวิเคราะหความตองการการใชทรัพยากรของหนวยงาน 2. มีผลการวิเคราะหความตองการในการใชทรัพยากรของหนวยงาน 3. มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นในสถาบัน 4. มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นนอกสถาบัน 5. มีผลการประหยัดงบประมาณที่เกิดจากการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงาน อื่น ๆ

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3 ขอแรก มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 คณะมีคณะกรรมการบริหารคณะดําเนินการวิเคราะหความ

ตองการใชทรัพยากรของคณะ 8.2-01

ระดับ 2 มีผลการวิเคราะหความตองการในการใชทรัพยากรของคณะ เชน การใชโปรเจคเตอร

8.2-02

ระดับ 3 คณะมีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นในมหาวิทยาลัย

8.2-03

ระดับ 4 คณะมีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นภายนอกมหาวิทยาลัย

8.2-04 8.2-05

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกหนวยงานรวมกัน ระดับ ระดับ 4 ระดับ 4 3 การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย จุดท่ีควรพัฒนา/ปรับปรุง : ขาดผลการประหยัดงบประมาณที่เกิดขึ้น

104

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : ควรวิเคราะหผลการประหยัดงบประมาณที่เกิดขึ้น จากการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่น

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 8.2–01 คําสั่งแตงต้ังกรรมการบริหารคณะ 8.2–02 เอกสารผลการวิเคราะหการใชโปรเจคเตอร 8.2–03 แผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นภายใน

มหาวิทยาลัย 8.2–04 แผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นภายนอก

มหาวิทยาลัย 8.2–05 แบบเสนอโครงการขอทุน IPUS / หลักฐานการไดรับทุน IPUS

105

องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ท่ี 9.1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เปนสวนหน่ึงของกระบวนการบริหาร การศึกษา

ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P)

เกณฑมาตรฐาน : ระดับ 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสมกับระดับการพัฒนาสถาบัน 2. มีการกําหนดนโยบายและใหความสําคัญเรื่องการประกันคุณภาพจากคณะกรรมการระดับนโยบายและ

ผูบริหารสูงสุดของหนวยงาน ภายใตการมีสวนรวมจากภาคีทั้งภายในและภายนอกหนวยงาน 3. มีการกําหนดมาตรฐานตัวบงช้ี และเกณฑคุณภาพที่สอดคลองกับมาตรฐานการอุดมศึกษา และ

มาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ และสอดคลองกับการประเมินคุณภาพภายนอก 4. มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพที่ครบถวน ทั้งการควบคุมคุณภาพการติดตาม ตรวจสอบ และ

ประเมินคุณภาพอยางตอเนื่องเปนประจํา 5. มีการนําผลการประเมินคุณภาพมาพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงาน 6. มีระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่สนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษา และใชรวมกันทั้งระดับ

บุคคล ภาควิชา/ฝาย คณะ และสถาบัน 7. มีระบบสงเสริมการสรางเครือขายดานการประกันคุณภาพการศึกษาระหวางหนวยงานทั้งภายในและ

ภายนอกสถาบัน

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรก มีการดําเนินการ 4 ขอแรก มีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรก

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 คณะมีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่

เหมาะสมกับระดับการพัฒนาของคณะ โดยจัดทําคูมือประกันคุณภาพและรายงานการประเมินตนเอง ต้ังแตป 2546 – ปจจุบัน โดยมีคณะกรรมการจัดทําคูมือและมีคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพภายในทุกป

9.1-01

ระดับ 2 คณะไดกําหนดนโยบายและใหความสําคัญเรื่องการประกันคุณภาพ โดยมีคณะกรรมการ ผูบริหาร และบุคลากร มีสวนรวมในการพิจารณาและกําหนดนโยบาย และมีการเผยแพรใหหนวยงานภายนอกรับทราบ

9.1-02 9.1-03 9.1-04 9.1-05

106

ระดับ 3 คณะไดจัดทํามาตรฐานตัวบงช้ี และเกณฑคุณภาพที่สอดคลองกับมาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ และสอดคลองกับการประเมินคุณภาพภายนอก เชน สมศ . กพร.

9.1-01 9.1-06 9.1-07 9.1-08

ระดับ 4 คณะมีการดําเนินการตามพันธกิจของคณะ โดยมีการควบคุมคุณภาพและตรวจสอบติดตามและประเมินคุณภาพอยางตอเนื่องเปนประจํา

9.1-02 9.1-09 9.1-10

ระดับ 5 มีการนําผลการประเมินคุณภาพมาพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงาน 9..1-11 9.1-12 9.1-13 9.1-14 9.1-15

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เปนสวนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษา

ระดับ 5 5 3

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : 1. ควรมีระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่สนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษา และใชรวมกันทั้งระดับ

บุคคล ภาควิชา / ฝาย คณะ และสถาบัน 2. ควรมีระบบสงเสริมการสรางเครือขายดานการประกันคุณภาพการศึกษาระหวางหนวยงานทั้งภายใน

และภายนอกสถาบัน

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 9.1–01 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาของปการศึกษา 2550 9.1–02 รายงานประจําป 2550 9.1–03 รายงานการประชุมของคณะ 9.1–04 เว็บไซตคณะเทคโนโลยีการเกษตร 9.1–05 หนังสือนําสงรายงานประจําป 9.1–06 รายงานการประเมินตนเอง 9.1–07 คูมือปละรายงานการประเมินตนเองป 2548 9.1–08 รายงานประเมินผล สมศ.

107

9.1–09 โครงการตาง ๆ 9.1-10 ประเมินผลการเรียนการสอน 9.1-11 เอกสารแสดงการผูรับผิดชอบของแตละตัวบงช้ี 9.1-12 ผลการประเมินการตรวจประเมินภายในระดับคณะ 9.1-13 ผลการประเมินของ สมศ. 9.1-14 หนังสือ / คําสั่ง เชิญประชุมแผนกลยุทธ 9.1-15 รายงานการประชุม

108

ตัวบงชี้ท่ี 9.2 มีระบบและกลไกใหความรูและทักษะดานการประกันคุณภาพแกนักศึกษา

ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ (P)

เกณฑมาตรฐาน : ระดับ 1. มีระบบการใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแกนักศึกษา 2. มีระบบสงเสริมใหนักศึกษานําความรูดานการประกันคุณภาพไปใชกับกิจกรรมนักศึกษา 3. มีกลไกใหนักศึกษามีสวนรวมในการประกันคุณภาพการศึกษาของหนวยงาน 4. นักศึกษามีการใชกระบวนการคุณภาพ ในการพัฒนาคุณภาพของกิจกรรมหรือโครงการนักศึกษา 5. นักศึกษาสรางเครือขายการพัฒนาคุณภาพภายในหนวยงานและระหวางหนวยงาน 6. มีระบบติดตามประเมินผลการประกันคุณภาพในกิจกรรมที่นักศึกษาดําเนินการและในสวนที่นักศึกษามี

สวนรวมกับการประกันคุณภาพของหนวยงาน 7. มีการนําผลการประเมินไปพัฒนากระบวนการใหความรูและกลไกการดําเนินงานประกันคุณภาพที่

เกี่ยวของกับนักศึกษาอยางตอเนื่อง

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรก มีการดําเนินการ 4-5 ขอแรก มีการดําเนินการอยางนอย 6 ขอแรก

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 คณะมีการใหความรูเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาแก

นักศึกษา เชน โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหมของคณะ และสงเสริมสนับสนุนใหนักศึกษามีสวนรวมในการประเมินการสอนของอาจารย

9.2-01

ระดับ 2 คณะสงเสริมใหนักศึกษามีการประเมินโครงการหรือกิจกรรมที่นักศึกษาจัดทําขึ้น

9.2-02

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

มีระบบและกลไกใหความรูและทักษะดานการประกันคุณภาพแกนักศึกษา

ระดับ 3 2 1

การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

109

จุดท่ีควรพัฒนา/ปรับปรุง : ควรพัฒนาระบบและกลไกในการใหความรูและทักษะดานการประกันคุณภาพแกนักศึกษา โดยกําหนดใหมีแผนและแนวทางการดําเนินงานที่ชัดเจน แนวทางการพัฒนาปรับปรุง : ควรจัดกิจกรรมหรือโครงการใหนักศึกษาไดฝกการนําความรูและทักษะดานการประกันคุณภาพไปปฏิบัติและประยุกตใชกับกิจกรรมหรือโครงการของนักศึกษา เชน หลักการของ PDCA เปนตน รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 9.2–01 โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม 9.2-02 รายงานผลการดําเนินงานกิจกรรม / โครงการของนักศึกษา

110

ตัวบงชี้ท่ี 9.3 ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต (O)

เกณฑมาตรฐาน : ระดับ 1. มีการดําเนินการตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับภาควิชาและหนวยงาน

อยางตอเนื่อง 2. มีการปรับปรุงระบบประกันคุณภาพภายในโดยสอดคลองกับพันธกิจและพัฒนาการของหนวยงาน 3. มีการรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตอหนวยงานที่เกี่ยวของและสาธารณชนภายใน

เวลาที่กําหนด 4. มีการนําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงการดาํเนินงานของหนวยงาน อยางตอเนื่อง 5. มีนวัตกรรมดานการประกันคุณภาพที่หนวยงานพัฒนาขึ้น หรือมีการจัดทําแนวปฏิบัติที่ดี เพื่อการเปน

แหลงอางอิงใหกับหนวยงานและสถาบันอื่น ๆ

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3 ขอแรก มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก

ผลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน หมายเลขเอกสาร ระดับ 1 คณะมีการดําเนินการตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา

ภายใน ระดับภาควิชา และคณะอยางตอเนื่อง โดยคณะและภาควิชา / โปรแกรมวิชาไดจัดทํารายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ทุกปการศึกษา รวมถึงการแตงตั้งคณะกรรมการและประเมินคุณภาพภายในทั้งระดับคณะและภาควิชาอยางตอเนื่อง

9.3-01 9.3-02

ระดับ 2 มีการปรับปรุงระบบการประกันคุณภาพภายในโดยสอดคลองกับพันธกิจและพัฒนาการของคณะโดยพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาของคณะ ตามที่อธิบายในคูมือการประกันคุณภาพการศึกษาปการศึกษา 2550 สอดคลองกับพันธกิจและพัฒนาการของคณะ เชน การกําหนดเปาหมายตามตัวบงช้ีของ สกอ. สําหรับปการศึกษา 2550 โดยใชผลการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. ปการศึกษา 2549 มาปรับปรุง

9.3-01 9.3-02 9.3-03 9.3-04 9.3-04 9.3-05 9.3-09

ระดับ 3 คณะมีการรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตอมหาวิทยาลัย ภาควิชาและสาธารณชน โดยมีคณะกรรมการตรวจประเมินภายในทําหนาที่รายงานผลตอมหาวิทยาลัยและรายงานผลตอภาควิชา / โปรแกรมวิชารายงานตอมหาวิทยาลัยแจงภาควิชาและประชาสัมพันธทางเว็บไซต

9.3-03 9.3-06

111

ระดับ 4 คณะไดนําผลการประเมินมาใชในการปรับปรุง เปรียบเทียบการดําเนินงานของหนยงานอยางตอเนื่อง โดยนําผลการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. ประจําป 2549 มาพิจารณาประกอบการจัดทําแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการประจําป 2550 และนําผลมาพิจารณากําหนดโครงการและกิจกรรมใหสอดคลองกับการดําเนินงานตามตัวบงช้ีของ สกอ.

9.3-07 9.3-08

การประเมินตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงช้ี/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนที่ได

ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับ 4 4 3 การประเมินผลเทียบกับเปาหมาย : บรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย

จุดท่ีควรพัฒนา/ปรับปรุง : คณะควรจัดทําแนวทางในการปฏิบัติที่ดีในการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพ เพื่อเปนแนวทางในการผูดําเนินงานที่รับผิดชอบในแตละหนาที่ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข ขอมูลอางอิง 9.3–01 คูมือประกันคุณภาพการศึกษา 9.3–02 รายงานการประเมินตนเองของคณะ ปการศึกษา 2546 – 2549 9.3–03 รายงานการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2550 9.3–04 คําสั่งแตงต้ังคณะกรรมการประเมินคุณภาพในระดับภาควิชาและระดับ

คณะ 9.3–05 คําสั่งแตงต้ังคณะกรรมการปรับปรุงแผนกลยุทธ 9.3–06 เว็บไซตของคณะ 9.3–07 รายงานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา (สมศ.) 9.3–08 แผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการ ป 2546 – 2550 และปรับปรุงป 2551 9.3–09 คูมือการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา


Top Related