edvoc0447wp ch2

39
บทที2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี ่ยวของ การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาเกี่ยวกับการจัดการธุรกิจรีสอรทขนาดเล็ก ในจังหวัดภูเก็ต : กรณีศึกษาบางเทา บีช คอทเทจ เพื ่อศึกษากระบวนการจัดการของรีสอรทขนาดเล็กใน 4 ดาน ไดแก การจัดการดานบุคลากร การจัดการดานการเงิน การจัดการดานวัสดุอุปกรณ และการจัดการดาน ระบบการจัดการ ซึ่งผูศึกษาไดศึกษาคนควาตํารา เอกสาร และงานวิจัยตาง เพื่อทําความเขาใจถึง หลักการ แนวความคิด ทฤษฎี ดังนี1. ธุรกิจประเภทโรงแรม 2. แนวความคิด และทฤษฎีการจัดการที่เกี่ยวของกับการโรงแรม ธุรกิจประเภทโรงแรม ธุรกิจการโรงแรมเปนการจัดดําเนินธุรกิจชนิดหนึ่งซึ่งมีการดําเนินงานในหลายขนาดทั้ง ขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดยอม และในการดําเนินการรีสอรทโดยสวนใหญมักดําเนินการใน ลักษณะธุรกิจขนาดยอมซึ ่งไดมีขอกําหนดเกี ่ยวกับธุรกิจขนาดยอมไวตามแนวคิดของคณะกรรมการ พัฒนาเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา (The Committee for Economic Development: CED) ได ใหความหมายของธุรกิจขนาดยอมไววา เปนธุรกิจที ่มีลักษณะอยางนอยที่สุด 2 ประการจากลักษณะ 4 ประการ ดังตอไปนี(Pickle & Abrahamson, 1990, p.14) 1. การบริหารงานเปนไปอยางอิสระ และผูจัดการหรือผูบริหารกิจการก็จะเปน เจาของกิจการเอง 2. บุคคลเดียวหรือกลุมบุคคลเพียงไมกี่คนเปนผูจัดการเงินทุน และเปนเจาของธุรกิจ 3. ขอบเขตการดําเนินงานอยูในทองถิ ่นเปนสวนมาก พนักงานและเจาของกิจการอาศัย อยูในชุมชนเดียวกัน แตตลาดของสินคาหรือบริการไมจําเปนตองอยูในทองถิ ่นนั้นก็ได 4. ธุรกิจมีขนาดเล็กเมื่อเปรียบเทียบกับขนาดของธุรกิจขนาดใหญที่สุดในกลุมของ ธุรกิจประเภทเดียวกัน หลักเกณฑที ่ใชวัดอาจจะเปนจํานวนพนักงาน ยอดขาย หรือทรัพยสิน PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com ÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁè Copyright by Chiang Mai University All rights reserved ÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁè Copyright by Chiang Mai University All rights reserved

Upload: pairart

Post on 02-Nov-2014

13 views

Category:

Education


3 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: Edvoc0447wp ch2

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่วของ

การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาเกี่ยวกับการจัดการธุรกิจรีสอรทขนาดเล็ก ในจังหวัดภูเก็ต : กรณีศึกษาบางเทา บีช คอทเทจ เพ่ือศึกษากระบวนการจดัการของรีสอรทขนาดเล็กใน 4 ดาน ไดแก การจัดการดานบุคลากร การจัดการดานการเงิน การจัดการดานวัสดุอุปกรณ และการจัดการดานระบบการจัดการ ซ่ึงผูศึกษาไดศึกษาคนควาตํารา เอกสาร และงานวิจัยตาง ๆ เพ่ือทําความเขาใจถึงหลักการ แนวความคิด ทฤษฎี ดังนี ้

1. ธุรกิจประเภทโรงแรม 2. แนวความคิด และทฤษฎีการจดัการท่ีเกี่ยวของกับการโรงแรม

ธุรกิจประเภทโรงแรม

ธุรกิจการโรงแรมเปนการจดัดาํเนนิธุรกิจชนิดหนึ่งซ่ึงมีการดําเนนิงานในหลายขนาดท้ังขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดยอม และในการดําเนินการรีสอรทโดยสวนใหญมักดําเนินการในลักษณะธุรกิจขนาดยอมซ่ึงไดมีขอกําหนดเกี่ยวกบัธุรกิจขนาดยอมไวตามแนวคดิของคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา (The Committee for Economic Development: CED) ไดใหความหมายของธุรกิจขนาดยอมไววา เปนธุรกิจท่ีมีลักษณะอยางนอยท่ีสุด 2 ประการจากลักษณะ 4 ประการ ดังตอไปนี ้(Pickle & Abrahamson, 1990, p.14)

1. การบริหารงานเปนไปอยางอิสระ และผูจัดการหรือผูบริหารกิจการก็จะเปน เจาของกิจการเอง

2. บุคคลเดยีวหรือกลุมบุคคลเพียงไมกี่คนเปนผูจัดการเงินทุน และเปนเจาของธุรกิจ 3. ขอบเขตการดาํเนนิงานอยูในทองถ่ินเปนสวนมาก พนกังานและเจาของกจิการอาศัย

อยูในชุมชนเดยีวกนั แตตลาดของสินคาหรือบรกิารไมจําเปนตองอยูในทองถ่ินนัน้ก็ได 4. ธุรกิจมีขนาดเล็กเม่ือเปรียบเทียบกับขนาดของธุรกิจขนาดใหญท่ีสุดในกลุมของ

ธุรกิจประเภทเดียวกัน หลักเกณฑท่ีใชวัดอาจจะเปนจํานวนพนกังาน ยอดขาย หรือทรัพยสิน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 2: Edvoc0447wp ch2

6

รวมท้ัง โทมัส เอส เบ็ทแมน และ สก็อต เอ สเนล (Thomas S. Bateman & Scott A. Snell, 1980, p.15) ไดกลาวถึงลักษณะของธุรกิจขนาดยอมวา “ ถามีจํานวนพนกังานไมเกนิ 100 คน ใหถือเปนธุรกจิขนาดยอม ”

สําหรับในประเทศไทยกไ็ดมีการกําหนดความหมายของธุรกิจขนาดยอมแตกตางกันออกไป เชน วินิจ วีรยางกูล (2532, หนา 2) ไดใหความหมายของธุรกิจขนาดยอมไววา เปนธุรกิจอิสระมีเอกชนเปนเจาของ ดําเนนิงานโดยเจาของกจิการเอง ไมเปนเครื่องมือของธุรกิจใด และไมตกอยูภายในอิทธิพลของบุคคลอ่ืน หรือธุรกิจอ่ืน ๆ สวนสํานกังานธนกิจอุตสาหกรรมขนาดยอม กระทรวงอุตสาหกรรม (ประโชค ชุมพล, 2534, หนา 25) ไดใหคาํจาํกดัความของคาํวา ธุรกิจขนาดยอมไววา “ คอืธุรกิจท่ีมีเงินทุนจดทะเบียนไวไมเกนิ 5 ลานบาท ” สําหรับกรมแรงงานก็ไดใหคาํจํากัดความของ ธุรกิจขนาดยอมไววา “ คือธุรกิจท่ีมีคนงานไมเกิน 20 คน ” นอกจากนัน้กรมสง เสริมอุตสาหกรรมกับหนวยงานท่ีเกีย่วของ ไดแก กระทรวงพาณิชย กระทรวงการคลัง ธนาคารแหงประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย หอการคาไทย บริษัทเงินทุนแหงประเทศไทย บริษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดยอม บริษัทประกันสินเช่ืออุตสาหกรรมขนาดยอม ธนาคารเพ่ือการสงออกและการนําเขาแหงประเทศไทยและธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร ไดนยิามวสิาหกจิขนาดกลางและขนาดยอมไวเม่ือ วนัท่ี 8 ธันวาคม พ.ศ. 2541 โดยใชเกณฑขั้นมูลฐานของทรพัยสินถาวร ในธุรกจิขนาดกลาง และขนาดยอม ดังแสดงไวในตารางตอไปนี ้

ตาราง 1 เกณฑมูลคาของทรัพยสินถาวรในธุรกจิขนาดกลาง และขนาดยอม

ประเภทกิจการ ขนาดกลาง ขนาดยอม กิจการการผลิตสินคา ไมเกิน 200 ลานบาท ไมเกิน 50 ลานบาท กิจการใหบรกิาร ไมเกิน 200 ลานบาท ไมเกิน 50 ลานบาท กิจการคาสง ไมเกิน 100 ลานบาท ไมเกิน 50 ลานบาท กิจการคาปลีก ไมเกิน 60 ลานบาท ไมเกิน 50 ลานบาท

ท่ีมา : กรมสงเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม (2540, หนา15) ซ่ึงในการดําเนนิงานของธุรกจิการโรงแรมขนาดเล็กนัน้อาจถือไดวาเปนการดําเนินธุรกิจ

ขนาดยอมรูปแบบหนึ่งซ่ึง สมชาย หิรัญกิตติ และ สมยศ นาวีการ (2542) ไดเสนอรูปแบบไว ดังนี ้

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 3: Edvoc0447wp ch2

7

1. กิจการเจาของคนเดียว (Sole Proprietorship) เปนกิจการขนาดยอมท่ีดําเนนิงานโดยบุคคลคนเดยีวเปนผูรับผิดชอบงานท้ังหมด โดยไมไดจดทะเบียนเปนหางหุนสวนจํากัดและบรษิัทจํากัด

2. กิจการประเภทหางหุนสวน (Partnership) เปนกจิการประเภทหางหุนสวนจํากัด จําแนกไดเปน 2 ลักษณะคือ

2.1 หางหุนสวนสามัญ ผูดําเนินการตั้งแต 2 คนขึ้นไป ตกลงดวยวาจาหรือลายลักษณอักษรในการลงทุนรวมกัน ดําเนนิกิจการโดยมีวัตถุประสงคจะแบงกําไร และขาดทุนท่ีเกดิจากกิจการนั้น ๆ ผูเปนหุนสวนจะมีกี่คนกไ็ด แตตองมีอยางนอย 2 คนและหุนสวนท้ังหมดจะตองมีสัญชาติไทย ท้ังนี้สามารถจดทะเบียนเปนนิตบุิคคลได เรียกวา หางหุนสวนสามัญจดทะเบียน ถือเปนบุคคลตามกฎหมาย มีสิทธิดําเนินการตามกฎหมาย

2.2 หางหุนสวนจํากดั เกดิจากการจดทะเบียน ประกอบดวย หุนสวน 2 ประเภท คือ 2.2.1 หุนสวนจํากัดความรบัผิด จะเปนคนเดียวหรือหลายคนก็ไดท่ีจํากัดความ

รับผิดชอบเพียงไมเกนิจํานวนเงินท่ีตนตกลงนํามาลงทุนในหางหุนสวนนอกเหนอืจากนี้ไมตองรับผิด ซ่ึงจะลงทุนดวยแรงงานในการประกอบกิจการไมได

2.2.2 หุนสวนประเภทรับผิดในหนี้สินของหางหุนสวนโดยไมจํากัดจํานวน จะมีกีค่นกไ็ด ซ่ึงเรียกวา หุนสวนไมจํากดัความรบัผิดชอบ

3. กิจการประเภทบริษัทจํากัด (Corporation) ธุรกิจขนาดยอมท่ีจะจดทะเบียนจัดตั้งเปนบริษัทจํากัด ตองมีการแบงทุนเปนมูลคาเทา ๆ กัน และผูถือหุนตางรบัผิดโดยจาํกดัเพียงไมเกนิจํานวนเงินท่ีตนยังสงใชไมครบมูลคาหุนท่ีตนถืออยู

รัฐบาลไดตระหนกัถึงความสําคญัของธุรกิจขนาดยอม และทราบถึงความยากลําบากในการท่ีจะแสวงหาความชวยเหลือจากแหลงการเงินตาง ๆ รฐับาลจึงไดเขามามีบทบาทอยางแขง็ขนัท่ีจะใหการสนับสนุนชวยเหลือธุรกิจขนาดยอมในดานการเงินโดยมีหนวยงานท่ีเขามาดําเนินการชวยเหลือ ไดแก

1. กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย มีโครงการใหความชวยเหลือรานคายอยของ คนไทยท่ีสมัครใจเขารวมเปนรานคาในความสงเสริมของทางราชการ การใหความชวยเหลือทางการ เงิน กรมการคาภายในไดดําเนินการกับธนาคารพาณิชย ซ่ึงไดแก ธนาคารกรุงไทย จํากัด ธนาคารกรุงเทพฯ จํากัด จัดวงเงินจํานวนหนึ่งไวใหรานคายอยในความสงเคราะห

2. สํานักงานธนกิจอุตสาหกรรมขนาดยอม หนวยงานนี้ขึน้อยูกับกระทรวงอุตสาหกรรมซ่ึงไดดําเนินงานดานนี้มาตั้งแตแรก ใหกูยืมเฉพาะธุรกิจขนาดยอมโดยมีเครื่องมือเครื่องจกัรเปนประกัน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 4: Edvoc0447wp ch2

8

3. บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ไดดําเนินการใหท้ังอุตสาหกรรมขนาดใหญและอุตสาหกรรมขนาดยอมมีโอกาสขอกูยืม โดยคดิดอกเบ้ียอัตราต่าํ มีเง่ือนไขคลาย ๆ กับการใหกูยืมของหนวยงานท่ีรัฐใหการสงเสริมประเภทอ่ืน เพียงแตการกําหนดวงเงินอาจจะแตกตางกันบางตามลักษณะขนาดของอุตสาหกรรม

ความชวยเหลือของรัฐบาลตอธุรกิจขนาดยอมนอกเหนือจากเรื่องการเงินแลวก็เปนเรื่องการใหคาํปรกึษาในการดาํเนนิธุรกจิ ตัวอยางเชน กรมการคาภายในจะมีเจาหนาท่ีใหคาํแนะนาํแกรานคายอยในความสงเคราะหเกีย่วกับการติดตอจดัหาสินคาเขาราน ใหคาํแนะนํา ปรกึษาใหการปฏิบัติใหถูกตองตามกฎหมาย ในเรื่องเกี่ยวกับบัญชีและภาษีอากร กรมพาณิชยสัมพันธใหคําแนะ นําเกี่ยวกับวธีิการปฏิบัติเกี่ยวกบัการสงสินคาออกไปจาํหนายยังตางประเทศ ศูนยเพ่ิมผลผลิตไดมีการฝกอบรมเจาหนาท่ีของรัฐเพ่ือใหคําปรึกษาและฝกภาคปฏิบัติการแกผูประกอบการตามจังหวัดตาง ๆ ท่ัวประเทศ เปนตน

ธุรกิจประเภทโรงแรมเปนการจัดการธุรกิจการบรกิารประเภทหนึ่งท่ีนอกเหนอืจากการใหบริการดานอาหารและท่ีพักแลวยังจัดหาบรกิารท่ีจะอํานวยความสะดวกสบายอ่ืน ๆ เชน บรกิารทางดานโทรศัพท ซักรีดเส้ือผา ตกแตงทรงผม สปา การใหบริการจดัเล้ียง หองประชุมแกบุคคล ภายนอก และบรกิารรถนําเท่ียว ซ่ึงปจจบัุนรายไดจากบรกิารเสริมเหลานี้เปนรายไดท่ีสําคญัของธุรกิจโรงแรมแหลงหนึ่งดวย นอกจากนี้บางโรงแรมยังจัดใหมีรานคาหลาย ๆ ประเภทไวคอยบริการลูกคาของโรงแรมอีกดวย ธุรกจิการโรงแรมตามพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2478 มาตรา 3 (เสถียร วิชัยลักษณ และสืบวงศ วิชัยลักษณ, 2513ม หนา56) นัน้ไดกลาวถึงความหมายของโรงแรมไวดงันี้ โรงแรม หมายถึง บรรดาสถานท่ีทุกชนิดท่ีจดัขึน้เพ่ือรับสินจางสําหรับคนเดนิทางหรือบุคคลท่ีประสงคจะหาท่ีอยูหรือท่ีพักช่ัวคราว ท้ังนีต้องบรกิารอาหารและเครื่องดื่มแกผูท่ีเขาพักตามความตองการไดดวย นอกจากมาตรา 25 ยังไดกําหนดเพ่ิมเติมเกี่ยวกับการโรงแรมไววา เคหะสถานใด ใชเปนบานพักดังกลาวคือใช เฉพาะเปนท่ีรับบุคคลท่ีประสงคจะไปพักอาศัยอยูซ่ึงระยะเวลาอยางนอยหนึ่งคนื โดยผูมีสิทธ์ิใหใชมิไดขายอาหาร หรือเครื่องดื่มใด ๆ แกผูมาพักเปนปกติธุระหรือแกประชาชน ไมถือวาเปนโรงแรมตามความหมายแหงพระราชบัญญัตินี ้ดังนั้นธุรกิจโรงแรมจึงหมายถึง ธุรกิจท่ีมีการจัดบรกิารดานอาหาร ท่ีพักและส่ิงอํานวยความสะดวกสบายอ่ืน ๆ สําหรับผูท่ีเดินทางมาพักอาศัย

ธุรกิจประเภทโรงแรมนัน้ นักวิชาการตางประเทศ คอื เฮนสกิน (Henkin, 1979, p.4) ไดจัดแบงโรงแรมออกเปน 3 ประเภท ดังนี ้

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 5: Edvoc0447wp ch2

9

1. โรงแรมเพ่ือการพาณิชย หรือโรงแรมแขกไมประจํา (Commercial or Transient Hotels) โรงแรมประเภทนี้มีมากกวาประเภทอ่ืน ๆ โดยมีทําเลท่ีตั้งอยูในเมืองท้ังนี้เพ่ือความสะดวกในการติดตอธุรกิจ แขกท่ีพักในโรงแรมดังกลาวมักเปนเปนนักธุรกิจหรือนกัทองเท่ียว ท่ีมีวตัถุ ประสงคพักช่ัวคราว เพ่ือติดตอธุรกจิ หรือการทองเท่ียว มิไดมีวัตถุประสงคเพ่ือเชาอยูเปนท่ีพักประจําสําหรับการประกอบธุรกจิหรือท่ีอยูอาศัย โรงแรมประเภทนีจ้ะจัดบรกิารความสะดวกสบายตาง ๆ แกแขกอยางครบถวน เชน หองอาหาร สถานท่ีบริการดานธุรกิจเกี่ยวกับการสงจดหมาย โทรเลข อินเตอรเน็ต หรือระบบการส่ือสารอ่ืน ๆ สถานท่ีพักผอนหยอนใจและการออกกําลังกาย เชน สระวายน้ํา สนามเทนนิส หองออกกําลังกาย สปา ฯลฯ องคประกอบดังกลาวแลวตองจัด บริการใหแขกเพ่ือตอบสนองวัตถุประสงคในการติดตอธุรกิจและการพักผอนอยางพอเพียงเพ่ือใหการบรกิารเกดิความประทับใจซ่ึงส่ิงอํานวยความสะดวกเหลานี้ขึ้นอยูกับการจดัการของแตละโรงแรม

2. โรงแรมแขกพักประจํา (Residential Hotel) โรงแรมประเภทนี้มีวตัถุประสงคในการใหแขกเชาพักอาศัยอยูประจํา มีการจัดหองอาหารบริการแกแขกและลูกคาท่ัวไป ทําเลท่ีตั้งของโรงแรมโดยปกติอยูในบริเวณชานเมืองเพ่ือเหมาะแกการเปนท่ีพักอาศัย แตก็มีบางโรงแรมตั้งอยูใกลยานธุรกิจ ท้ังนี้เพ่ืออํานวยความสะดวกแกแขกในการติดตองาน

3. โรงแรมรีสอรท (Resort Hotel) โรงแรมประเภทนี้ตั้งอยูในบริเวณท่ีใกลชิดกับ ธรรมชาติเชน ชายทะเล หรือบริเวณภูเขาท้ังนี้เพ่ือใหแขกไดพักผอน สามารถสัมผัสกับธรรมชาต ิโดยโรงแรมตองจัดบรกิารตาง ๆ เชน หองอาหาร การซักรดี การตดิตอส่ือสารหรอืบริการอ่ืน ๆ เหมือนโรงแรมท่ัวไป แตตองเนนบริการทางดานการกีฬาและนันทนาการแกแขกใหมากกวาโรงแรมท่ัวไป ดังนั้นโรงแรมรีสอรทตองจัดสราง สระวายน้ํา สนามเทนนิส สนามขี่มา ตลอดจนกิจกรรมในการบันเทิงอ่ืน ๆ ใหกับแขกผูมาพัก ซ่ึงมีวตัถุประสงคในดานการพักผอนเปนหลัก

นอกจากนี้ เฮนสกิน (Henkin, 1979, p.4) ยังไดกลาวเสรมิอีกวา ประเภทของโรงแรมสามารถแบงตามจํานวนหองพักไดอีก โดยแบงโรงแรมออกเปน 3 ขนาดดังนี ้

1. โรงแรมขนาดเล็ก (Small Hotel) ไดแก โรงแรมท่ีมีจํานวนหองพักไมเกนิ 100 หอง 2. โรงแรมขนาดกลาง (Medium Hotel) ไดแก โรงแรมท่ีมีจํานวนหองพักมากกวา

100 หองแตไมเกิน 300 หอง 3. โรงแรมขนาดใหญ (Large Hotel) ไดแก โรงแรมท่ีมีหองตั้งแต 300 หองขึ้นไป

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 6: Edvoc0447wp ch2

10

การดําเนนิงานของธุรกิจโรงแรมนัน้มุงผลิตสินคาท่ีไมสามารถจับตองได แตตองสรางภาพพจน โรงแรมจะตองเนนหองพัก อาหารและเครื่องดืม่ ซ่ึงเปนสินคาท่ีจับตองไดแตปจจยัท่ีมีความสําคญัตอความสําเร็จของโรงแรมคือ ทัศนคตขิองผูมาพักตอบรกิารท่ีไดรับจากโรงแรมลักษณะการทํางานของธุรกจินี้คอื การใหบริการโดยคน แมวาในปจจบัุนจะใชเครื่องจกัรมาทดแทนในงานบางสวนแตธุรกจิโรงแรมก็จะเปล่ียนลักษณะการใหบริการจากคนมาเปนเครื่องจกัรไมได เพราะงานของโรงแรมมีลักษณะการทํางานตอเนื่องกนั 24 ช่ัวโมง และท้ัง 7 วันในหนึ่งสัปดาห ไมมีวนัหยุดเหมือนเชนธุรกจิอ่ืน ๆ โดยท่ัวไป ฉะนั้นทางโรงแรมจึงมีขอกําหนดวาผูเขาพักจะตองออกจากโรงแรมกอนเท่ียงวนั มิฉะนัน้จะถือวาไดมาพักเพ่ิมอีก 1 วัน หลังจากเท่ียงวันไปแลว อยางไรก็ตามบางโรงแรมกมี็ความยดืหยุนใหแกลูกคา โดยอาจใหมีการออกจากโรงแรมไมเกนิ 14.00 น.ดังนัน้จะเห็นไดวาอุตสาหกรรมโรงแรมเปนอุตสาหกรรมท่ีมีการจัดการท่ีสลับซับซอนมุงท่ีจะตอบ สนองความตองการของบุคคลในสังคมเปนสําคญั โดยจะไมปรากฏกระบวนการผลิตอยางเดนชัด ซ่ึง ขจิต กอบเดช (2535, หนา 15) กลาววา อุตสาหกรรมโรงแรมเปนการดําเนนิธุรกจิแบบท่ีมีสถาน ท่ีประกอบการจัดตั้งเพ่ือรบัสินจางสําหรับคนเดนิทางหรือบุคคลท่ีหาท่ีพักมีบรกิารอาหารและเครื่องดื่มอยางมีแบบแผน มีมาตรฐานการควบคุมตามขอบขายของการบริการนั้นๆ ดวยเหตนุี้อุตสาหกรรมโรงแรมจึงแตกตางไปจากอุตสาหกรรมอ่ืน ๆ ท่ีมีผลผลิตเปนสินคารูปวัตถุ แตโรงแรมเปนเครื่องมือการผลิตท่ีมุงขายบรกิารใหไดกําไร ใหคุมกับการบริหารงาน และทุนท่ีสูง ผลผลิตของอุตสาหกรรมโรงแรมในทางเศรษฐศาสตรถือเปนหนวยผลิตเชิงซอน (Complex Product Unit) ซ่ึงตองบริการงานดานตาง ๆ มากมายเชน การใหเชาหองพัก การใชหองโถง หองรับแขก สระวายน้ํา สวนดอกไม หองรับแขก หองจัดเล้ียง หองประชุม ฯลฯ

การดําเนนิงานภายในโรงแรมมีความซับซอนเนื่องจากมีแผนงานมากมายเพื่อตอบสนองความตองการและความพึงพอใจของลูกคาผูมาพักดังนัน้การดําเนินการของโรงแรมจึงมีความจําเปนในเรื่องการจัดแบงงาน (Function) ของโรงแรมตามความสามารถและความถนัดสวนบุคคลของลูกจางและคนงานของโรงแรม นอกจากนั้นความซับซอนของโรงแรมทําใหมีการประสานงานโดยตรงระหวางงานบรกิารชนดิตาง ๆ ดังท่ี ลูเทอร ฟอรด (Ruther Ford, 1989, p.14) ไดกลาวถึงการจัดระเบียบองคการโรงแรมวา มีวัตถุประสงคในการแบงหนาท่ีความรบัผิดชอบ การแจกแจงรายละเอียดของงานท่ีจะตองทําการประสานงาน ความรวมมือกันทํางานในแตละฝาย เพ่ือใหบรรลุตามเปาหมายท่ีวางไว การจัดระบบงานตามหนาท่ี โรงแรมอาจแบงพนักงานปฏิบัติหนาท่ีออกไดเปน 2 ประเภท คือ หนาท่ีตองตดิตอกับแขกโดยตรง (Line Function) ไดแก พนักงานในแผนกตอนรับ แผนกหองพัก และฝายบริการอาหารและเครื่องดืม่ ท่ีจะตองมีการพบปะใหบรกิารแกแขก

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 7: Edvoc0447wp ch2

11

และหนาท่ีฝายสนับสนุน (Staff Function) หรือ “ฝายท่ีอยูเบ้ืองหลังฉาก” (Behind – The Scenes) พนกังานเหลานี้ไมไดสัมผัสกับแขกโดยตรง แตมีสวนจัดเตรยีมงานเพื่อแขกโดยสงผานพนักงานสวนหนา พนกังานชวยสนับสนุน ไดแก พนักงานแผนกชาง แผนกปรุงอาหาร แผนกซักรีด และแผนกทําความสะอาด เปนตน

นอกจากนั้นการแบงงานของโรงแรมอาจแบงเปนงานสวนหนาและงานสวนหลังซ่ึง เบอรนารด และ แซลล่ี (Bernard & Sally, 1992, p.30) ไดอธิบายหนาท่ีของงานสวนหนาไวดังนี ้คืองานสวนหนาบานเปนงานซ่ึงพนกังานตองสัมผัสกับแขกหรือลูกคาโดยตรง ณ จุดรับบริการ (Service Inter – Face Station) และจุดนี้พนกังานตองสงมอบบรกิาร (Service Delivery) ใหแกแขกเพ่ือใหเกดิความประทับใจมากท่ีสุด ไดแกงานดานตาง ๆ ดังนี ้

1. งานบริการสัมภาระและการรับใช งานดังกลาวเริ่มตนตัง้แตบริการรับสงแขก จากสถานีขนสง เชน สนามบิน สถานีรถไฟมายังโรงแรม แลวบริการขนสัมภาระ เปดประตูโรงแรมเพ่ือนําแขกมาลงทะเบียนเขาพัก ตอจากนั้นก็ชวยขนสัมภาระสงแขกเขาหองพัก หรือชวยแขกขนสัมภาระเม่ือแขกออกจากโรงแรม นอกจากนี้บางโรงแรมยงัจดัใหมีพนักงานรับใชสวนตวัแขกอีกดวย

2. งานสวนหนา มีหนาท่ีลงทะเบียนแขกผูเขาพัก ใหขอมูลขาวสารแกแขก ดูแลรกัษากุญแจหองพักแขก พนักงานตอนรับซ่ึงทํางานมีโตะลงทะเบียนอยูบริเวณดานหนาโรงแรม จุดนี้นับ เปนจุดสําคญัท่ีแขกตองตดิตอสอบถาม หรือขอความชวยเหลือตาง ๆ นอกจากนี้ยังเปนจดุสําคญัในการประสานงานกับแผนกตาง ๆ ของโรงแรมดวย

3. งานจองหองพัก มีหนาท่ีในการรับจองหองพักในโรงแรม การรับจองหองพักลวงหนาท้ังทางโทรศัพท อินเตอรเน็ต โทรสาร หรือประเภทเขามาติดตอโดยตรง นอกจากอํานวยความสะดวกสบายใหแกแขกแลว งานจองหองพักยังเปนผลดีตอโรงแรมในดานการบริหารและการตลาดของโรงแรมอีกดวย

4. งานภัตตาคารหรืองานหองอาหาร อาหารเปนรายไดหลักอยางหนึ่งของโรงแรม ดังนั้นจึงมีงานดานการบรกิารอาหาร เพ่ือบริการแขกของโรงแรมและแขกในทองถ่ินท่ีเขามาใชบรกิาร งานบรกิารอาหารของโรงแรมในภตัตาคารหรือหองอาหาร จึงเปนงานท่ีสัมผัสกับแขกโดยตรง

5. งานบาร บารเปนสถานท่ีขายเครื่องดื่มทุกชนิดแกแขก ท้ังแขกภายในโรงแรมและแขกในทองถ่ิน พนกังานท้ังฝายผสมเครื่องดืม่ (Bartender) และฝายบริการเปนพนกังานสวนหนาท่ีตองมีความเช่ียวชาญเฉพาะ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 8: Edvoc0447wp ch2

12

6. งานจัดเล้ียงโรงแรมคลายกับหองรับแขกของหมูบาน ท้ังนี้เพราะโรงแรมมีความพรอมในการตอนรับแขกในดานอาหารและเครื่องดืม่ ท้ังงานเฉลิมฉลองดานสังคม เชน วนัเกดิ การแตงงาน งานธุรกจิ งานประชุมสัมมนา นอกจากนี้บรรยากาศและสภาพแวดลอมของโรงแรมท่ีหรูหรา อาหารท่ีมีรสชาติ การจดับรกิารท่ีดี สะดวกสบาย ลวนเปนส่ิงกระตุนความตองการใหบุคคลจัดงานเล้ียงนอกบานมากยิ่งขึ้นในปจจบัุน

สําหรับในเรื่องของงานสวนหลัง วรีพงษ เฉลิมจิรรัตน (2539, หนา 62) ไดอธิบายไววา งานสวนหลังเปนงานสนับสนุนใหพนกังานสวนหนาบรกิารแขกไดรวดเร็ว ถูกตอง และเกดิความประทับใจ พนักงานสวนหลัง (Back – End Support) จึงทําหนาท่ีในการจดัเตรยีมบรกิารตาง ๆ ใหแกแขก แตการสงมอบ ณ จุดสัมผัสบริการ หรือจดุรบับริการเปนหนาท่ีของพนกังานสวนหนา (Font – Line Staff) งานสวนหลังประกอบดวยงานตอไปนี ้

1. งานบัญชี งานบัญชีมีหนาท่ีดูแลเกี่ยวกับกจิการดานการเงิน การบัญชีทุก ๆ ประเภทของโรงแรม การควบคมุตนทุน (Cost Control) การตั้งราคาสินคา การวางระบบ บัญชีในการเบิก จายวัสดุตาง ๆ การควบคุมดูแลเกี่ยวกับรายรับรายจายของโรงแรม

2. งานเตรยีมอาหาร การบริการอาหารเปนหนาท่ีของบรกิรซ่ึงเปนพนกังานสวนหนา แตการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณอาหาร และการปรุงอาหารเปนหนาท่ีของพอครัว (Cook) หรือหัวหนาพอครัว (Chef) อาหารเม่ือจัดปรุงเรียบรอยแลว ก็จะสงมอบไปยงับรกิรเพ่ือบรกิารใหแกแขก

3. งานเก็บของในคลังพัสดุ โรงแรมตองซ้ือสินคาและอุปกรณเครื่องใชตาง ๆ เปนจํานวนมากเพ่ือจดัเตรยีมบรกิารแขก สินคา อุปกรณและวสัดุตาง ๆ ท่ีใชในกิจการโรงแรม ดังกลาวตองเกบ็ไวในคลังพัสดุ และเบิกจายมาใชในแตละวนัตามความจาํเปน พนกังานดูแลคลังพัสดุจึงเปนพนักงานสวนหลังเพียงแตทําหนาท่ีจายพัสดุไปยังแผนกตาง ๆ ซ่ึงบริการแขกโดยตรง

4. งานลางจาน โรงแรมตองจดัใหมีพนักงานสวนหนึ่งเพ่ือทําหนาท่ีลางภาชนะตาง ๆ ในการบรกิารอาหารและเครื่องดื่มแกแขก เชน จาน ถวย แกว ชอน ฯลฯ

5. งานรักษาความปลอดภัย พนกังานรักษาความปลอดภัยมีหนาท่ีดูแลรักษาชีวิตและทรัพยสินของแขก ใหไดรับความปลอดภัยใหมากท่ีสุดในระหวางการพักในโรงแรม พนกังานรกัษาความปลอดภยัตองดแูลเกี่ยวกับการจารกรรมของโจรผูราย การขโมยทรัพยสิน การปองกนัอัคคภียั ฯลฯ งานรกัษาความปลอดภัย นอกจากดูแลชีวิตทรัพยสินของแขกแลวตองดูแลทรัพยสินท้ังหมดของโรงแรมดวย

6. งานชางและการบํารุงรกัษา ในโรงแรมมีงานชางหลายประเภท เชน ชางไฟฟา ชางไม ชางประปา ชางเครื่องปรับอากาศ ชางสี ชางศิลป ฯลฯ งานเหลานี้จัดเตรียมไวเพ่ืออํานวยความสะดวกใหแกแขก หรือแกไขปญหาตาง ๆ ท่ีเกดิขึ้นในการบรกิาร เชน ขณะแขกพักในหองเกดิ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 9: Edvoc0447wp ch2

13

ปญหาเรื่องกระแสไฟฟา ก็ตองแกไขทันทวงที แตวิธีการท่ีดีท่ีสุดตองหามาตรการปองกันเพ่ือมิใหเกิดปญหาในขณะบรกิาร รวมท้ังยังมีเพ่ือใหบริการหองจัดเล้ียง ประชุม สัมมนา

7. งานแมบาน งานแมบานมีหนาท่ีดูแลรักษาความสะอาด ท้ังบรเิวณหองพักและพ้ืนท่ีสาธารณะในโรงแรม (Public Area) ซ่ึงแขกใชรวมกัน เชน หองโถง (Lobby) สระน้ํา หองน้ํา ฯลฯ แมบานยังทําหนาท่ีเกี่ยวกบัการดูแลผาทุกชนิดในโรงแรม การจดัดอกไมในหองพัก หองรับแขก และงานเล้ียง ตลอดจนทรัพยสมบัติท่ีแขกลืมไวในหองพัก ตรวจการใชอุปกรณใน หองพักเม่ือแขกจะออกจากโรงแรม

8. งานซักรีด การซักรดีตองบรกิารท้ังแขกท่ีมาพัก และงานในโรงแรม ไดแก การบริการซักรีดเกี่ยวกบัเครื่องแบบของพนกังาน และผาทุกประเภทท่ีใชในโรงแรม

9. งานบุคคล งานบริหารบุคคล ทําหนาท่ีเกี่ยวกับการรับสมัครพนักงาน สวัสดิการของพนกังาน การขาดการลาของพนกังาน การดูแลเกี่ยวกบัเรื่องระเบียบวินัยการจดัพนกังานบรรจุในแผนกตาง ๆ การโยกยายพนกังาน และการพิจารณาความดคีวามชอบรวมกับผูบริหารแผนกอ่ืน ๆ

10. การฝกอบรม การฝกอบรมพนกังานเปนส่ิงจาํเปนในงานบริการ การบรกิารจะเปนเลิศตองมีองคประกอบท่ีสําคญัอยางหนึง่ คอื การฝกอบรมพนกังาน ใหรูจกัหนาท่ีความรบัผิดชอบและมีจิตสํานึกของการเปนนกับรกิารท่ีดี การสรางมาตรฐานของงานบรกิารใหเกิดความสมํ่าเสมอและมีความคงเสนคงวา (Consistency) จึงเปนส่ิงจําเปนอยางยิ่งสําหรับงานโรงแรมซ่ึงตองใชคนบริการคน (People Service People) ดังนั้นคนท่ีทํางานโรงแรมจึงตองมีเจตคติท่ีดีตองานบริการ นอกจากนี้งานโรงแรมจะตองใหบรกิารตลอด 24 ช่ัวโมง หรือปละ 8,760 ช่ัวโมง การเตรยีมพรอมในงานบรกิารทุก ๆ ดานจึงมีความจาํเปนท่ีองคกรจะตองพัฒนาบุคลิกภาพของผูบริหารใหมีเจตคติท่ีดีตองาน เขาใจหลักการบรกิาร และความรูเฉพาะในหนาท่ีจึงตองมีการอบรมอยางตอเนื่อง เพ่ือใหเกิดมาตรฐานและความคงเสนคงวาในการบรกิาร หนาท่ีดงักลาวนี้จดัอยูในการบริการสวนหลังบาน ซ่ึงตองทําหนาท่ีสนับสนุนและประสานงานกับงานบริการสวนหนาบานอยางใกลชิด

ในการดําเนนิงานธุรกจิโรงแรมจําเปนตองทราบถึงประเภทและลักษณะงานพ้ืนฐานตางๆ ขางตนแลวนัน้ ยังตองศึกษาองคประกอบอ่ืน ๆ ท่ีสําคญัซ่ึง สเตดมอน (Stadmon, 1988, p.3) ไดเสนอแนะถึงขอพิจารณาของลูกคาเพ่ือการตดัสินใจเลือกใชบรกิารของโรงแรมจากองคประกอบตาง ๆ ดังตอไปนี ้

1. ท่ีตั้ง (Location) ลูกคาไมไดเลือกโรงแรมเพราะตองการท่ีพักอยางเดียว แตการเลือกโรงแรมขึ้นอยูกับวตัถุประสงคในการเดินทางประกอบดวย เชน การเดนิทางเพ่ือพักผอน ลูกคาจะเลือกโรงแรมในแหลงทองเท่ียวธรรมชาตท่ีิมีการบรกิารดานการพักผอนหยอนใจ หากเปนการเดนิ ทางเพื่อติดตอธุรกิจ ลูกคาจะเลือกโรงแรมในเมือง เพราะสะดวกในการติดตองานดานธุรกจิโรงแรม

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 10: Edvoc0447wp ch2

14

ซ่ึงตั้งอยูสถานีขนสง เชน ทาเรือ สถานีรถไฟ สนามบิน หรือใกลเสนทางคมนาคมมีเปาหมายในการใหบริการแกแขกท่ีเดินทางผาน (Transit) ดังนั้นการเลือกท่ีตั้งของโรงแรมตองคํานึงถึงความตอง การของลูกคาในการเดินทาง โรงแรมเปนอสังหาริมทรพัยหรือทรัพยสินท่ีเคล่ือนยายไมได การเลือกทําเลท่ีตั้งและการจัดบรกิารใหสอดคลองกับความตองการของลูกคา เพ่ือใหลูกคาเกิดความพึงพอใจจึงเปนส่ิงสําคญัท่ีสุดท่ีตองพิจารณาเปนอันดับแรกสําหรับการลงทุน

2. ราคา (Price) ราคาเปนปจจยัหนึ่งในการเลือกท่ีพักของลูกคา การกําหนดราคาขึ้นอยูกับประเภท ขนาด และการบรกิารของโรงแรม ราคาขึ้นอยูกับความพึงพอใจในการรบับรกิาร และการจัดบริการตาง ๆ ใหแกลูกคา โรงแรมขนาดใหญมีหองพักหรูหรามีบรรยากาศด ีมีอุปกรณในการบริการความสะดวกอยางครบถวน เชน สระวายน้ํา สนามเทนนิส สนามขี่มา การจัดบริการเรื่องพาหนะ ฯลฯ โรงแรมซ่ึงจดับรกิารดังกลาวแลว ก็สามารถเกบ็คาบรกิารสูงกวาโรงแรมซ่ึงจดับรกิารความสะดวกสบายใหแกแขกนอยกวาและไมหรูหราเทาท่ีควร อยางไรกต็ามการกําหนดราคาท่ีพัก ควรศึกษาเกี่ยวกับขอมูลของผูบริโภคและเทียบเคียงกับโรงแรมอ่ืน ๆ

3. การจดัอํานวยความสะดวก (Facilities Offered) การจดัอํานวยความสะดวกสบายในเรื่องหองพัก หองอาหาร การรับสง การดูแลเด็ก สถานท่ีออกกําลังกาย และการพักผอน เปนองคประกอบอยางหนึ่งในการพิจารณาของลูกคา ลูกคาประเภทนกัธุรกิจอาจตองการอุปกรณการส่ือสารและเครื่องใชในสํานักงานอยางครบถวน เพ่ือสะดวกในการปฏิบัติงาน

4. ขนาด (Size) ขนาดของโรงแรมมีความสําคัญมากเชนเดยีวกนั โรงแรมควรมีพ้ืนท่ีซ่ึงสามารถจดัใหแขกไดพักผอนหยอนใจ และมีบรรยากาศท่ีดี ภายในอาคารและหองพักมีบรกิารในดานความสะดวกสบายอยางครบถวน ขนาดของโรงแรมท่ีดี ไมไดขึน้อยูกับหองพักวามีจํานวนมากหรือนอย แตขึ้นอยูกับการจัดบรกิารท่ีดขีองโรงแรม โรงแรมขนาดใหญยอมไดเปรียบกวาโรงแรมขนาดเล็กเพราะมีพ้ืนท่ีและงบประมาณในการจดัสรางส่ิงอํานวยความสะดวกสบายมากกวา

จากองคประกอบท่ีสําคญันี้ยังไดมีงานวิจยัและงานศึกษาคนควาสนับสนนุหลายงาน ดังเชน กฤษฎ์ิ กาญจนกติติ (2541) ท่ีศึกษาถึงเรื่องปจจยัท่ีมีผลตอการเลือกใชโรงแรม ในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหมพบวา กลุมผูใชบรกิารโรงแรมชาวไทย ใหความสําคญัตอปจจัยดานอัตราคาหองพัก ในขณะท่ีชาวตางชาตใิหความสําคญักับสภาพหองพักมากกวาปจจยัอ่ืน และเม่ือจาํแนกตามกลุมอายุ พบวาชาวไทยไมวาจะอยูในวยัใดตางกใ็หความสําคญัตออัตราคาหองพักมากท่ีสุด สวนชาวตางชาติท่ีมีอายุต่ํากวา 25 ป ใหความสําคัญกับอัตราคาหองพักเปนอันดับแรก แตชาวตางชาติท่ีอายุ 25 – 55 ปและกลุมอายุมากกวา 55 ป เห็นวาสภาพหองพักเปนส่ิงท่ีสําคัญท่ีสุด เม่ือจําแนกกลุมผูใชบรกิารตามอาชีพ ชาวไทยทุกอาชีพเห็นพองตองกนัวา อัตราคาหองพักเปนปจจัยท่ีสําคัญท่ีสุด สวนชาวตางชาติท่ีมีอาชีพตางกัน จะมีปจจัยในการเลือกโรงแรมท่ีแตกตางกันออกไป และเม่ือ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 11: Edvoc0447wp ch2

15

จําแนกตามรายได นอกจากนั้นพบวาชาวไทยไมวาจะมีรายไดเทาไร ตางมีความเห็นตรงกันวา ปจจัยดานราคามีสวนสําคัญท่ีสุด สวนตางชาติมีปจจัยในการเลือก โรงแรมตางกันตามกลุมรายได

รวมท้ังจากการศึกษาของ โกศล วัชโรทน (2542) เรื่องปจจยัท่ีมีอิทธิพลผลตอนกัทอง เท่ียวชาวตางประเทศในการเลือกใชบริการท่ีพักแรม ประเภทเกสทเฮาส ในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม พบวา เหตุผลท่ีผูบริโภคสวนใหญเลือกใชบรกิารเกสทเฮาสเพราะเห็นวาการพักเกสท เฮาสคุมคากับเงินท่ีจาย และรองลงมาเห็นวาการพักเกสทเฮาสประหยัดคาใชจาย และชอบบรรยากาศแบบเกสทเฮาสตามลําดับ นอกจากนั้นจากการศึกษายังพบอีกวาปจจยัดานสถานท่ีในการเลือกใชบริการเกสทเฮาส คอื ความสะอาดและความปลอดภยัปจจัยดานราคาในการเลือกใชบรกิารเกสทเฮาส คอื การแสดงราคาหองพักไวชัดเจนและราคาหองพักท่ีแนนอนตอรองไมไดปจจยัดานบรกิารในการเลือกใชบรกิารเกสทเฮาส คือ ดานความสุภาพและมีมนุษยสัมพันธท่ีดีของพนักงานและการสนองตอบความตองการของลูกคา ปจจัยดานส่ิงอํานวยความสะดวกในการเลือกใช บริการเกสทเฮาส คอื ดานการใหบรกิารตูนิรภัยและดานการบริการหองอาหาร ปจจัยดานสัญลักษณในการเลือกใชบริการเกสทเฮาส คือ ดานช่ือเสียงของเกสทเฮาสและการท่ีเกสทเฮาสเปดใหบริการมานานแลวและปจจยัดานวสัดุส่ือสารในการเลือกใชบรกิารเกสทเฮาส คือ การแนะนําโดยหนังสือนําเท่ียว และดานคําบอกเลาปากตอปาก สําหรบัในดานปญหาท่ีนกัทองเท่ียวสวนใหญพบในระหวางพักแรมในเกสทเฮาส ในอําเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม ท่ีพบมากท่ีสุด คือ ปญหาดานส่ิงอํานวยความสะดวก ไดแก การไมมีกระดาษชําระไวบริการภายในหองน้าํ อันดับสอง เปนปญหาดานการส่ือสาร ไดแก คนขบัรถแท็กซ่ีหรือตุกตุกสรางความราํคาญแกนักทองเท่ียวเม่ือมาถึงสนามบิน สถานีรถไฟ และสถานีขนสง อันดับสาม เปน ปญหาดานการส่ือสารเชนกัน ไดแก คนขับรถแท็กซ่ีหรือตุกตุกพยายามชักชวนใหไปพักเกสทเฮาสหรือโรงแรมอ่ืนท่ีไมตองการ

นอกจากนี้ยังมีงานการศึกษาของ จินตนา ศรีเอ่ียม (2543) เรื่องพฤติกรรมของผูบริโภคชาวตางประเทศท่ีเลือกใชบรกิารโรงแรมขนาดเล็ก ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหมพบวา เหตุผลสําคัญท่ีสุดของนักทองเท่ียวชาวตางประเทศท่ีเลือกใชบริการโรงแรมขนาดเล็ก คือ ราคาประหยัดคุมคาเงินท่ีจาย และ รองลงมาคือ ไดรับคําแนะนําจากเพ่ือนหรือผูอ่ืน ไดรับคําแนะนําจากคนขบัรถแท็กซ่ีหรือรถสามลอ ตามลําดับ และแหลงขอมูลท่ีนักทองเท่ียวไดรับเกี่ยวกบัโรงแรมขนาดเล็กกอนการเขาพัก สวนใหญนกัทองเท่ียวไดรับขอมูลจากหนังสือนําเท่ียวเปนอันดับแรก และรองลงมาคอื จากคาํบอกเลาปากตอปาก อินเตอรเนต็ บรษิทันําเท่ียว คนขบัรถแท็กซ่ี หรือ รถสามลอ จากงานนิทรรศการการแนะนําการทองเท่ียวแหงประเทศไทยตามลําดับ และสวนใหญชาวตาง ประเทศท่ีเขามาใชบรกิารโรงแรมขนาดเล็กจะเปนเพศชายมากกวาเพศหญงิ สถานภาพโสด เดนิ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 12: Edvoc0447wp ch2

16

ทางมาจากทวปียุโรปเปนสวนใหญและวตัถุประสงคการเดนิทางมาจังหวัดเชียงใหมเพ่ือการพักผอน รวมท้ังยังมีงานท่ีศึกษาถึงความตองการของนกัทองเท่ียวเกีย่วกับความตองการดานการบริการของ อรุณี ปญญามูลวงษา (2542) เรื่องความตองการของนกัทองเท่ียว ในการใชบริการท่ีพักตากอากาศ ในอําเภอเมือง จังหวัดแมฮองสอน พบวานักทองเท่ียวสวนใหญตองการพนกังานท่ีสุภาพ มีความเปนกันเองอันดับหนึง่ รองลงมาคอืสามารถไวใจได เขาใจลูกคา รับผิดชอบ บริการลูกคาไดทันใจ และมีความรูความเขาใจในการใชภาษาตามลําดับ นอกจากนัน้ผลการศึกษายังพบอีกวาดานระบบรักษาความปลอดภยันัน้ นักทองเท่ียวสวนใหญตองการใหมียามรกัษาการณในเวลากลางคนืเปนอันดับหนึ่ง รองลงมาคือ มีเครื่องดับเพลิงกระจายอยูท่ัวไปในบริเวณท่ีพักตากอากาศ มีเครื่องตรวจจบัควนัในหอง และมีโทรทัศนวงจรปดตลอด 24 ช่ัวโมงตามลําดับ การโฆษณาประชาสัมพันธ สงเสริมการขาย นกัทองเท่ียวตองการโฆษณาลงในหนังสือนําเท่ียวมากเปนอันดบัหนึง่ รองลงมาจากคาํแนะนําของคนรูจัก และแผนพับโฆษณาตามลําดับ

การใหบรกิารในธุรกิจการโรงแรมนั้นส่ิงสําคัญท่ีตองคํานึงถึง คือ ความตองการของลูกคาท่ีเขาพักเนื่องจากลูกคาถือเปนปจจัยสําคญัท่ีทําใหธุรกจิการโรงแรมสามารถดาํเนนิการได ถา ปราศจากลูกคาแลวธุรกจิโรงแรมก็ไมสามารถดาํเนนิตอไปได ซ่ึงในการจดัความสะดวกเพ่ือสนองความตองการของลูกคานั้นก็ยอมขึน้อยูกับ ขนาด ทําเลท่ีตัง้ ราคา และการจัดอํานวยความสะดวกอ่ืน ๆ ดวย แนวความคดิและทฤษฎกีารจัดการทีเ่กี่ยวของกบัการโรงแรม

การจัดการเปนส่ิงจําเปนสําหรับองคกรธุรกิจทุกประเภทดงันัน้จึงตองมีการเลือกรูปแบบการจัดการใหเหมาะกับขนาดและสภาพขององคกร เพ่ือใหการทํางานมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล มากขึ้น เชนเดยีวกบัธุรกิจการโรงแรมก็จําเปนอยางยิ่งท่ีตองมีการจัดการท่ีเหมาะสมกับการดําเนินงานเพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงค การจัดการจึงจําเปนตองมีทรัพยากรอันเปนปจจัย พ้ืนฐานทางการจัดการท้ัง 4 ประการ ซ่ึงรูจกักนัในนามของ 4 เอ็ม (4 M) ซ่ึง สมคิด บางโม (2539, หนา 30) ไดกลาวถึงดังนี ้

1. คน (Man) เปนผูปฎิบัติกิจกรรมขององคกรนั้นๆ 2. เงิน (Money) ใชสําหรับเปนคาจางและคาใชจายในการดําเนินการ 3. วัตถุส่ิงของ (Materials) หมายถึงอุปกรณ เครื่องใช เครื่องมือตาง ๆ รวมท้ังอาคาร

สถานท่ีดวย 4. การจัดการ (Management) หมายถึงความรูเกี่ยวกับระบบการจัดการ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 13: Edvoc0447wp ch2

17

ปจจัยในการบริหารท้ัง 4 ประการนี้เปนส่ิงจาํเปนสําหรับระบบการจดัการ เพราะประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบการจัดการขึน้อยูกับความสมบูรณและคุณภาพของปจจัยดังกลาวนี้ อยางไรกต็ามในยคุของการเปล่ียนแปลงและการแขงขนั เชนปจจบัุนไดมีการเพ่ิมปจจยัในการบริหารจดัการองคกรเปน 7 M คือ เครื่องจักร (Machine) การตลาด (Marketing) และจริยธรรมของการดําเนนิงาน (Moral)

การจัดการดานบคุลากร การจัดการนัน้จดุมุงหมายสําคญั คอื ความตองการใหงานบรรลุวัตถุประสงคท่ีกําหนด

อยางมีประสิทธิภาพ ทรพัยากรพ้ืนฐานของการจดัการในสวนของ “คน” นับวาเปนปจจัยท่ีสําคัญท่ีสุด เนื่องจากคนถือเปนทรัพยากรท่ีสําคญัท่ีสุดของการจดัการท่ีจะนําพาปจจัยอ่ืนๆ ดําเนนิไปอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการจดัการดานบุคลากรจึงมุงเนนในเรื่องของการจัดคนเขาทํางาน (Staffing) ซ่ึงโทมัส ไมลส (Thomas Miles, 1975, อางใน พยอม วงศสารศร,ี 2534, หนา 152) ไดกลาววาเปนการจัดหาบุคคลและเจาหนาท่ีใหเหมาะสมกับลักษณะงานท่ีกําหนดไว กลาวคือ เปนการหาคนใหเหมาะสมกับงานนั่นเอง (put the right man on the right job) ถือไดวาเปนสวนหนึ่งของการจัดการทรัพยากรมนษุย (Human Resources Management) การจัดการทรัพยากรมนุษย พยอม วงศสารศร ี(2538, หนา 153) ไดใหความคาํจาํกัดความวา หมายถึง กระบวนการท่ีผูบริหารใชศิลปะและกลยุทธ ดําเนินการสรรหา คดัเลือก และบรรจุบุคคลท่ีมีคณุสมบัติเหมาะสมใหปฏิบัติงานในองคกร พรอมท้ังสนใจการพัฒนาธํารงรกัษาใหสมาชิกท่ีปฏิบัติงานในองคกรเพ่ิมพูนความรู ความสามารถ มีสุขภาพกายและสุขภาพจติท่ีดี ในการทํางาน และยังรวมไปถึงการแสวงหาวิธีการท่ีทําใหสมาชิกในองคกร ท่ีตองพนจากการทํางานดวยเหตทุุพพลภาพ เกษยีณอายุ หรือเหตอ่ืุนใดในงาน ใหสามารถดาํรงชีวิตอยูในสังคมอยางมีความสุข ซ่ึงจากความหมายของทรัพยากรมนุษยดังกลาวจะพบประเดน็สําคญัท่ีผูบริหารจะตองสนใจการจัดการทรพัยากรท้ังระบบอยางครบวงจรจะขาดสวนใดสวนหนึ่งยอมไมได เนื่องจากทรัพยากรมนุษยมีสภาพการณในแตละชวงแตกตางกันซ่ึงผูบริหารจะตองทําความเขาใจดังท่ี โกศล วิชัยศิลป (2529, หนา 15) ไดกลาวไวดังนี ้

1. มนุษยท่ีอยูในสังคม กอนท่ีจะเขามาอยูในองคกร ซ่ึงหมายความวา การจัดการงานดานนี้ผูบริหารตองเปนผูไวตอสถานการณสามารถชวงชิงนํามนุษยท่ีมีความรู ความสามารถในสังคมเขามาเปนสมาชิกขององคกรใหได

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 14: Edvoc0447wp ch2

18

2. มนุษยท่ีกําลังปฏิบัติภารกิจในองคกร นัน้แสดงวาผูบรหิารงานดานนีต้องสนใจพัฒนาความรู ความสามารถ ธํารงรักษาใหเขามีความสุขกาย สุขใจในการทํางาน กลาวโดยภาพรวม คือ มีความพึงพอใจในการทํางาน พรอมจะรวมพลังกนัอุทิศตนทํางานอยางเตม็ท่ีแกองคกร

3. มนุษยท่ีตองพนจากการปฏิบัติงานเม่ือครบวาระ ซ่ึงการครบวาระอาจเกษียณอายุหรือประสบอุบัติเหตจุากการทํางานก็ตาม องคกรจะตองมีมาตรฐานในดานเงินทุนสะสมเล้ียงชีพหรือเงินบําเหน็จ หรือเงินบํานาญ เปนตน เพ่ือการมีสุขภาพจิตท่ีดีในบ้ันปลายของชีวิต

หนาท่ีสําคัญอยางหนึ่งของการจัดการดานบุคลากร คือ การจัดคนเขาทํางาน เนื่องจากงานจะมีประสิทธิภาพอยางเหมาะสม ถามีบุคลากรท่ีมีประสิทธิภาพ มีความสามารถความชํานาญเขามาดํารงตําแหนง ดังนัน้ทุกองคกรธุรกิจจะตองใหความสําคญัอยางมากในการจดัคนเขาทํางานภายในองคกร ตองมีการศึกษาระบบของการจัดหาคนเขาทํางาน ตองมีการวิเคราะหจากแผนขององคกร แผนของแผนก กําหนดกําลังคนท่ีตองการในอนาคต แลวนาํขอมูลนัน้มาทําการสรรหา การคัดเลือก การบรรจุ พนกังานเขาทํางานโดยมีกระบวนการในการปฏิบัติงานอยางเหมาะสมรอบคอบ

ในการจัดคนเขาทํางาน (Staffing) ซ่ึงถือเปนภาระงานท่ีสําคญัของฝายบริหารท่ีตองตระหนักถึงแนวทางและวิธีการ ดังท่ี เฮนรี ่ฟาโยล (Henri Fayol, 1977, อางใน ปรีชา แดงโรจน, 2539, หนา 7-9) ไดกลาวถึงความหมายของ การจัดคนเขาทํางาน (Staffing) วาเปนการคดัเลือกและบรรจุคนเขาทํางานและธํารงรกัษาใหคนมีงานท่ีมีประสิทธิภาพในตําแหนงตาง ๆ ภายในองคกรซ่ึงผูบริหารตองจัดการหนาท่ีประการนีด้วยการวางแผนกําลังคนสําหรับตําแหนงตาง ๆ ประเมินกําลัง คนท่ีมีอยูแลว ดําเนนิการคัดเลือกหาตัวบุคคลท่ีเหมาะสม ตลอดจนการแนะนําคนใหเขาถึงส่ิงตาง ๆ กอนการทํางาน การฝกอบรมและพัฒนาคนงานเพ่ือใหสามารถทํางานดีขึน้ โดยท่ีฝายบริหารจะตองคาํนึงถึงหนาท่ีบรหิารงานบุคคลท่ีสําคญัดังท่ีปรีชา แดงโรจน (2539, หนา 9-15) ไดนําเสนอไวดังนี ้

1. การวางแผนกําลังคน (Manpower Planning) ซ่ึงผูบริหารจะตองวางแผนคาดการณวาในอนาคตองคกรจะมีความตองการตัวบุคลากรท่ีจะเขามารับตําแหนงมากนอยเทาใด มีคณุสมบัต ิอยางไร โดยผูบริหารจะตองมีการวิเคราะหงานในขั้นตอนนี้อยางละเอียด

2. การสรรหา (Recruitment) เปนการพยายามสรรหาบุคคลท่ีมีคณุสมบัติตามตองการ ในจํานวนท่ีตองการ สวนใหญจะเสาะหาไดจาก 2 แหลงคอื จากแหลงภายนอก และ การเล่ือนขัน้จากภายในกิจการ

3. การคดัเลือก (Selection) เปนกระบวนการท่ีตอเนื่องและสัมพันธกับการสรรหา วิธีท่ีใชกนัเสมอคอื ดูจากประวัติสวนตวั การสัมภาษณ การทดสอบ ซ่ึงเทคนคิในการเลือกบุคคลมักตองใชหลายวิธีคละกนัไป ไมมีวธีิใดท่ีถูกตองโดยส้ินเชิง

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 15: Edvoc0447wp ch2

19

4. การฝกอบรมและพัฒนาบุคคล (Training and Development) เปนการประเมินผลการทํางาน และ ฝกอบรม พยายามรกัษาคณุสมบัติของพนกังานใหมีคณุภาพสูงอยูเสมอ มีการพัฒนาความรูเพ่ิมทักษะในการทํางาน ในการแกไขปญหาตางๆท่ีอาจเกดิขึน้ในอนาคต ซ่ึงวธีิการฝกอบรมและพัฒนาบุคคลมีหลายวิธี เชน การใหคําแนะนํา การฝกอบรมโดยใหลงมือปฏิบัติงาน การสอนงาน การพัฒนาอาชีพ

5. การบริหารคาตอบแทนในการทํางาน (Compensation) ซ่ึงรวมถึงการจายคาจางแรงงาน เงินเดอืน และ ผลประโยชนตาง ๆ เชน สวัสดกิารเรื่องการประกันภยั การลาหยุด การพักรอน รายไดพิเศษ ผลประโยชนตาง ๆ

6. การประเมินผลพนกังาน (Employee Evaluation) ซ่ึงเปนกระบวนการหนึ่งในการประเมินคณุภาพในการทํางาน และ การส่ือสารของพนกังานภายในองคกรวามีประสิทธิภาพเพียงใด ซ่ึงส่ิงนีจ้ะมีผลสะทอนกลับไปใหพนกังาน อาจเปนการปรบัตําแหนง การจายเงินโบนัสประจาํป โดยท่ัวไปองคกรตางๆจะมีการประเมินผลงานและแจงใหพนกังานทราบในการประชุมประจาํป

7. การยายพนักงานและการแทนท่ี (Employee Movement and Replacement) พนักงานท่ีผละจากตําแหนงในการทํางานภายในองคกรจะถูกแทนท่ีโดยบุคคลอ่ืน ซ่ึงสาเหตขุองการผละจากงานของพนกังานมีหลายสาเหต ุเชน การเล่ือนตําแหนง การยาย การลดตําแหนง การสมัครใจ การเลิกจาง ซ่ึงในขั้นตอนสุดทายของการจัดการทรัพยากรมนุษยนี้ จะกลับสูขั้นตอนแรกตอไป

การคดัเลือกบุคคลเขาทํางานเปนขัน้ตอนท่ีสําคญัขั้นตอนหนึ่งในการจดัการดานบุคลากร โดยการคัดเลือกเปนการพยายามกล่ันกรองบุคคลท่ีมีความรูความสามารถไวในองคกร ท้ังนี้การคัดเลือกบุคลากรขององคกรนัน้ องคกรจะตองมีขัน้ตอนในการคดัเลือกดังนี ้

1. นโยบายการคัดเลือก องคกรควรจะมีการกําหนดนโยบายในการคดัเลือกบุคลากร ดังท่ี สุภาพร ศาลบุตร (2541, หนา 118 - 119) ไดเสนอแนวทางไว คือ

1.1 การคดัเลือกควรยึดหลักความยตุิธรรมและหลักความเสมอภาค 1.2 การคดัเลือกควรยึดถือวัตถุประสงคขององคกรเปนหลัก 1.3 การคดัเลือกจะตองสอดคลองกับนโยบายขององคกร 1.4 การคดัเลือกควรใชวิธีการสัมภาษณ และการทดสอบการปฏิบัติงานดวย 1.5 การคดัเลือกควรมีการนําหลักวิชาการมาประยุกต 1.6 การคดัเลือกควรยึดหลักนโยบายประหยดั 1.7 ควรพิจารณาบุคคลภายในกอนบุคคลภายนอก 1.8 การคดัเลือกแตละครั้งควรจะมีการประเมินผล

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 16: Edvoc0447wp ch2

20

1.9 การตัดสินใจขั้นสุดทายในการคัดเลือกนาจะขึ้นอยูกับผูบริหารตามสายงานท่ีตองการบุคคลเขาทํางาน โดยมีฝายบุคคลเปนผูรักษามาตรฐานขั้นต่ํา ซ่ึงหมายถึงการท่ีฝายบุคคลเปนผูควบคมุใหเปนไปตามคณุสมบัติท่ีตองการ

2. กระบวนการคัดเลือก ควรประกอบดวย 10 ขัน้ตอน ดังท่ีธงชัย สันตวิงษ (2542, หนา 142 - 147) ไดเสนอไว คือ

2.1 การรับผูสมัคร (Reception of Applicants) เม่ือทางเจาหนาท่ีฝายตอนรับไดช่ือของผูสมัครและรายละเอียดท่ีเกี่ยวกับงานท่ีผูสมัครตองการจะทําแลว กน็ัดหมายใหผูสมัครมารับการรับการสัมภาษณเบ้ืองตน

2.2 การสัมภาษณเบ้ืองตน (Preliminary Interview) ทําการสัมภาษณเพ่ือใหไดขอมูลเบ้ืองตน ซ่ึงอาจจะใชบุคคลเดยีวกันหรือหลายคนก็ได สุดแลวแตความสําคญัของงาน การสัมภาษณแบบนี้มักจะกระทําเพ่ือกล่ันกรองบุคคลซ่ึงเห็นไดชัดวามีคณุสมบัติไมตรงตามท่ีตองการอยางแนนอน ทําใหไมเสียเวลาและคาใชจายเม่ือดาํเนนิการในขั้นตอนของการคดัเลือกจริง ๆ เกณฑตาง ๆ ท่ีใชสําหรับสัมภาษณเบ้ืองตนนี้อาจจะเปนเกณฑใหญ ๆ ท่ีชัดเจนท่ีสุด เชน การศึกษาขัน้ต่าํ ประสบการณในการทํางาน เพ่ือท่ีจะไดคนกลุมหนึ่งท่ีเขาขายพอใชไดเพ่ือดาํเนนิการคัดเลือกตอไป

2.3 การใหกรอกใบสมัคร (Application Blank) องคกรสวนใหญจะมีใบสมัครและแบบฟอรมใบสมัครท่ีจะใหผูสมัครกรอก เพ่ือจะไดขอมูลเกี่ยวกับผูสมัครตามความตองการ ขอมูลตาง ๆ เหลานี้มักจะประกอบไปดวย ขอมูลท่ีเกี่ยวกับการศึกษา ประวัตกิารทํางาน ตลอดจนขอมูลท่ีเกี่ยวกับตัวผูสมัคร

2.4 การทดสอบพนกังาน (Employment Tests) การใชวิธีการทดสอบเพ่ือการคดัเลือกบุคลากรเปนวธีิท่ีนิยมใชกันในองคกรตาง ๆ เนื่องจากการทดสอบเปนการวัดท่ีชัดแจงมากกวาการสัมภาษณ ขอบเขตการทดสอบจะมีความแตกตางกนัตามลักษณะของงานท่ีจะคดัเลือกหรืออาจขึ้นอยูกับความเขาใจและความนิยมใชของผูบริหาร

2.5 การสัมภาษณ (Interview) การสัมภาษณจะทําใหไดขอเท็จจริงบางประการเกี่ยวกับตัวผูสมัครเพ่ิมเติม แลวนํามาพิจารณารวมกบัการทดสอบและตรวจสอบพ้ืนฐานของผูสมัคร เพ่ือนําไปสูการตัดสินใจในการวาจางอยางเหมาะสม

2.6 การตรวจสอบขอมูลพ้ืนฐาน (Background Investigation) เปนการตรวจสอบเพ่ือท่ีจะชวยใหทราบวาการทํางานตาง ๆ ท่ีแลวมา หรือขอมูลตาง ๆ ของผูสมัครท่ีไดกรอกไวในใบสมัครตลอดจนส่ิงท่ีไดรับฟงจากการสัมภาษณวามีความถูกตอง อยางไรกต็าม การตรวจสอบขอมูล

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 17: Edvoc0447wp ch2

21

ตาง ๆ ในทางปฏิบัติอาจจะไมสามารถตรวจสอบไดอยางครบถวน จึงอาจจะตองกําหนดขอบเขตท่ีจะตองมีการทดสอบขอมูลท่ีสําคัญท่ีเกี่ยวของกับความสําเร็จของงานไดมาก

2.7 การคดัเลือกเพ่ือบรรจุโดยแผนวาจาง (Preliminary Selection by Supervisor) หลังจากขอมูลตาง ๆ ไดรับการตรวจสอบประวัติแลว แผนกวาจางจะทําการพิจารณากล่ันกรองขั้นสุดทายโดยจะทําการคัดเลือกผูสมัครและสงไปใหแผนกท่ีจะรับคนใหทําการสัมภาษณและพิจารณาตัดสินใจอีกครั้งหนึง่

2.8 การตัดสินใจของเจาหนาท่ีชุดของสายงานท่ีจะรับพนักงาน (Final Selection by Supervisor) หัวหนางานโดยตรงจะเปนผูประเมินในขั้นสุดทายในการรับพนกังานเขามาทํางานในองคกร

2.9 การตรวจรางกาย (Physical Examination) ผูสมัครท่ีผานการประเมินจากหัวหนางานแลวจะไดรับการตรวจสุขภาพ โดยปกติถาหากหนวยงานนัน้ ๆ มีแผนกแพทยหรือมีหนวยงานท่ีทําหนาท่ีดานการตรวจสุขภาพ ก็มักมีการมอบหมายใหมีการตรวจสอบเกี่ยวกับความพรอมทางรางกาย เชน ความสามารถในการใชสายตาหรืออ่ืน ๆ หากทําการตรวจสุขภาพแลว กจ็ะไดรับการบรรจหุรือขึน้บัญชีไวเพ่ือรอการบรรจุตอไป

2.10 การบรรจุ (Placement) ภายหลังจากท่ีไดบุคคลท่ีสามารถผานทุกขั้นตอนของกระบวนการคัดเลือก จากนัน้กจ็ะเปนเรื่องของการบรรจุซ่ึงจะมีการสงมอบโดยใหไปรายงานตวักับหัวหนางานในแผนกท่ีรับเขาซ่ึงมีวิธีการใหรายงานอยางถูกตอง โดยมีการสงรายละเอียดประวัติขอมูล ตลอดจนผลการคดัเลือกตามวิธีการตาง ๆ ใหดวยซ่ึงจะชวยใหหัวหนางานไดเขาใจเกีย่วกับตัวพนกังานใหมมากยิ่งขึน้ ยอมชวยใหการสอนในระยะเริม่แรกโดยหัวหนางานสามารถกระทําไดสะดวกและงายขึน้ โดยท่ัวไปกอนท่ีจะมีการบรรจุพนกังานจะตองมีการทําสัญญาการจางงานกบัพนักงานใหมกอน ซ่ึงทางผูสมัครตองมีหลักฐานเหลานี้ประกอบการทําสัญญาการจางงาน (สุภาพร พิศาลบุตร, 2541, หนา 267)

3. เครื่องมือในการคดัเลือก องคกรแตละองคกรจะมีเครื่องมือในการคัดเลือกอยูหลาย ชนดิ โดยแตละชนิดจะมีคณุลักษณะและวัตถุประสงคของการใชท่ีแตกตางกัน โดยเครื่องมือท่ีใชในการคดัเลือกบุคคลมากท่ีสุดท่ีสุภาพร พิศาลบุตร (2541, หนา 156-168) ไดเสนอแนะไว คือ

3.1 ใบสมัครงาน (Application Form) เปนเอกสารท่ีหนวยงานหรือฝายบุคคลจัดทําเพ่ือใชสําหรับรวบรวมขอมูลของผูสมัครเพ่ือทําการคัดเลือก

3.2 ประวัติยอ (Resume) คือ ประวัติของผูสมัคร ท้ังในดานการศึกษา ประวัติสวนตัว และการทํางาน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 18: Edvoc0447wp ch2

22

3.3 หลักฐานการอางอิงและการใหคํารับรอง (Reference and Recommendation) เปนเอกสารท่ีใชแนะนําตัวผูสมัครในลักษณะขอมูลอางอิง เอกสารนีจ้ะไดนาํไปใชประเมินประสบการณและประสิทธิภาพของผูสมัครและนําไปใชรวมกับใบสมัคร

3.4 การสัมภาษณ (Interview) เปนเครื่องมือท่ีใชกันอยางกวางขวางในการสรรหาบุคคลทุกประเภท การสัมภาษณประการแรก เพ่ือการรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับแรงจูงใจ ความสนใจและความสามารถของผูสมัคร ประการท่ีสองเพ่ือคนหาความสามารถเฉพาะดานของผูสมัคร ประการท่ีสาม เพ่ือแจงขอมูลเกี่ยวกับงานองคกร และ ประการสุดทาย เพ่ือเปดโอกาสใหผูถูกสัมภาษณไดแจงขอมูลเกี่ยวกบัคณุลักษณะและความสามารถของตนใหองคกรไดพิจารณา วิธีการสัมภาษณท่ีใชอาจแบงได 4 วิธี ดังท่ีธงชัย สันติวงษ (2542, หนา 136-139) เสนอแนะไว คือ

3.4.1 การสัมภาษณทางออม วิธีนี้ผูทําการสัมภาษณจะระมัดระวังเปนพิเศษท่ีจะไมสรางบรรยากาศใหผูถูกสัมภาษณมีความประหมาโดยเฉพาะการท่ีจะไมทักถึงขอผิดพลาดหรือไมใหขอมูลในส่ิงท่ีตวัเองไดประเมินในใจ และสงเสริมใหผูสมัครมีความสบายใจและมีอิสระท่ีจะพูดหรือเจรจาไดอยางเสร ีวธีิท่ีใชในการสัมภาษณมักดําเนนิการโดยพยายามตั้งคาํถามท่ีงายอยางกวาง ๆ โดยไมพยายามขดัจังหวะ เพ่ือชักนําใหผูสมัครเลาเรื่องตาง ๆ ตอกันไปเรื่อย ๆ

3.4.2 การสัมภาษณแบบลึก เปนการสัมภาษณท่ียากกวาวิธีการสัมภาษณแบบไมมีการชักนํา ซ่ึงการดําเนนิการสัมภาษณวิธีนีจ้ะตองมีการจดัเตรยีมโครงเรื่องในรูปของคาํถามท่ีจะใหครอบคลุมถึงประเดน็ตาง ๆ ท่ีเกี่ยวกับเรื่องราวของผูสมัครโดยเฉพาะในแงของการวาจาง คําถามมักจะตองครอบคลุมเกี่ยวกบัเรื่องงาน การศึกษา การสัมพันธกับสังคม พ้ืนฐานทางเศรษฐกจิตลอด จนลักษณะบุคลิกภาพตาง ๆ ท่ีจะถามลึกใหผูสมัครตอบอยางเฉพาเจาะจง

3.4.3 การสัมภาษณอยางมีแบบแผน การสัมภาษณท่ีมีการจัดเตรยีมเคาโครงเรื่องท่ีสมบูรณท่ีสุด ซ่ึงวิธีการจะกระทําโดยพยายามดําเนินการสอบสัมภาษณอยางใกลชิดตามราย ละเอียดของคําถามท่ีไดมีการออกแบบหรือจดัเตรยีมเปนพิเศษ โดยหัวขอท่ีสําคญัจะมีการถามเปนลําดับ คือ ถามเปนขอ ๆ เพ่ือใหผูสัมภาษณตอบแตละขอจนส้ินสุด และจะมีชองวางสวนท่ีเหลือเปนขอความหรอืคาํถามท่ีมิไดมีไวใชเพ่ือถามผูสมัครงาน หากแตจะมีการออกแบบเพ่ือชวยผูทําการสัมภาษณใหไดขอมูลครบถวนท่ีสุด วิธีการสัมภาษณแบบนีจ้ะใหผลคอนขางมาก แตจําเปนตองมีการฝกฝนอบรมผูสัมภาษณเพ่ือใหเกิดความเขาใจ และรวมตลอดถึงตองมีการกําหนดบรรทัดฐานของระเบียบวิธีปฏิบัติตาง ๆ ดวย ท้ังนี้ก็เพ่ือท่ีจะใหรายงานท่ีออกมามีความเช่ือถือไดมากท่ีสุด

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 19: Edvoc0447wp ch2

23

3.4.4 การใชวธีิการสัมภาษณแบบพิเศษ สวนใหญแลวการสัมภาษณมักจะเปนวิธีตามท่ีไดกลาวมา แตอยางไรกต็ามยงัมีวิธีอ่ืนอีก เชน การทําการสัมภาษณผูสมัครเปนรายบุคคล เปนการสัมภาษณท่ีมีผูถูกสัมภาษณเพียงคนเดียว เผชิญหนากับผูสัมภาษณ การทําการสัมภาษณผูสมัครเปนกลุม โดยใหผูสมัครเขามาสัมภาษณพรอมกันหลาย ๆ คน และสนทนาเปนกลุมพรอมกัน หลาย ๆ คน การทําการสัมภาษณโดยคณะกรรมการ เปนการดําเนนิการสัมภาษณโดยมีผูทําการสัมภาษณหลายคน จะนั่งกันเปนกลุมกรรมการและดําเนินการสัมภาษณผูสมัครทีละคน

3.5 แบบทดสอบ (Tests) จะมีการจําแนกออกเปนประเภทตางๆมากมาย ซ่ึงจะทําการทดสอบประเภทใด ขึ้นอยูกับลักษณะของงานและวตัถุประสงคของการทดสอบแตแบบทดสอบ ท่ีไดรับความนิยม แบงออกเปน 5 ประเภท ดังท่ีอุทัย หิรัญโต (2531, หนา 70-73) ไดเสนอแนะไว คือ

3.5.1 การทดสอบความสัมฤทธ์ิในการทํางาน (Achievement Test) ความสัมฤทธ์ิ หมายถึง ความสําเร็จท่ีบุคคลไดรับจากความพยายามดวยการทํางานอยางใดอยางหนึ่ง การทดสอบความสัมฤทธ์ิอาจทดสอบในดานตางๆ ดังนี ้

3.5.1.1 การทดสอบทางดานการศึกษาท่ัว ๆ ไปท่ีบุคคลไดเรียนรูมา (Education Test)

3.5.1.2 การทดสอบความรูความสามารถในวชิาชีพ (Trade Test) เชน ความรูทางดานบัญชี หรือกฎหมายเปนตน

3.5.1.3 การทดสอบโดยใหทดลองปฏิบัติงานใหดูเปนตวัอยาง (Performance Test)

3.5.2 การทดสอบความถนัด (Aptitude Test) เปนการทดสอบความสามารถทางกายและสติปญญาของคนท่ีจะเรียนรูงานอยางหนึ่งอยางใดภายในเวลาท่ีกําหนด

3.5.3 การทดสอบสติปญญา (Intelligence Test) เปนการตรวจสอบความฉลาดหรือปฎิภาณไหวพรบิของบุคคล เพ่ือประโยชนในการเลือกสรรเขาทํางาน หรือบรรจใุหดํารงตําแหนงตาง ๆ ท่ีเหมาะสม

3.5.4 การทดสอบความสนใจ (Interest Test) เปนการสืบคนใหรูวาคน ๆ หนึ่งสนใจในส่ิงใดบางและสนใจส่ิงนัน้มากนอยเพียงใด เนื่องจากความสําเรจ็หรือความเจรญิกาวหนาในอาชีพขึน้อยูกับความสนใจในกจิการท่ีทําเปนสําคญั

3.5.5 การทดสอบบุคลิกภาพ (Personality Test) เปนแบบทดสอบท่ีใชวัดความเขมแข็งและออนแอของบุคลิกภาพท่ีจะมีผลตอการทํางาน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 20: Edvoc0447wp ch2

24

3.6 การตรวจสอบประวัตกิารทํางาน (Working History) เปนขั้นตอนของการคัดเลือก เพ่ือสอบถามความเห็นของนายจางเกาท่ีผูสมัครเคยทํางานมาแลว

3.7 การตรวจสอบใบรับรอง (Check of Reference) ใบรับรองอาจจาํแนกไดเปน 3 ประเภท คือ ใบรับรองเกี่ยวกับผูสมัคร ใบรับรองเกี่ยวกับงานท่ีเคยปฏิบัติ และใบรับรองเกี่ยวกับสถานศึกษา

3.8 หนังสือแนะนํา (Letter of Recommendation) 3.9 การตรวจสอบสุขภาพ (Physical Examination) ความมุงหมายของการตรวจ

สุขภาพเพ่ือคดัเลือกบุคคลท่ีมีรางกายแข็งแรงและสุขภาพดเีขามาปฏิบัติงาน นอกจากการคัดเลือกบุคลากรเพ่ือเขาทํางานตามแนวคดิขางตนนัน้แลวในการจดัการ

ธุรกิจโรงแรมยังตองคาํนึงถึงคณุสมบัติสวนบุคคลของบุคลากรในการทํางานดังท่ี ปรีชา แดงโรจน (2534, หนา 120) กลาวคือ

1. คณุสมบัติผูใหบรกิาร การท่ีจะใหลูกคาเกดิความพึงพอใจ ผูใหบริการควรจะตองเขาใจถึงคณุสมบัติของผู

ใหบริการดังสมชาติ กจิยรรยา (2543, หนา 42-43) ไดนําเสนอไว ดังนี ้ 1.1 รักงานบรกิาร คอื มีชีวิตจติใจท่ีชอบใหการบรกิาร ชอบชวยเหลือ ดูแลปกปอง

คุมครองใหผูใชบรกิารอบอุนใจ 1.2 รูงานรูหนาท่ี คอื มีความรอบรูในรายละเอียดวิธีการปฏิบัติงาน และรูรอบใน

เรื่องธุรกิจใกลเคยีงดวย 1.3 มีความกระตอืรือรน คอื มีความคลองตัวในการใหบริการชวยเหลือ ดูแล หรอื

เอาใจใสดวยความทะมัดทะแมงและกระตือรือรน 1.4 อดทน สนใจ คอื เปนผูท่ีบรกิารใหกับผูใชบริการดวยความอดทนตอสภาพหรือ

สถานการณตาง ๆ ได เชน อดทนตอการตําหนิ ตอวา รองเรียน หรือคําบน เปนตน 1.5 มีอัธยาศัยไมตร ีคอื เปนผูท่ีมีหูตาไวในการบรกิาร เพ่ือใหบริการดวยมิตรภาพท่ี

ดีซ่ึงเราจะตองรูจกัสังเกต หรือสอบถามปญหาหรือความตองการของผูใชบริการ 1.6 มีความยิ้มแยมแจมใส คอื เปนผูท่ีมีความราเริงสดใสในการท่ีจะใหการบรกิาร

ดวยบรรยากาศท่ีดีและมีความราบรืน่ 1.7 มีไหวพรบิปฎิภาณ คอื ตองรูจกัแกไขปญหาและปญหาเฉพาะหนาตาง ๆ จาก

ผูใชบริการ ท่ีเราไมคาดวาจะเกิดขึ้น 1.8 ประสานงานเปนเลิศ คอื ความสัมฤทธ์ิผลในการบริการ เกดิจากทีมงานท่ีมีการ

ประสานงานใหเปนเลิศ จากตัวบุคคล จากแผนก หรือฝายท่ีตองเกี่ยวของซ่ึงตองสัมพันธกนั

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 21: Edvoc0447wp ch2

25

1.9 มีความทรงจาํท่ีดี โดยสวนใหญเราใชขอมูลจากการบันทึกเอกสารหรือคอมพิวเตอร รวบรวมขอมูล หรือชวยจําแทนเรา

1.10 น้ําใจงดงาม ซ่ึงบางองคกรตั้งเปนวัฒนธรรมหรือคาํขวญัในการใหบรกิารท่ีสรางน้ําใจใหกับผูใชบรกิาร เชน “ยิ้มงาม ถามไถ ธุระส่ิงใด เต็มใจ” เปนตน

2. คณุสมบัติของพนกังานโรงแรม ซ่ึงถือเปนคณุสมบัติเฉพาะท่ีเปนหัวใจหลักอยางหนึ่งของธุรกิจโรงแรม ดังท่ี มาฆะ ขติตะสังคะและวจิติร ณ ระนอง (2542, หนา 33-34) สรุปไว คือ

2.1 มีความสุภาพออนนอมและทาทีเปนมิตร บุคลากรของโรงแรมจะตองเปนบุคคลท่ีกลาแสดงออก สามารถพูดกับคนแปลกหนาดวยน้ําเสียงราเริงเปนมิตร มีความเขาใจพฤตกิรรมของผูท่ีมาใชบรกิาร และรูจกัปฏิบัติตอผูมาใชบรกิารดวยความจริงใจ

2.2 มีการทํางานอยางมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว โดยหลักความเปนจริงไมมีผูใดตองการเสียเวลารอคอย การปลอยใหผูใชบรกิารยืนคอยหนาแผนกสวนหนาในขณะท่ีพนกังานตอนรับกําลังสาละวนกับเอกสารนานาชนิด ยอมจะไมสรางภาพพจนท่ีดีใหกับโรงแรม ดังนัน้ตองมีการทํางานอยางมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว

2.3 มีการแตงกายประณตีและการแสดงอากัปกิริยาทาทางท่ีนาประทับใจ การเสริม สรางบุคลิกภาพท่ีนาประทับใจสามารถปรุงแตงได เชน การแตงกายท่ีประณีต การแตงหนาอยางมีรสนิยม หรือการจดัแตงทรงผมท่ีเสรมิรับกับอากปักริิยาทาทางเฉพาะบุคคลและทุกอยางจะตองสอดคลองอยางเหมาะสม รวมท้ังความสะอาดตั้งแตศีรษะจรดเทา เหลานี้คือ ส่ิงท่ีพนักงานโรงแรมจะตองยึดถือปฏิบัติใหไดอยางเครงครดั

2.4 มีความสามารถในการใหบรกิาร การเปนบุคลากรของโรงแรมและทํางานดานธุรกิจการบริการจะตองมีความชอบและรกังานการบริการผูอ่ืน การเปนพนกังานโรงแรมท่ีดจีะตองผานการอบรมและเขาใจวิธีการเปนหัวหนางานท่ีดีดวย

2.5 มีความสามารถในการใชทักษะการขายผลิตภัณฑหรือการบรกิารตาง ๆ ของโรงแรม บุคลากรของโรงแรมตองมีความสามารถในการใชทักษะการขายบรกิารตาง ๆ ของโรงแรม โดยใหผูมาใชบรกิารเกิดความรูสึกของการคุมประโยชน

การคดัเลือกบุคลากรตามหลักการท่ีไดกลาวมาขางตนนัน้มีงานวิจยัสนับสนนุอยูหลายงาน ดังจะเห็นจากการวจิยัของ จงพิศ ศิริรัตน (2539) ท่ีไดทําการวจิยัเรื่อง การบริหารทรัพยากรมนุษยในอุตสาหกรรมโรงแรมของประเทศไทย พบวา โครงสรางพนกังานโรงแรมช้ันนําในประเทศไทยจะมีการจางพนกังานในทองถ่ิน โดยมีประสบการณการทํางานโรงแรมมากอน โรงแรมสวนใหญจะมีจํานวนพนกังานในชวง 200 – 400 คน ซ่ึงแบงไดเปนแผนกบริหาร แผนกครัว แผนกแมบาน แผนกบรกิาร และแผนกตอนรับ โดยจํานวนพนกังานจะมากหรือนอย ขึน้อยู

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 22: Edvoc0447wp ch2

26

กับประเภทของโรงแรม ขนาดโรงแรม และระดับคณุภาพโรงแรม สําหรับวธีิการคัดเลือกท่ีนิยมใชมากท่ีสุด คือ การสัมภาษณ การตรวจสอบการปฏิบัติงานระหวางชวงทดลองงาน และการทดสอบตามลําดับโดยสวนใหญนยิมใชวธีิการคัดเลือกรวมกันทุกวธีิ คอืมีการสัมภาษณรวมกับการทดสอบ การตรวจสอบรางกาย และการตรวจสอบระหวางชวงทดลองงาน นอกจากนั้นยังมีงานของ ชูชัย สมิทธิไกร (2539) ท่ีไดทําการศึกษาเรื่อง การสรรหาและคดัเลือกบุคลากรขององคกรธุรกิจในประเทศไทย ผลการศึกษาพบวา องคกรธุรกิจโดยสวนใหญในประเทศไทยมีการสรรหาบุคลากรจากภายในองคกร สําหรับตําแหนงระดับพนกังานปฏิบัติการจะใชวิธีการประกาศรบัสมัครจากพนกังานปจจุบัน สวนตาํแหนงระดับหัวหนางานและผูบรหิารช้ันสูง องคกรสวนใหญจะไมประกาศรับสมัครอยางเปนทางการแตจะใชวิธีอ่ืน ๆ เชน การใหผูบริหารของตําแหนงงานท่ีวางเปนผูคดัเลือก สําหรับวธีิการท่ีใชในการคัดเลือกบุคลากรท่ีองคกรธุรกิจในประเทศไทยนยิมใชมากท่ีสุดในตําแหนงงานทุกระดับ คือ การสัมภาษณ สวนวธีิการท่ีไดรับความนยิมรองลงมา ไดแก การทดสอบความรูเฉพาะตําแหนงงาน สําหรับการคัดเลือกพนักงานปฏิบัตกิารและการตรวจสอบประวัติและภูมิหลังสําหรับการคัดเลือกหัวหนางานและผูบริหารช้ันสูง สวนวิธีท่ีไดรับความนิยมนอยท่ีสุด คือ การทํากลุมประเมิน (Assessment Center) ซ่ึงเปนวิธีการประเมินบุคคลท่ีประกอบ ดวยชุดของกิจกรรมตาง ๆ และมีผูประเมินหลายคน โดยมีจุดประสงคหลัก คอื การประเมินบุคคลท่ัวทุกสวนโดยจะมีการดําเนินการ 6 อยางดงันี้ คอื การวิเคราะหงาน การมีหลายวิธีรวมกนัในการประเมินบุคคล หลายผูประเมิน การฝกอบรมผูประเมิน สถานการณจาํลอง และการประเมินโดยภาพรวมของกลุม

การจัดการดานการเงนิ การจัดการดานการเงินของธุรกิจการโรงแรมนัน้ถือเปนส่ิงสําคญัอันดับแรกท่ีจะตอง

คาํนึงถึงในดานการกําหนดความตองการทางการเงินโดยเฉพาะ ธุรกจิท่ีกําลังจะเปดดําเนนิการหรือธุรกิจท่ีเปดดําเนนิการอยูแลวเพ่ือใหเกิดการบริหารเงินใหมีประสิทธิผล โดยการระบุคาใชจายดําเนนิงานและการประเมินขอผูกพันทางการเงินในสวนบุคคลท่ีมีอยู จะตองกําหนดใหชัดเจนเกี่ยวกับเรื่องตาง ๆ ของธุรกิจท่ีตองการจดัหาเงินทุน กําหนดวาธุรกิจตองการความชวยเหลือทางการเงินจากภายนอกมากนอยเพียงใดและคาดการณความตองการเงินทุนในระยะยาวของธุรกิจ ความตองการทางการเงินของธุรกจิจะวนเวยีนอยูรอบ ๆ ความตองการท่ีสัมพันธซ่ึงกนัและกัน 3 ประเภท คือ เงินทุนในการจดัตั้งธุรกจิ เงินทุนในการเริ่มตนธุรกิจ และเงินทุนในการดําเนนิงาน ความตองการสองประเภทแรกมุงท่ีระยะเวลากอนการเริ่มตนดําเนนิงาน ในขณะท่ีเงินทุนในการดําเนนิงานอาจเปนท่ีตองการ ณ จุดใด ๆ กไ็ดในระหวางชวงชีวิตของธุรกิจ ดังตารางตอไปนี ้

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 23: Edvoc0447wp ch2

27

ตาราง 2 ลักษณะความตองการเงินทุน

เงนิทนุในการจัดตัง้ธุรกจิ เงนิทนุในการเร่ิมตนธรุกจิ เงนิทนุในการดาํเนนิงาน สินคาคงเหลือเริ่มตน อุปกรณ เครื่องใช คาประกนัภัย เงินมัดจําการเชา คาบริการทางกฎหมายและบัญชี คาใชจายท่ีตองชําระกอน คาใชจายดานวิชาชีพ คาปรับปรุงซอมแซม คาออกแบบ

เครื่องใชท่ีตองตกแตงใหม วัสดุสํานักงาน คาใชจายในการสงเสริมการขาย สินคาคงเหลือเฉพาะอยาง แรงงานเฉพาะดาน

การขาดแคลนเงินสด การขยายงาน การจัดซ้ือท่ีสําคัญๆ ความตองการตามฤดกูาล

ท่ีมา : ผุสด ี รุมาคม (2540, หนา 234)

ความตองการเงินลงทุนในการจัดตัง้ธุรกิจซ่ึงผุสดี รุมาคม (2540, หนา235) ไดแบงความตองการออกเปน 4 ประเภท คือ

1. ความตองการเงินในมัดจําการเชาและการซอมแซม หรือการออกแบบรานหรือโรงงานขึน้ใหมเพ่ือใหสอดคลองกับความตองการของธุรกจิ

2. ความตองการเงินท่ีจะนาํไปใชเปนคาอุปกรณและเครื่องใชตาง ๆ ท่ีตองการเพ่ือดําเนนิธุรกจิ

3. ความตองการเงินท่ีจะนํามาซ้ือสินคาคงเหลือชวงเริ่มตนธุรกิจ 4. ความตองการเงินท่ีจะนาํไปใชเปนคาใบอนญุาตและการขออนุญาต คาธรรมเนยีม

ทางดานวชิาชีพและคาใชจายท่ีตองชําระกอน รวมท้ังคาใชจายในการดําเนนิการตาง ๆ ท่ีตองชําระกอน เชน คาประกนัภัย คาสาธารณูปโภค

ความตองการเงินทุนเพ่ือเริ่มตนธุรกิจนั้น อํานาจ ธีระวนิช (2541, หนา26) กลาววาประกอบดวยเงินทุนท่ีเกีย่วของกับ แรงงาน การสงเสริมการขาย วัสดุสํานกังาน เครื่องใชท่ีตองตกแตงใหม และรายการอ่ืน ๆ ท่ีแตกตางกันซ่ึงจะตองจัดซ้ือมา คาใชจายในการเริ่มตนธุรกิจเปนคาใชจายท่ีเกดิขึ้นในทันทีทันใดกอนการเปดกิจการและระหวางสองสามสัปดาหหรือสองสามเดือนแรกของการดําเนนิงาน ลักษณะท่ีเดนชัดของคาใชจายในการเริ่มตนธุรกจิคอื เปนคาใชจายท่ีมักจะ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 24: Edvoc0447wp ch2

28

เกดิขึน้เฉพาะเม่ือเริ่มตนธุรกิจและจะไมเกดิขึน้อีกในปตอ ๆ ไปซ่ึงความสําคญัของคาใชจายในการเริ่มตนธุรกิจจะขยายขอบเขตออกไปมากขึ้น เนือ่งจากท้ังรายรับและรายจายมักจะเปล่ียนแปลงได มากในระหวางชวงเวลาท่ีเริ่มตนธุรกิจ ลักษณะและขอบเขตของความตองการสินคาและบริการของธุรกิจ จังหวะเวลาการขาย และระดับของรายจายท่ีเหมาะสมซ่ึงจําเปนในการกอใหเกิดยอดขายท้ังหมดนี้ ตองใชเวลาท่ีจะทําใหเกดิเสถียรภาพและการคาดการณโดยมีระดับความถูกตองท่ีมีเหตุผล นอกจากนั้นระวัง เนตรโพธ์ิแกว (2540 ,หนา236) ไดกลาวเสริมอีกวา ในระหวางระยะของการลองผิดลองถูกนี้มักจะปรากฏวารายจายสูงกวารายรับและการหมุนเวยีนของเงินสดจะเปนปญหา ดังนัน้ เงินทุนในการเริ่มตนธุรกจิอาจจะเปนท่ีตองการเพ่ือใหครอบคลุมคาใชจายเหลานี้และชวยใหธุรกิจดาํเนนิงานไดตลอดระยะเวลาสามถึงหกเดอืนแรก

ความตองการเงินทุนในการดําเนนิงานเปนการใชเงินทุนในการดําเนินงานท่ีธรรมดาท่ีสุด คือ เพ่ือท่ีจะเอาชนะปญหาการหมุนเวียนของเงินสด เพ่ือใหธุรกิจอยูรอดในชวงท่ีเผชิญหนากับความตกต่าํ และเพ่ือขยายตวัทางการเงิน ธุรกจิเกอืบทุกแหงไมวาจะมีขนาดใหญหรือขนาดเล็ก ประสบความสําเร็จหรือไมประสบจะตองเคยประสบกับปญหาการหมุนเวยีนของเงินสดในบางเวลาไมชาก็เร็ว เงินสดรับไมเพียงพอกับเงินสดจายและธุรกิจจะตองอาศัยเงินสดสํารอง หรือการจัดหาเงินจากภายนอกเพ่ือใหเกิดความสมดลุระหวางเงินสดรับกบัเงินสดจาย ในกรณีท่ีลักษณะเชนนี้กลายเปนปญหาท่ีเกดิขึ้นบอย ๆ แลวก็อาจจะจําเปนตองปรบัปรุงโครงสรางเงินทุนของธุรกจิเสียใหม นั้นคอื ความสมดลุระหวางการกอหนีก้ับการลงทุนของเจาของธุรกิจ

ตารางที ่3 ลักษณะความตองการทางการเงิน

ปแรกๆ ปกลางๆ ปทายๆ

การขาดแคลนเงินสด ความตองการตามฤดกูาล

การจัดซ้ืออุปกรณใหม การวาจางเจาหนาท่ีฝายบริหาร การจัดโครงสรางหนี้สินขึ้นใหม การซอมแซมใหม การขยายตัว

การเชาอุปกรณใหม การจัดโครงสรางหนี้สินใหม

ท่ีมา : ระวัง เนตรโพธ์ิแกว (2540 ,หนา236)

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 25: Edvoc0447wp ch2

29

การวางแผนความตองการเงินทุนในอนาคตนั้น เมธี ดุลยจินดา (2534 ,หนา236) ไดกลาววาผูประกอบการควรจะประมาณและวางแผนความตองการเงินทุนสําหรับสองถึงส่ีปขางหนา การพยากรณระดับกิจกรรมของธุรกิจในอนาคตเปนขัน้ตอนแรกในกระบวนการนี้เม่ือธุรกิจไดดําเนนิงานมาเปนระยะเวลาหนึ่งหรือสองป การพิจารณาทบทวนบันทึกทางการเงินโดยตลอดจะแสดงใหเห็นสัญญาณของความตองการเงินทุนในอนาคต แตส่ิงท่ีสําคัญท่ีสุดผูประกอบการจะตองเตรียมธุรกิจสําหรับความตองการเงินทุนในอนาคต อยางมีประสิทธิผลไมวาเพ่ือท่ีจะใหผานชวงเวลาท่ียุงยาก หรือเพ่ือท่ีจะขยายการดําเนินงาน

การจัดหาเงินทุนและแหลงเงินทุน การจัดหาเงินเปนเรื่องยากท่ีจะไดรับและมีประเภทเงินทุนท่ีแตกตางกันอยางเห็นไดชัด

โดยขึ้นอยูกับลักษณะของธุรกิจ สถานการณทางการเงินปจจบัุน จํานวนของเงินทุนท่ีตองการ และตัวแปรอ่ืน ๆ และส่ิงท่ีสําคัญไมยิ่งหยอนกวากันคือ เงินทุนแตละประเภทจะเสนอคาใชจายและผล ประโยชนท่ีมีลักษณะเฉพาะซ่ึงอาจจะเหมาะสมหรือไมเหมาะสมกับธุรกิจใดธุรกิจหนึ่ง ความเขาใจแหลงเงินทุนแหลงตาง ๆ และความเช่ือถือไดสําหรบัธุรกิจเปนกุญแจนําไปสูการกอใหเกดิเงินทุนและการบริหารการเงินท่ีประสบความสําเร็จ ชนินทร ชุณหพันธรักษ (2541, หนา153) กลาววาแหลงเงินทุนแบงออกเปน 3 แหลงใหญ ๆ คือ

1. แหลงเงินทุนระยะส้ัน เปนแหลงเงินทุนท่ีมีบทบาทตอธุรกิจมาก สําหรับใชเปนเงินทุนหมุนเวยีน กลาวไดวาไมมีกิจการใดท่ีไมใชเงินทุนระยะส้ัน เครดติท่ีไดจะอยูประมาณ 30 – 90วนั หรือ มากกวานัน้กไ็ดแตไมเกิน 1 ป แบงออกเปนแหลงตาง ๆ ดังนี ้

1.1 แหลงเงินทุนท่ีไมตองจายดอกเบ้ีย ไดแก เจาหนีก้ารคา ซ่ึงเกดิจากการซ้ือสินคา หรือวสัดุเปนเงินเช่ือ คาใชจายคางจาย ซ่ึงจดัเปนแหลงเงินทุนเพราะไดสินคาหรือไดรับบรกิารเรียบรอยแลว จึงจายชําระเงินภายหลัง ทําใหสามารถนาํเงินไปหมุนใชภายในธุรกจิไดกอน

1.2 แหลงเงินทุนท่ีตองจายดอกเบ้ียแตไมตองมีหลักทรพัยค้ําประกนั ไดแก เงินกูยืมสวนตวัจากบุคคลใกลชิด เชน ญาติพ่ีนอง บุคคลท่ีคุนเคย กรรมการของบรษิัท นอกจากนี้ก็มีเงินมัดจําจากลูกคา เงินเบิกเกนิบัญชีจากธนาคาร เปนตน กรณีเงินเบิกเกนิบัญชี บางกรณีอาจตองมีหลักทรัพยค้ําประกันก็ได

1.3 แหลงเงินทุนท่ีตองจายดอกเบ้ียและใชสินทรัพยหมุนเวยีนค้ําประกนั ไดแก เงินกูโดยใชสินคาค้ําประกนั เงินกูโดยใชลูกหนี้ค้ําประกนั หรืออีกประเภทหนึ่งท่ีเปนท่ีนยิมในปจจุบันคอื การขายบัญชีลูกหนี้หรือคาํส่ังซ้ือจากลูกคาใหสถาบันการเงินไป ซ่ึงเปนวิธีท่ีกจิการไดเงินมาใชทันทีและไมตองยุงยากในการเก็บหนี้เพราะเปนภาระของสถาบันการเงินท่ีรับซ้ือลูกหนี้

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 26: Edvoc0447wp ch2

30

แตกิจการก็ตองเสียคาธรรมเนียมเพ่ิม นอกเหนอืจากดอกเบ้ียท่ีถูกเรียกเก็บในชวงท่ีสถาบันการเงินนัน้ยังเกบ็เงินจากลูกหนี้ไมไดดวย

1.4 อ่ืน ๆ ไดแก บัตรเครดิตของสถาบันการเงินหรือของบริษัทท่ีทําธุรกิจดานนี ้ เชน บัตรเครดติโพธ์ิเงิน-โพธ์ิทองของธนาคารไทยพาณชิย บัตรเครดติบัวหลวงของธนาคารกรุงเทพ บัตรเครดิตซิตี้แบงค เปนตน ปกติเครดิตตอครั้งประมาณ 30 วนั เปนเครดติท่ีไมตองจายดอกเบ้ีย แตตองเสียคาธรรมเนียมรายป นอกจากนี้ก็มีการขายลดเช็คหรือตั๋วเงินใหกับสถาบันการเงิน วธีินีก้ิจการจะเสียคาธรรมเนียมการขายลดเรยีกวาสวนลด ทําใหเงินท่ีกิจการไดรับนอยกวาจาํนวนตามเช็คหรือตั๋วเงิน ผลตางระหวางจาํนวนเงินตามเช็คหรือตั๋วกับจาํนวนท่ีไดรับคอืสวนลดในการขายลดเช็คหรือตั๋วเงินนั่นเอง

2. แหลงเงินทุนระยะปานกลาง เปนแหลงเงินทุนสําหรับระยะเวลาท่ีเกิน 1 ป แตอยูใน ชวง 3 – 5 ป หรือ 7 ป 10 ป โดยท่ัวไปแลวนกับัญชีจะแบงระยะเวลาเปน 2 ชวง คือ ระยะส้ันไมเกนิ 1 ป นอกนัน้ถือเปนระยะยาว แตสําหรับนกัการเงินจะแบงระยะออกเปน 3 ชวง คือ ไมเกิน 1 ป จัดเปนระยะส้ันเหมือนนกับัญชี ถาเกนิ 1 ปแตไมเกนิ 10 ป เปนระยะปานกลาง นอกจากนี้ถือเปนระยะยาว แหลงเงินทุนประเภทนี้ ไดแก การกูยืมจากธนาคารพาณชิย บริษัทเงินทุน บริษัทผูผลิต เปนตน การกูยืมจากธนาคารพาณชิยจะมีการกําหนดวงเงินใหกู อัตราดอกเบ้ีย การค้ําประกนั และอาจมีบรกิารดานการใหคาํปรกึษา แตขอเสีย คอื กิจการตองเปดเผยขอมูลและมีเง่ือนไขขอจาํกดั ซ่ึงทําใหกิจการยุงยากในการตัดสินใจทางการเงินได การกูเงินจากบรษิัทเงินทุนและบริษัทผูผลิตอาจใหกูยืมในลักษณะการเชาซ้ือสินทรัพย โดยจายเงินดาวนสําหรับสินทรัพยท่ีซ้ือกับบริษัทผูผลิตแลวผอนชําระเปนงวด ๆ ในเงินคาสินทรัพยท่ีเหลือ หรือนาํมาผอนตอกับบริษัทเงินทุนโดยใหบรษิัทเงินทุนจายใหไปกอน นอกจากนีน้ักการเงินยังจัดการเชาสินทรัพยถาวรมาใชในกจิการเปนแหลงเงินทุนระยะปานกลางดวยเชนกนั โดยกิจการอาจทําการเชาสินทรัพยถาวรจากกจิการท่ีทําใหเชาสินทรัพย หรืออาจนาํสินทรัพยของตนไปขายหมุนเงินมาใช แลวเชาสินทรัพยท่ีขายกลับมาใชงานได กิจการก็จะไดท้ังเงินและสินทรัพยนัน้ก็ยังคงใชงานอยูตอไป ลักษณะการเชาท่ีจะเปนการเชาทางการเงินกรณนีี้ ตองเปนการเชาสินทรัพยถาวรตลอดอายุการใชงานของสินทรัพย เปนการเชาท่ีเปนขอผูกมัดและไมอาจยกเลิกกอนสัญญาได

3. แหลงเงินทุนระยะยาว เปนแหลงเงินทุนสําหรับระยะเวลายาวนานเกนิกวา 5 ป 7 ป หรือ 10 ปขึ้นไป ไดแก การกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เชน บรษิัทเงินทุนธนาคารพาณชิย สํานักงานธนกิจอุตสาหกรรมขนาดยอม บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย เปนตน ซ่ึงเหมือนกับการกูยืมระยะปานกลางเพียงแตระยะเวลายาวนานกวา นอกจากนี้อาจกูยืมเงินระยะยาวจากบุคคลท่ีคุนเคยนอกระบบการเงินก็ได แหลงเงินทุนระยะยาวนี้รวมท้ังเงินทุนจากเจาของกจิการ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 27: Edvoc0447wp ch2

31

ซ่ึงอาจอยูในรูปของเงินทุนหรือหุนสามัญ สําหรับการจดัหาเงินทุนโดยการออกหุนสามัญจะเกิดขึน้ในกรณกีิจการตั้งธุรกิจในรูปบรษิัท ซ่ึงจะเรียกเจาของกจิการวาผูถือหุนของบรษิัท ถามีการจัดหาทุนโดยการออกหุนสามัญเพ่ิม กจิการจะมีผูถือหุนหรือเจาของกจิการหรือเจาของกจิการเพ่ิม ถาเปนการขายหุนใหผูถือหุนรายใหมท่ีไมใชผูถือหุนเดมิ การระดมเงินทุนโดยการออกหุนสามัญสําหรับกิจการขนาดเล็กทําไดไมยุงยาก กิจการสามารถขายหุนโดยตรงกบัผูซ้ือ ซ่ึงอาจเปนผูถือหุนเดิมหรือผูถือหุนใหมท่ีเปนบุคคลหรือกลุมบุคคลท่ีคุนเคยกนั โดยใหสํานักงานทนายความจดัการทางกฎหมายใหหรือจะใหบรกิารหลักทรัพยหรือบริษัทเงินทุนและหลักทรัพยดําเนนิการใหท้ังหมดก็ได

นอกจากนี้ยังมีแหลงเงินทุนอีกแหลง ท่ีกจิการสามารถนาํเงินมาใชได คอื กําไรสะสมของกจิการเองและคาเส่ือมราคา คาเส่ือมราคาจดัเปนแหลงเงินทุน เพราะคาเส่ือมราคาเปนคาใชจายท่ีมิไดมีการจายเงินไปจริง จึงจัดใหเปนแหลงเงินทุนแหลงหนึ่งดวย

สําหรับหลักการจัดหาเงินทุนจากแหลงตาง ๆ นัน้ ควรคาํนงึถึงความเหมาะสมของการใชเงินทุน กลาวคือ ควรจดัหาเงินทุนระยะส้ันมาใชสําหรับลงทุนในสินทรัพยระยะส้ัน และควรจัดหาเงินทุนระยะปานกลางและระยะยาวมาใชสําหรับลงทุนในสินทรัพยระยะปานกลางและระยะยาว เพ่ือใหกระแสเงินสดรับจากการลงทุนในสินทรัพยกลับคนืมาสอดคลองกับกระแสเงินสดจายซ่ึงไดแก ดอกเบ้ีย เงินปนผล หรือคาธรรมเนียมตาง ๆ จากการจัดหาเงินทุนจากแหลงตาง ๆ ถากิจการไมคาํนงึถึงความเหมาะสมดงักลาว อาจมีผลทําใหกจิการประสบปญหาได

การจัดการดานการเงินของธุรกิจโรงแรมใหประสบผลสําเร็จนั้นตองมีการควบคมุทางการเงินในดานรายไดและคาใชจายของธุรกจิอยางรดักุมกอนถึงจะเรียกไดวาประสบความสําเร็จในการจัดการดานการเงิน โรเบริต เจ ม็อคเลอร (Robert J. Mockler, 1956, อางใน สมยศ นาวกีาร, 2544, หนา 474-475) ไดใหคาํจํากดัความการควบคมุ คอื ความพยายามอยางมีระบบเพ่ือกําหนดมาตรฐานของการปฏิบัติงานท่ีเกดิขึน้จริงกับมาตรฐานของการปฏิบัติงาน การออกแบบระบบขอมูลยอนกลับ การเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานท่ีเกดิขึน้จริงกบัมาตรฐานท่ีกําหนดไวลวงหนา พิจารณาวามีขอแตกตางหรอืไมและทําการแกไขใด ๆ ท่ีตองการ เพ่ือเปนหลักประกันวาทรพัยากรทุกอยางขององคการไดใชอยางมีประสิทธิภาพมากท่ีสุด เพ่ือความสําเร็จของเปาหมายองคกร

จากคาํจํากดัความดงักลาวสามารถแบงการควบคุมเปน 4 ขัน้ตอน คอื การกําหนดมาตรฐานและวิธีการวัดผลการปฏิบัติงาน การวัดผลการปฏิบัติงานท่ีเกิดขึ้นจริง การเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐาน และแปลความหมายของขอแตกตางใดๆท่ีเกิดขึ้นและการแกไข

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 28: Edvoc0447wp ch2

32

สําหรับรายไดหลักของธุรกจิโรงแรมนัน้ไดมาจาก 4 แหลงท่ีสําคัญ ดังนี ้คือ 1. การขายหองพัก 2. การขายอาหารและเครื่องบิน 3. การขายหองประชุม หองจดัเล้ียง 4. รายไดอ่ืน ๆ นอกจากนี้โรงแรมท่ีมีขนาดใหญจะมุงสรางภาพพจนในแงของการขายบริการท่ีดีท่ีสุด

จึงตองจัดใหมีเครื่องอํานวยความสะดวกสบายใหผูมาพักมากท่ีสุด จึงมักจะมีบรกิารคาดานอ่ืน ๆ อีก เชน การรับแลกเปล่ียนเงินตราตางประเทศ การใหบรกิารเชาโทรศัพท โทรพิมพ การใหเชารานคาแกบุคคลภายนอกเพ่ือเปดรานคาบรกิารผูมาพัก การใหบริการซักรดีเส้ือผาแกแขกผูมาพัก การขายดวงตราไปรษณียากร การใหบรกิารทางดานสันทนาการอ่ืน ๆ เชน หองอบตวั สปา สนามเทนนสิ สนามกอลฟ ท้ังนี้ขึ้นอยูกับความหรหูรา ขนาดและระดับของโรงแรมแตละแหงนัน้

สวนคาใชจายหลัก ๆ ของธุรกจิโรงแรมนัน้ประกอบไปดวยคาใชจายหลัก ๆ ดังตอไปนี ้1. คาใชจายเกี่ยวกับวัสดุส้ินเปลืองใหบริการ 2. คาใชจายในเรื่องของเงินเดือนและคาแรง 3. คาใชจายเกี่ยวกบัตนทุนอาหารและเครื่องดืม่ 4. คาใชจายเกี่ยวกับคาไฟฟา คาโทรศัพท ฯลฯ 5. คาใชจายเกี่ยวกับซอมแซมและบํารุงรักษา

การจัดการดานวัสดอุปุกรณ การจัดการดานวัสดุอุปกรณนั้นปรีชา แดงโรจน (2540, หนา78) ไดใหความหมายไววา

หมายถึง วิธีการในการจัดหาและเลือกสรรวัสดุ อุปกรณ เครื่องใชและเครื่องมือตาง ๆ รวมท้ังการออกแบบและการตกแตงอาคารสถานท่ีอยางมีประสิทธิภาพในงบประมาณท่ีมีอยูอยางจํากดั นอกจากนั้นขจิต กอบเดช (2535, หนา 45) ยังไดกลาววาการจัดการดานวัสดุอุปกรณ คือ กลุมหนาท่ีทางการจัดการท่ีสนบัสนนุใหกระแสการไหลของวสัดุเปนไปโดยครบวงจรนบัตั้งแตการจดัซ้ือและการควบคมุภายในของวัสดกุารผลิตไปสูการวางแผนและควบคุมสินคาคงคลังระหวางกระบวนการผลิต จนถึงการเก็บรักษา จดัสง จัดจาํหนายสินคาสําเร็จรูป กิจการเกือบทุกกิจการ ท้ังกิจการการผลิตและกิจการใหบรกิาร ลวนแตตองเกี่ยวของกับการจดัซ้ือและควบคุมสินคาคงคลัง เพ่ือตอบ สนองความพึงพอใจผูบริโภค สําหรับวัตถุประสงคของการจัดการดานวัสดุอุปกรณ คือ การจัดการกระแสการไหลของวัสดใุหมีประสิทธิภาพ ไดรายการของถูกตอง ตรงตามเวลาและตรงตามสถานท่ี

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 29: Edvoc0447wp ch2

33

ท่ีตองการ ซ่ึงขึ้นอยูกับการบริหารระบบใหกระแสการไหลของสินคาเปนไปโดยราบรื่น ไมลาชา และไมจมทุนอยูในสินคาคงคลัง

ในดานการจัดการดานวัสดุอุปกรณของธุรกิจโรงแรมนัน้มีความเกี่ยวของกับการวางผังและการออกแบบเปนอยางมาก เนื่องจากการวางผังและการออกแบบนับวาเปนส่ิงสําคัญท่ีเจาของธุรกิจจําเปนตองคาํนึงถึงเพ่ือใหเหมาะสมกับธุรกจิท่ีลูกคาจะตองมาใชบรกิาร ดั้งนั้นการตดัสินใจจะตองมุงเนนทําใหลูกคาเกิดความพึงพอใจและเกิดความสะดวกในการเลือกซ้ือสินคาหรือใชบรกิาร เพราะจะมีผลตอภาพพจนและการเพ่ิมผลผลิตของธุรกิจ ปจจยัท่ีกําหนดการวางแผนธุรกิจ ปรีชา แดงโรจน (2540, หนา 56) กลาววาธุรกิจโรงแรมนัน้ถือวาเปนธุรกิจบรกิารประเภทหนึ่งซ่ึงลูกคาจะเขามารบับรกิารดังนัน้จําเปนตองมีการวางผังท่ีใหความสะดวกสบายแกลูกคา และการหมุน เวยีนของงาน ผังท่ีตั้งจะมีผลตอภาพพจนของธุรกจิการบรกิารและทําใหเกดิความรวดเรว็ในการบริการ สําหรับการออกแบบและการตกแตงหองพักนั้นถือไดวาเปนส่ิงสําคัญอยางหนึ่งในการจัดการดานวัสดุอุปกรณของธุรกจิโรงแรม การออกแบบหองพักโดยใชเฟอรนิเจอรท่ีมีคณุภาพประกอบกบัรสนิยมท่ีดีจะสงผลใหแขกท่ีเคยมาพักกลายเปนแขกประจําของโรงแรม นับไดวามีประโยชนท้ังในดานความสะดวกสบายและความสวยงามของสถานท่ี โรงแรมหรือท่ีพักบางแหงถึงแมวาเฟอรนิเจอรจะยังคงใชงานไดกต็าม แตถาจําเปนกค็วรจะเปล่ียนใหมหรือออกแบบใหเขากับความนยิม เฟอรนิเจอรช้ินใดท่ีชํารุดควรจะเปล่ียนกอนท่ีจะมองเห็นรอยไดอยางชัดเจน คอยตรวจดูวาเฟอรนิเจอรช้ินใดควรจะเปล่ียนเม่ือใด

ในการออกแบบตกแตงหองพักนัน้ดั้งท่ี วนิิจ วีรยางกูล (2532, หนา 169) ไดใหคาํ แนะนําวาควรจะมีเฟอรนิเจอรดังตอไปนี ้

1. เครื่องบุขอบเตียงเพ่ือปองกันเวลาเตียงชนกับผนังหอง 2. ท่ีนอน หมอน ผาหม 3. แผงควบคุมไฟฟาท่ีเตยีงพรอมกับสวติชไฟในหอง 4. โทรศัพทวางไวท่ีโตะหัวเตยีง 5. ท่ีพิงศีรษะบุนวมติดกับผนังสําหรับแขกท่ีอานหนังสือบนเตียง 6. ไฟตั้งโตะหรือติดฝาผนัง จะใชกีด่วงขึ้นอยูกับขนาดหองพัก แตอยางนอยควรมี 3

ดวง คอื ท่ีโตะหัวเตยีง โตะแตงตวั และเพดาน 7. เกาอ้ีนวมมีท่ีเทาแขน 8. ไมแขวนเส้ือท่ีไมใชโลหะ 9. ช้ันสําหรับวางกระเปาเดนิทาง

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 30: Edvoc0447wp ch2

34

10. พรมเช็ดเทา ปูในท่ีท่ีควรจะปู 11. เครื่องประดับแบบติดฝาผนังซ่ึงทําความสะอาดไดงาย นอกจากการวางผังและการออกแบบแลว การจดัหาและการเลือกสรรวัสดุอุปกรณ

เครื่องใชและเครื่องมือตางๆกจ็ดัไดวามีความสําคญัอยางหนึ่งในการจดัการดานวสัดุอุปกรณในธุรกิจโรงแรม ดังท่ี โดนัล อี ลุนเบริก (Donald E. Lunberg, 1974, อางใน ปรีชา แดงโรจน, 2534, หนา 174-177) กลาววา ประเภทและความสําคญัของเครื่องมือเครื่องใชในงานโรงแรม 4 ประเภท คือ

1. เครื่องจักรและเครื่องทุนแรง ถือไดวาเปนส่ิงสําคัญอยางยิ่งในงานโรงแรมนอกจากจะชวยผอนแรงในการทํางานของพนักงานแลวยังจะชวยในเรื่องของระยะเวลาในการทํางานอีกดวย อาจแบงออกไดเปน 3 ประเภท ดงันี ้

1.1 เครื่องจกัร เครื่องขบัเคล่ือนดวยแรงไฟฟา สวนมากจะเปนเครื่องท่ีเกี่ยวกบังานพ้ืน เชน เครื่องสําหรับกวาด เครื่องสําหรับขดั เครื่องถูพ้ืน เครื่องดดูฝุน เครื่องซักพรม เปนตน แตอาจจะมีอยางอ่ืนเปนตนวา เครื่องทําความสะอาดฝาผนัง เครื่องทําความสะอาดเฟอรนิเจอร เครื่องทําความสะอาดกระจก เครื่องทําความสะอาดเครื่องใชประเภทผาท้ังหมด เชน เครื่องซักผา เครื่องรีดผา

1.2 รถยกหรือรถเขน็ เชน รถบรรทุก รถยกเครื่องจกัรตาง ๆ ท่ีใชนอกอาคารหรือรถเขน็สําหรับพนักงานทําความสะอาดหองพัก พนกังานทําความสะอาดท่ัว ๆ ไป หรือรถเขน็กระเปาสัมภาระของแขกท่ีมาพัก จะมีขนาดและลักษณะตางๆกัน และจะตองรับน้ําหนักของไดดี เชน กระเปาสัมภาระของแขก เครื่องดดูฝุน เตยีงเสริม เปนตน และควรจะมีท่ีเหลือสําหรับวางของพนกังานดวย การออกแบบรถเขน็ควรปดดานหลังเพ่ือความเรยีบรอยสวยงามและกันของสูญหาย ถาไมปดก็ควรมีผาคลุมส่ิงของไว รถเขน็ท่ีใชในโรงแรมควรจะมีกันชนไวดวยเพ่ือปองกันไมใหเปนรอยตามฝาผนัง รถเข็นของผูทําความสะอาดในเขตบริเวณสาธารณะควรมีท่ีวางไมกวาดท่ีใสของท่ีไมใชหรือขยะ และถังน้ํา สําหรับรถเข็นท่ีบรรทุกของหนัก ๆ ควรมีลอเข็นขนาดใหญและเบรคเพ่ือชวยบังคับและเพ่ือความปลอดภยัในการขึ้นลงทางลาดหรอืเอียง จํานวนช้ันวางของบนรถเขน็จะมีกี่ช้ันก็ไดแลวแตความตองการและอาจเล่ือนขึ้นลงไดเพ่ือประโยชนในการบรรทุก เชน เครื่องใชประเภทผาท้ังหมดจากโรงซักรดีไปยงัท่ีเกบ็ หรือหองผาประจาํช้ันตาง ๆ สวนรถเขน็ท่ีใชบรรทุกผาท่ีใชแลวหรือของท่ีจะท้ิง มักทําดวยใยแกวเพ่ือทําความสะอาดงายและควรมีลอเข็นขนาดใหญประมาณ 6 นิ้ว ซ่ึงไมเพียงแตเปนประโยชนสําหรับพนักงานทําความสะอาดท่ัวไปเวลาเก็บผาท่ีใชแลวตามช้ันตาง ๆ ยังเปนประโยชนสําหรับบริเวณจดังานเล้ียงดวย เชน เกบ็จานชามอุปกรณตาง ๆ ในการจัดเล้ียงอาหารเครื่องดื่มท่ีใชแลวดวย

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 31: Edvoc0447wp ch2

35

1.3 เครื่องกําจดัส่ิงปฎิกูล ควรจะเปนนโยบายของฝายบริหารท่ีจะตองเปนผูศึกษาเรื่องนี้และหาขอสรุปจะดําเนินการเรื่องนี้อยางไรแลวรายงานสงฝายบริหารเพ่ือหาขอยุติท่ีจะวางนโยบายสําหรับโรงแรมตอไป แตอยางไรกต็ามควรคาํนึงดวยวาของท่ีจะท้ิงนัน้อาจเปน ประโยชนสําหรับแผนกอ่ืน ๆ ได เชน เครื่องบดขยะสําหรับลดจํานวนขยะกอนท้ิง การทําลายขยะโดยการเผาท่ีไมทําใหอากาศเสียและเปนประโยชนในการทําน้ํารอนหรือทําใหอากาศอุนไดอีกดวย

2. เครื่องมือเครื่องใชขนาดเล็กและภาชนะตางๆ เครื่องมือเครื่องใชประเภทตางๆมักจะเปนชนิดท่ีมีใชกันมานานแลวและยังคงใชกันในปจจบัุนเพราะยังไมมีส่ิงอ่ืนเขามาแทนท่ีเหมาะสมกวา ไดแก

2.1 แปรงปดและท่ีตักผง เหมาะสําหรับเศษผงดนิหรอืทรายท่ีมีขนาดใหญเกนิกวาเครื่องดดูฝุนจะทํางานได และยังเหมาะท่ีสุดท่ีจะใชปดฝุนเกาอ้ีนวมในหองอาหารท่ีไมสามารถใชเครื่องดูดฝุนทําความสะอาดได

2.2 แปรงปดฝุนขนาดเล็ก 2.3 ไมกวาดขนาดตางๆ 2.4 ไมเช็ดพ้ืนขนาดตาง 2.5 ถังน้ําควรใชถังท่ีทําดวยวัสดุมีน้ําเบาและคงทน อาจมีหลายใบสําหรับน้ํายาเคมี

ซ่ึงตองใชชนิดท่ีทนตอสารเคมีไดดวย และถังน้ําเปลาสําหรับทําความสะอาด 3. วัสดุจําเปนอ่ืน ๆ จัดไดหลายประเภท เชน 3.1 วสัดุประจําหองพัก แบงออกเปนวัสดุถาวรและวัสดุส้ินเปลือง ดังปรากฏใน

ตารางตอไปนี ้

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 32: Edvoc0447wp ch2

36

ตารางที ่4 วัสดุประจําหองพัก

วัสดุถาวร วัสดส้ิุนเปลอืง ไฟฉายขนาดกลาง ไมแขวนเส้ือท่ีไมใชโลหะ แกวน้ํา จานรอง ท่ีเขี่ยบุหรี่ ผาเช็ดตัว ผาเช็ดหนา ผาเช็ดมือ ท่ีเปดขวด กระปอง แปรงขัดรองเทา กระตกิน้ํารอน-เย็น รองเทาแตะ ถังใสผง แฟมเครื่องเขียน สมุดหมายเลขโทรศัพท ถวยชา กาแฟ จานรอง ชอน ฯลฯ ยางกันล่ืนอางอาบน้ํา พรมเช็ดเทา

ถุงใสเส้ือผาสงซักรีด ใบรายการสงซักรีด ปายแขวนตางๆ โปสการดตางๆ กระดาษเขียนจดหมาย บันทึกขอความ ฯลฯ ซองจดหมายแบบตางๆ บันทึกประจําวัน นิตยสารตางๆ ชุดเครื่องเย็บเล็ก ไมขีดไฟ กระดาษเช็ดหนา กระดาษชําระ สบูขนาดตางๆ หมวกอาบน้ํา ถุงใสผาอนามัย กระดาษคาดฝาสวม ฯลฯ

ท่ีมา : ขจิต กอบเดช (2540, หนา226)

3.2 ของใชเล็ก ๆ นอย ๆ สําหรับใหแขกยืม เชน แขกผูหญิงมักจะขอยืมท่ีเปาผม เตารีดและท่ีรีดผา แขกผูชายอาจขอยืมท่ีโกนหนวดไฟฟา มีดโกน วิทยุ กระตกิใสน้ํารอน ฯลฯ ส่ิงของเหลานี้แขกอาจนาํตดิตัวออกไปไดทางโรงแรมจึงควรติดช่ือโรงแรมใหเห็นชัดของเหลานี้ควรเกบ็ไวในตูเกบ็ใสกญุแจ และตองมีรายการบันทึกเปนหลักฐานเกี่ยวกับวนัท่ียืมผูยืมและวันสงคืนทุกครั้งเพ่ือการควบคุมไวท่ีหองผา

3.3 ของใชเกี่ยวกับแสงสวางและเครื่องกล แลวแตนโยบายของแตละโรงแรมจะใหแผนกใดเปนผูดูแลวัสดุเหลานี้ เชน หลอดไฟฟาขนาดตางๆโดยเฉพาะโรงแรมท่ีใชโคมแขวน หลาย ๆ แบบท่ัวท้ังโรงแรม การเลือกซ้ือก็ควรเลือกใชหลอดไฟท่ีมีอายุการใชงานไดนานถึงแมวาราคาจะแพงก็ตามเพราะเปนการประหยัดท้ังแรงงานและเงินในการเปล่ียนแตละครั้ง

3.4 วสัดุอ่ืน ๆ สําหรับทําความสะอาด เชน ภาชนะสําหรับใสเคมีภณัฑท่ีใชทําความสะอาดถุงมือยางสําหรับใชเคมีภณัฑควรเลือกชนดิท่ีทนและซักได ฟองน้ําหรือผาทําความสะอาดทางโรงแรมอาจจดัหาไดงายแตควรจะมีภาชนะสําหรับใสไวท่ีรถเข็นของพนักงานเปนประจําเพ่ือสะดวกในการรวบรวมสงซักทุกวันหรือติดตามของคืนใหครบตามจาํนวน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 33: Edvoc0447wp ch2

37

3.5 ของใชในหองพักสําหรับสํารอง สําหรับโรงแรมท่ีมีคนพักมาก ๆ หรือเตม็ บอย ๆ ควรจะมีของใชเหลานี้สํารองไวในยามฉกุเฉนิดวย เชน โปะไฟ ตะเกยีง ถังผง โตะ เกาอ้ี เตียงสํารอง เกาอ้ีโซฟา ผามานอาบน้ํา ผาปูท่ีนอน หมอน ฯลฯ เก็บในท่ีท่ีจะหยิบใชไดงายนอกจากนี้ควรมีพรมสํารองเผ่ือมีการซอม

โรงแรมแตละแหงตองใชเงินจํานวนมากในการตกแตงท้ังโรงแรมโดยเฉพาะเครื่องใชประเภทผาประจําหองตาง ๆ ไมวาจะเปนหองอาหาร หองพัก ซ่ึงการเลือกซ้ือเครื่องใชประเภทนี้จําเปนตองเลือกสรรอยางพิถีพิถันเพราะชนิดของผาแตละประเภทมีคณุสมบัติและวิธีการใชท่ีแตกตางกันดังท่ี โดนัล อี ลุนเบริก (Donald E. Lunberg, 1974, อางใน ปรีชา แดงโรจน, 2534, หนา 228-231) ไดกลาวถึงวิธีการเลือกซ้ือเครื่องใชประเภทผาไวดังนี ้

1. เครื่องใชประเภทผาสําหรับหองอาหาร ในยุคกอนนิยมใชผาขาวกับโตะท่ีขนาดไมใหญเกนิไปเพ่ืองายแกการซักรีดแตในปจจบัุนนิยมใชผาสีเพ่ือใหดูหรูหรามีชีวิตชีวาและไมเปนทางการมากเกินไป การเลือกใชผาปูโตะสีควรใชสีตางกันระหวางโตะในภตัตาคารและโตะท่ีระเบียง ผาท่ีนิยมใชกันมากในปจจุบันนอกจากผาฝายแท ผาฝายผสมอาจมีผาไหมหรอืผาใยสังเคราะห ฯลฯ มักจะเปนสีเรียบ ๆ ไมมีลวดลายซักแลวไมตองรีดหรือรีดเพียงเล็กนอยเทานัน้ การซักรีดผาปูโตะอาหารและเครื่องดื่มตองรีบซักและทําใหแหงแลวพับวางไวในรถจนกวาจะนําไปใช

2. สวนเครื่องใชประเภทผาประจําหองพักจอหน แมคไซค (John Macsai, 1976, อางใน ขจิต กอบเดช, 2527, หนา 228) ไดกลาวถึงวธีิการเลือกซ้ือไววา เครื่องใชประเภทผาประจําหองพัก เชน ผาปูท่ีนอน ปลอกหมอน ผาหม ผาคลุมเตยีงรวมท้ังผากนัเปอนสําหรับท่ีนอนควรใชประเภทฝายผสมหรือใยสังเคราะหเพราะซักแลวไมตองรีดหรือรีดเพียงเล็กนอยเนื่องจาก ฝายผสมซักไดมากครั้งและเส่ือมสภาพชากวาผาฝายแทจึงสงผลใหผลรายจายลดลง นอกจากนีจ้อหน แมคไซค (John Macsai, 1976, อางใน ขจิต กอบเดช, 2527, หนา 229-231) ยังไดกลาวเสริมถึงรายละเอียดการเลือกใชผาประจําหองพักดังนี ้คือ ผาปูท่ีนอนควรเลือกผาท่ีไมยับงายและการเลือกซ้ือเครื่องใชประเภทผาเหลานี้ควรกําหนดสีและขนาดใหตางกนัซ่ึงจะทําใหพนกังานหยิบใชไดงายขึ้น เชน ผาปูท่ีนอนสําหรับเตยีงเดีย่วหรือเตยีง 3 ฟุตครึ่งผาควรจะมีขนาดกวาง 72 นิ้ว ยาว 104 นิ้ว สําหรับเตียงขนาดกลางหรือเตียง 5 ฟุตผาควรจะมีขนาดกวาง 90 นิ้ว ยาว 115 นิ้ว สําหรับเตียงขนาดใหญหรือเตียง 6 ฟุตผาควรจะมีขนาดกวาง 108 นิ้ว ยาว 115 นิว้ เปนตน สําหรับปลอกหมอนควรเย็บตะเข็บไวกวางกวาขนาดหมอนประมาณ 2 - 3 นิ้ว และยาวกวาขนาดหมอนประมาณ 2 - 4นิ้วกอนใชควรทดสอบวาตะเข็บไมปริสวนผาปดผาหมควรจะเปนผาท่ีใชไดนานท่ีสุดเทาท่ีจะทําไดเพราะเปนผาสําหรับปองกันไมใหผาหมสกปรกไมตองซักผาหมบอยๆและทําใหลูกคารูสึกวาไดหมผาสะอาดอยูเสมอซ่ึงปจจุบันใชผาปูท่ีนอนแทน ผาหมนิยมใชชนิดท่ีมีน้ําหนักเบา ซักลางงาย

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 34: Edvoc0447wp ch2

38

อบแหงไดนุมนิม่ มักจะเปนแบบท่ีผลิตออกมาเลยไมใชการทอ ไมเปนลูก ไมยนงาย ฯลฯ ผาหมบางอยางจะพนน้ํายาทําใหติดไฟชา บางโรงแรมจะมีผาหมอีกผืนวางไวท่ีปลายเตียงเพ่ือลูกคาคนใดตองการเพ่ิมจากท่ีมีใหแลวหนึ่งผืนก็ได ผาคลุมเตยีงมักนิยมใชแบบใยสังเคราะหไมคอยยับยนและเปอนงาย เตยีงในปจจุบันมี 2 ช้ันทําใหผาคลุมเตียงเล็กลงโดยไมตองปดถึงพ้ืนเพ่ือซอนใตเตียง การซักรีดก็ทําไดงายขึน้เนื้อท่ีใชเกบ็ผาคลุมเตยีงก็ลดนอยลงดวย เตยีงท่ีมีผาคลุมจะทําใหลูกคารูสึกวาทุกอยางสะอาดจริง ๆ ดูมีคา

ผากันเปอนสําหรับท่ีนอนควรใชผาท่ีไมดูดน้ํา คราบเปอนไมฝงตัว ซักงายแหงเร็ว ไมติดไฟงาย จะตองมีท่ียึดมุมขงึตึงอยูกับท่ีสําหรับท่ีนอนนั้นท่ีนอนชนดิดตีองคนืรูปเม่ือนั่งริมขอบท่ีนอน มีอายุการใชงานไดนานพอสมควร ท่ีนอนจะยืดหดก็เฉพาะตรงท่ีมีน้ําหนกักดอยูบริเวณอ่ืนจะคงรูปและใหความสมดลุไดดี สวนมากจะพิจารณากันตรงท่ีใชงานไดนานกวากันมากกวาจะพิจารณาวาขดลวดสปรงิขางในท่ีนอนชนดิไหนจะดกีวากนั เชน ขดลวดแบบใดใหความสบายมากกวาไมตานแรงกด ปลอดภยัเวลานอน ไมทําใหขอบท่ีนอนแตก ไมเปนฉนวนไฟฟา คนืรูปงาย ควรมีปลอกหุมช้ันหนึ่งกอนจะเปนผาฝายก็ไดเพ่ือปองกันไมใหท่ีนอนเสียหายเพราะสัมผัสกับสปริงมากจนเกนิไปผาท่ีนํามาเยบ็เปนท่ีนอนกค็วรใชผาชนิดดีถึงจะมีราคาแพงแตจะประหยัดไดดีกวาท่ีนอนราคาถูกรวมท้ังควรเปนแบบกันน้ําไดไมตดิไฟงายมีวิธีทําความสะอาดไวพรอมและควรมีการรับประกันถาเกดิการเสียหายสวนหมอนนั้นตัวหมอนควรใชผาท่ีทนทานและมีปลอกรองช้ันหนึ่งกอน ควรใชวสัดุท่ีกันน้ําไดไมขึ้นรางาย ทนน้ําทนไฟ ลักษณะหมอนท่ีดีตองไมมีน้ําหนักมากเพราะถาหนักหมายถึงวสัดขุางในไมดี หมอนจะตองยดืหยุนคอืเม่ือกดลงไปพอถอนมือขึ้นจะคงรูปทันที สําหรับผาในหองอาบน้าํ เชน ผาเช็ดหนา ผาเช็ดตวั ผาเช็ดมือ รวมท้ังผากันล่ืนในอางอาบน้ํา ผาเช็ดตัวควรใชผาผสมใยสังเคราะหเพ่ือลดน้ําหนกัของผาและชวยในการซักรดี สําหรับมาตรฐานของผาเช็ดตวัท่ีใชคอื ขนาดกวาง 20 นิ้ว ยาว 42 นิ้ว และขนาดกวาง 32 นิ้ว ยาว 64 นิว้ สําหรับผามานกันน้ําอางอาบน้ําควรเปนผาชนิดท่ีทนความช้ืนไดดีเปนวสัดุท่ีไมอมน้าํ ไมตดิเช้ืองาย ไมควรมีตะเข็บเพราะน้ําอาจขังอยูตามรอยตะเขบ็ ผามานกนัน้ําอางอาบน้ําควรจะมีความยาวพอ สมควรเพราะเวลาอาบตองใหชายผาอยูในอางเสมอเพ่ือปองกันไมใหน้ําไหลนองเปอนพ้ืนบริเวณนอกอางอาบน้ํา

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 35: Edvoc0447wp ch2

39

การจัดการธุรกิจโรงแรม การจัดการธุรกิจโรงแรมอยางมีประสิทธิภาพนั้นไคเซอร เจมส (Keiser James, 1979,

p. 86) ไดกลาววา จาํเปนตองทําความเขาใจกับโครงสรางของโรงแรมดวย เนื่องจากจะทําใหการกําหนดนโยบายและระเบียบการปฏิบัติ การมอบหมายงาน และวินิจฉัยส่ังการใหงานของโรงแรมเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ปจจุบันแนวคดิการแบงสวนการตลาดมีอิทธิพลตอการกําหนดโครง สรางของโรงแรม การจัดองคกร และระบบการจดัการ ยิ่งไปกวานัน้เม่ือระบบเศรษฐกิจของประเทศไดเนนความสําคญัไปสูการบรกิาร ยิ่งทําใหการออกแบบการสรางผลิตภณัฑการบรกิารยิ่งพัฒนาระบบการแขงขนัมากยิ่งขึน้ โดยเฉพาะธุรกจิโรงแรม ภตัตาคาร และการทองเท่ียว ตางพัฒนากลยุทธและวิธีการจัดการท่ีทันสมัยมากขึน้โดยเฉพาะอยางยิ่งการเนนการจัดการคณุภาพท้ังระบบ (Total Quality Management) นอกจากนี้โซนาเบ็น พี โรเจอร (Sonnabend P Roger, 1971, p. 102) ไดกลาวเสริมวาในการจัดระบบโครงสรางของการบริหารงานโรงแรมนั้นควรใชแนวคิดในการจัดการตามแบบทฤษฏีโครงสรางขององคกร กลาวคือ เปนการแบงบทบาทการทํางานเพ่ือใหเกิดการประสานความรวมมือ การจดัแบงอํานาจหนาท่ีความรบัผิดชอบและการจําแนกระดับของสายงาน การบังคับบัญชา โครงสรางขององคกรจึงเปนกลไกการบรหิารงานท่ีชวยใหเกดิการควบ คุมและประสานกิจกรรมการทํางานขององคกร โครงสรางจึงเปนการกําหนดสายการบังคบับัญชาและการส่ือสารระหวางหนวยงานระดับตาง ๆ กับพนกังานท่ีเกี่ยวของ ดังนัน้ขาวสารและขอมูล ตาง ๆ ท่ีเกี่ยวกับการทํางานขององคกรจึงผานลงไปจากสายการบังคับบัญชา

จากเอกสารของคารล แอล วิลเล่ียม (Kahrl L William, 1976, p. 56) ระบุวาการจดั ระบบโครงสรางการบริหารงานในโรงแรม ไดรับอิทธิพลและแนวคิดจากการจดัระบบโรงแรมของประเทศสหรัฐอเมริกานับตั้งแตศตวรรษท่ี 20 และอิทธิพลแนวคิดคลาสสิกจากการจัดบรกิารในโรงแรมของกลุมประเทศแถบยุโรปท่ีใหความสําคญัดานการบริการอาหารและเครื่องดื่มเปนการเนนพฤติกรรมและช่ือเสียงของโรงแรม งานบริการของโรงแรมไดเปล่ียนแปลงและพัฒนาเปนลําดับโดยยึดการตอบสนองความตองการของลูกคาและทิศทางการตลาด การจดัการจงึตองปรบั เปล่ียนและพัฒนาไปดวย ดังนั้นการจดัระบบโครงสรางของโรงแรมยอมเปล่ียนแปลงและขยายตัวเพ่ือใหสามารถเสรมิรับกับการจดัหนวยงานใหม ๆ ขึน้ในโรงแรม ท้ังนี้เพ่ือใหสามารถบรหิารและจัดการใหบรกิารอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากกระบวนการจัดโครงสรางขององคกรจะตองคาํนึง ถึงความสมดลุระหวางนโยบายความม่ันคงเพ่ือความอยูรอดในการดําเนนิธุรกจิของโรงแรมและการปรบัปรุงเปล่ียนแปลงกิจกรรมใหมท่ีเปนความตองการของตลาด

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 36: Edvoc0447wp ch2

40

นอกจากนี้จําลอง ทองดี (2526, หนา 81) ไดกลาวเสริมวาการปฏิบัติงานของโรงแรมจะประกอบดวยลักษณะการทํางานของพนักงาน 2 ประเภท ดงันี้

1. พนกังานหลัก (Line Functions) หมายถึง กลุมผูปฏิบัติงานท่ีเปนสายงานหลัก (Line) ในโรงแรมท่ีเปนผูใหบริการถึงตวัลูกคาหรือเปนกลุมผูปฏิบัติงานท่ีอาจเรยีกเปนคาํสามัญวา “ผูทํางานฝายท่ีเปนหนาตาของโรงแรม” ลักษณะสายงานท่ีเห็นไดชัด ไดแก งานหองพักและแผนกบริการอาหารเครื่องดืม่ บางโรงแรมจะจําแนกสายงานมากกวาท่ีกลาวมายอมกระทําได พนกังานโรงแรมท่ีปฏิบัติงานถึงตัวลูกคาโดยตรง ไดแก พนกังานแมบาน สวนงานหองพัก ไดแก พนักงานบริการสวนหนาท่ีจะตองพบและเผชิญหนากับแขกผูมาพักอยูตลอดเวลาในทํานองเดียวกัน แผนกอาหารและเครื่องดื่มซ่ึงเปนฝายสายงานหลัก พนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่มท่ีปฏิบัติงานในหองอาหาร บาร และการจัดเล้ียง ยอมจะตองติดตอกับลูกคาโดยตรง

2. พนกังานสนับสนนุ (Staff Functions) หมายถึงกลุมผูท่ีอยู “เบ้ืองหลัง” หรือกลุมบุคคลท่ีไมไดทํางานใหบรกิารแกลูกคาโดยตรง มีหนาท่ีใหการสนับสนุนใหกับฝายสายงานหลักและมีสวนในการชวยสงเสริมการใหบรกิารท่ีมีคณุภาพ เชน ฝายงานชางและการซอมบํารุงซ่ึงดแูลอุปกรณเครื่องใชของทุกฝายตั้งแตในครัว หองอาหาร และหองพักใหอยูในสภาพการใชงานอยางตอ เนื่องและคงสภาพด ีในการจัดระบบโครงสรางการบริหารงานของโรงแรม จึงชวยสงเสริมใหพนกังานหลักและพนักงานสนับสนุน สามารถทํางานตามหนาท่ีท่ีไดรับมอบหมายภายใตระบบการจัดโครงสรางการบริหารงาน

การจัดการสําหรับการโรงแรมนัน้เปนองคประกอบท่ีสําคญัประการหนึ่งของการบริหาร ดังท่ี เจอรโรล ดับบลิว ลาติน (Gerald W Lattin, 1986, อางใน อนุพันธ กิจพันธพานิช, 2540, หนา 20) ท่ีไดกลาววาโรงแรมถือไดวาเปนองคกรประเภทหนึง่ ดังนั้นการจดัการ แตละดานจะตองสอดรบักันในฐานะเปนองคกรเดยีวกันในการนีจ้ําเปนตองมีการจัดการสายบังคบับัญชาชัดเจนและมีการส่ือความหมายท่ีด ี เจอรโรลยังกลาวเสริมอีกวาสําหรบัโรงแรมขนาดเล็กการจัดองคกรจะเปนลักษณะแบบงาย ๆ โดยมีผูจัดการคนหนึ่งดูแลควบคมุงานทุกดาน การตดิตอส่ือความจงึมักเปนแบบงาย ๆ เชนกันและจะเปนการตดิตอระหวางตัวพนกังานกับผูจัดการโดยตรง และพนักงานก็สามารถติดตอประสานงานกับแผนกอ่ืน ๆ ไดเอง แตเม่ือโรงแรมมีขนาดใหญงานตาง ๆ จะตองแบงซอยออกเปนหนวยงานยอยโดยมีหัวหนาดูแลในแตละหนวยงาน ในโรงแรมขนาดใหญปริมาณงานแตละอยางจะมีมากจนพนักงานในแตละแผนกจะเช่ียวชาญเฉพาะงานดานเดยีวและงานของแตละคนจะไมคอยมีโอกาสไปเกี่ยวของกับงานอ่ืน ๆ ท้ังหมดของโรงแรมเหมือนกันอยางในกรณีของโรงแรมขนาดเล็ก ดังแสดงไวในแผนภาพตอไปนี ้

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 37: Edvoc0447wp ch2

41

แผนภูมิที ่1 แสดงลักษณะการจัดรปูองคกรของโรงแรมขนาดเล็ก

ท่ีมา : Gerald W Lattin (1986, หนา 120)

นอกจากนี้แลวสุรณี ศรจีันทร (2526, หนา 78) ยังไดเสนอการบริหารงานของโรงแรมขนาดเล็กเปนแผนภูมิการบริหารไว ดงันี ้ แผนภูมิที่ 2 แสดงการบริหารงานของโรงแรมขนาดเล็ก

ท่ีมา : สุรณี ศรีจันทร (2526, หนา78)

เจาของ

แผนกครัว แผนกเคร่ืองด่ืม แผนกบํารุงรักษา แผนกแมบาน แผนกบริการอาหาร

เลขานุการ

ผูสอบบัญช ี

ผูชวยผูจัดการ

แผนกหองพัก

Manager

House - Keeping

Reception Office

Maintenance

Catering Bars

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 38: Edvoc0447wp ch2

42

จากแผนภมิูขางตนสุรณี ศรีจนัทร (2526, หนา 79) ไดอธิบายเพ่ิมเตมิวา เจาของจะทําหนาท่ีเหมือนกับผูจัดการท่ัวไป คอืตองคอยควบคมุดแูลทุกแผนกและมีเลขานกุารและผูชวยผูจัดการเปนคนชวยเหลืออีกทีหนึง่ แตอํานาจการตดัสินใจท่ีสําคญัเจาของจะเปนผูมีอํานาจในการตัดสินใจแตเพียงผูเดียว เชน การปรับอัตราคาหองพัก การปรับราคาอาหาร การโยกยายหรือการสับเปล่ียนพนักงาน รวมท้ังยังกลาวอีกวาตําแหนงเลขานกุารกับตําแหนงผูชวยผูจัดการอาจจะรวมเปนตาํแหนงเดยีวกันก็ไดหรือแผนกบรกิารอาหาร แผนกเครื่องดืม่ และแผนกครัวก็สามารถรวมเปนแผนกเดียวกนัไดซ่ึงท้ังนี้ขึน้อยูกับแลวความเหมาะสมของแตละองคกร สําหรับบุคคลท่ีทํางานใกลชิดกับลูกคาและพนักงานมากท่ีสุดนั้น ขจิต กอบเดช (2529, หนา 56) ไดกลาววาผูจดัการท่ัวไปเปนตาํแหนงบรหิารสูงสุดในโรงแรมเปนบุคคลท่ีปฏิบัติงานใกลชิดท้ังลูกคาและพนกังานของโรงแรมรวมท้ังทํางานเกี่ยวของกับผูจัดการแผนกตาง ๆ ในการวนิิจฉยัส่ังการของผูจดัการท่ัวไปมีสวนทําใหการปฏิบัติงานของพนักงานดําเนนิไปอยางมีประสิทธิภาพและผลิตบริการใหเปนท่ีพอใจแกลูกคาท่ีมาใชบรกิาร หนาท่ีความรบัผิดชอบของผูจัดการท่ัวไปประกอบดวยลักษณะงาน 3 ลักษณะคอื การติดตอปฏิสัมพันธ การใหขอมูลขาวสาร และการวินจิฉัยสังการ ดั้งนัน้การใหความสําคัญและการใชเวลาในการทํางานตามลักษณะงานท้ัง 3 ลักษณะนัน้ ผูจดัการท่ัวไปไดใหความสําคัญอยางละเทา ๆ กัน กลาวคือ ในดานการปฏิสัมพันธกับบุคคลท่ีเกี่ยวของกลาวคือตองมีมนษุยสัมพันธท่ีดีตอท้ังลูกคาและพนกังานของโรงแรมอีกท้ังยังตองมีความเขาใจและเห็นอกเห็นใจในพนกังานแผนกตาง ๆ อีกดวย การใหขอมูลขาวสารซ่ึงหมายถึง การติดตามผลการปฏิบัติงานของพนกังาน และการวนิิจฉยัส่ังการซ่ึงรวมถึงการคดิริเริ่มสรางสรรคงานใหมการแกปญหาการเรียกรองของลูกคา และการจดัสรรทรพัยากร

ในการบริหารงานของโรงแรมขนาดเล็กนั้น รัชนีกร โชติชัยสถิตย วิเชียร ดานบรรพต และวศินา จันทรศิริ (2539, หนา 671) ไดกลาวถึงเรื่องนี้วา การบริหารงานของโรงแรมขนาดเล็กถือไดวาเปนการบริหารงานโรงแรมระบบอิสระ (Independent System) หมายถึง การบริหารงานโรงแรมในลักษณะท่ีบุคคลใดบุคคลหนึง่ หรือกลุมนักลงทุนกลุมใดกลุมหนึ่งเปนเจาของโรงแรม และรับผิดชอบในการบริหารโรงแรมเองโดยไมมีความสัมพันธทางธุรกิจใดๆ กับบุคคลหรือกลุมบุคคลอ่ืน โรงแรมอิสระ (Independent Hotels) หมายถึงโรงแรมท่ีไมไดเขารวมกับองคกรธุรกิจใด ๆ ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ไมวาจะเปนเครอืขายโรงแรมตางๆ แฟรนไชน หรือบรษิัทรับบริหารจัดการในธุรกจิโรงแรมใด ๆ ท้ังส้ิน เปนโรงแรมท่ีเจาของกจิการเปนผูบริหารงานเองซ่ึงในบางแหงเปนลักษณะของการบริหารงานในแบบครอบครัว โรงแรมท่ีบริหารงานในระบบอิสระสวนมากสามารถพบไดท่ัวไปในเมืองเล็ก ๆ และในชุมชนรีสอรทตามฤดูกาล สถานท่ีเหลานี้เปนท่ีเหมาะสําหรับโรงแรมอิสระ เพราะมักไมเปนท่ีสนใจของบรรดาธุรกจิเครอืขายท้ังหลาย ลูกคาใน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

Page 39: Edvoc0447wp ch2

43

โรงแรมอิสระกมั็กจะแตกตางจากลูกคาของโรงแรมท่ีมีการบริหารงานในระบบอ่ืน ๆ กลาวคือ ลูกคาหรือผูท่ีมารับบรกิารในโรงแรมอิสระมักนิยมการบรกิารท่ีเปนสวนตัว และนิยมโรงแรมท่ีมีเอกลักษณเปนของตนเองซ่ึงเอกลักษณดงักลาวนี้อาจจะเปนเอกลักษณในเรื่องสถานท่ีตัง้ การบรกิาร การออกแบบโรงแรมและวิธีการจดัการ

ในดานการจัดการและการปฏิบัตใินโรงแรมอิสระแมไมจําเปนท่ีจะตองอาศัยเทคนคิและวิธีการท่ีซับซอนเทาใดนกั แตผูท่ีเปนผูบริหารโดยเฉพาะอยางยิ่งผูจัดการท่ัวไปจะตองมีความรอบรูในการดําเนนิงานตาง ๆ ท่ีเกี่ยวกบัโรงแรม อยางไรกต็ามในบางเรื่องก็อาจใชการจางบุคคลเพ่ือมา รับผิดชอบในการดําเนนิงานเปนกรณี ๆ ไปกไ็ด โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานบัญชีและการเงินแตถึงกระนัน้ก็หวังท่ีจะจางผูท่ีมีความรูและประสบการณสูงมาไมไดเนื่องจากเงินทุนมีจํากัดและความจริงแลวในบางโรงแรมท่ีมีขนาดเล็กกอ็าจจะไมจําเปนท่ีจะตองจางบุคคลเหลานัน้มาก็ได ในดานการจางพนกังานปฏิบัติงานก็อาจใชการจางในจํานวนท่ีจําเปนจริง ๆ ถาเปนโรงแรมท่ีมีการบริหาร งานแบบครอบครวัก็อาจจะใชสมาชิกในครอบครัวมาชวยกนัปฏิบัติงานในโรงแรม ดั้งนัน้ในแตละแผนกของโรงแรมระบบอิสระจงึมีพนกังานไมมากเทาใดนัก ดวยเหตนุี้ผูจดัการท่ัวไปในโรงแรมอิสระขนาดเล็กท่ีขาดพนกังานสนับสนนุในแผนกตาง ๆ จะตองเปนคนท่ีไดรับการฝกฝนมาอยางดีโดยเฉพาะทักษะดานการปฏิบัตกิาร ซ่ึงในบางครั้งลูกคาท่ีไปใชบรกิารในโรงแรมจากระบบนี้อาจ จะไดรับจากเจาของโรงแรม หรือผูจัดการท่ัวไปของโรงแรมดวยตวัเอง อยางไรกต็ามในอนาคตธุรกิจโรงแรมมีมากขึน้โรงแรมอิสระขนาดเล็กตองมีการปรับตัวในเรื่องการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพมากขึน้ คาใชจายในดานแรงงาน อาหาร เครือ่งดืม่ และพลังงานท่ีเพ่ิมขึ้นทําใหตองอาศัยเทคนิคและระบบการควบคุมท่ีดี การปรับปรุงผลผลิตมีความจาํเปนมากขึ้นการนําคอมพิวเตอรมาใชก็จําเปน เพ่ือมาชวยในการจัดระบบสาระสนเทศและใชในการจดัระบบขอมูลและระบบควบคมุ ในอนาคตโรงแรมอิสระขนาดเล็กจําเปนตองพยายามใชคอมพิวเตอรในการสรางโอกาสในทางธุรกิจใหไดมากขึน้ ความผิดพลาดในการปฏิบัติงานในโรงแรมอิสระยอมมีไดแตเพียงเล็กนอย ไมเหมือนโรงแรมเครือขายท่ีมีเงินทุนและการสนบัสนุนมาก เพราะฉะนั้นตองใชความระมัดระวังในการดําเนินงาน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸Ô ìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁèCopyright by Chiang Mai UniversityA l l r i g h t s r e s e r v e d