eng manage 14 waste

3
Eng Management - - - - [ คาบ 14 : รศ.ดร.จิตรา รูกิจการพานิช , 7 .. 2551 ] - - - - By : B a n K @ CP33 การจัดการมลพิษอุตสาหกรรม (บทที5 ในหนังสือ) หัวขอที่บรรยาย (.บอกวาจะพูดเนื้อหาคราวๆเทานั้น เพราะไปอานเองได) 1. ความสําคัญ 2. หลักการ PPP และผล 3. หนวยงานราชการ - กรมโรงงานอุตสาหกรรม : การขอตั้งโรงงาน - กรมควบคุมมลพิษ : ดูแลทั่วๆไปทั้งสวนที่เปนโรงงานและไมใชโรงงาน ดูอากาศตามถนนมลพิษ, สารพิษในแหลงน้ํา ปลาอยูไดไหม - การนิคมอุตสาหกรรม : ลาดกระบัง บางพลี ฯลฯ ดูแลตรวจสอบโรงงานปลอยน้ําเสียเยอะไปไหม - องคการบริหารสวนตําบล : องคการเล็กๆในตางจังหวัดชวยหนวยงานตางๆดูแลอีกที (กทม. ไมมีนะ) 4. ISO 14000 = อนุกรมมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอม , ISO 9000 = ระบบคุณภาพ - ระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (EMS – Environmental Management System) 5. หลักการทางเศรษฐศาสตร (มี 2 ทางเลือก) + เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร เอามาชวยจัดการสิ่งแวดลอม 6. กรณีศึกษาตางๆ 7. Cleaner Technology (CT) 8. สารทําลายโอโซน - อนุสัญญาเวียนนา - พิธีสารมอนทรีออล - พิธีสารเกียวโต 9. วิธีจัดการมลพิษ - น้ําเสีย - อากาศ - กลิ่น - การอุตสาหกรรม - อนุสัญญาบาเซล Input Process Output 4M = Man, Machine, Method, Materials ( Money, Management - 2 อันนี้แลวแตเรา ) 1. Product สิ่งที่เราเอาเปนสินคา & เอาไปขาย 2. Waste สิ่งที่เราไมตองการ, มลพิษ PPP = Polluter Pays Principle : ผูกอมลพิษตองรับผิดชอบ แคไหน?, ยุติธรรม?, มีวิธียังไง? - คนเติมน้ํามัน ขับรถ กอมลพิษ ตองจายภาษีน้ํามัน - โรงงาน ปลอยมลพิษ ตองมีระบบบําบัด โอโซน (Ozone) - บรรยากาศโลกมี 4 ชั้น 1. โทรโปสเฟยร เราอยูตรงนี, มีอากาศเพียงพอใหหายใจ 2. สตราโทสเฟยร ผลิต Ozone ชวยปองกัน UV / ความรอน / หายไป = หลุมโอโซน 3. เมโซสเฟยร 4. เทอรโพสเฟยร

Upload: hl5udv

Post on 23-Oct-2015

14 views

Category:

Documents


1 download

DESCRIPTION

waste

TRANSCRIPT

Page 1: Eng Manage 14 Waste

Eng Management - - - - [ คาบ 14 : รศ.ดร.จิตรา รูกิจการพานิช , 7 ก.ค. 2551 ] - - - - By : B a n K @ CP33

การจัดการมลพิษอุตสาหกรรม (บทที่ 5 ในหนังสือ) หัวขอที่บรรยาย (อ.บอกวาจะพูดเนื้อหาคราวๆเทานั้น เพราะไปอานเองได) 1. ความสําคัญ 2. หลักการ PPP และผล 3. หนวยงานราชการ

- กรมโรงงานอุตสาหกรรม : การขอตั้งโรงงาน

- กรมควบคุมมลพิษ : ดูแลทั่วๆไปทั้งสวนที่เปนโรงงานและไมใชโรงงาน

ดูอากาศตามถนนมลพิษ, สารพิษในแหลงน้ํา ปลาอยูไดไหม

- การนิคมอุตสาหกรรม : ลาดกระบัง บางพลี ฯลฯ ดูแลตรวจสอบโรงงานปลอยน้ําเสียเยอะไปไหม

- องคการบริหารสวนตําบล : องคการเล็กๆในตางจังหวัดชวยหนวยงานตางๆดูแลอีกที (กทม. ไมมีนะ)

4. ISO 14000 = อนุกรมมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอม , ISO 9000 = ระบบคุณภาพ

- ระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (EMS – Environmental Management System)

5. หลักการทางเศรษฐศาสตร (มี 2 ทางเลือก) + เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร เอามาชวยจัดการสิ่งแวดลอม 6. กรณีศึกษาตางๆ 7. Cleaner Technology (CT) 8. สารทําลายโอโซน - อนุสัญญาเวียนนา - พิธีสารมอนทรีออล - พิธีสารเกียวโต 9. วิธีจัดการมลพิษ - น้ําเสีย - อากาศ - กล่ิน - การอุตสาหกรรม - อนุสัญญาบาเซล

Input Process Output

4M = Man, Machine, Method, Materials

( Money, Management - 2 อันนี้แลวแตเรา )

1. Product – ส่ิงที่เราเอาเปนสินคา & เอาไปขาย

2. Waste – ส่ิงที่เราไมตองการ, มลพิษ

PPP = Polluter Pays Principle : ผูกอมลพิษตองรับผิดชอบ แคไหน?, ยุติธรรม?, มีวิธียังไง?

- คนเติมน้ํามัน ขับรถ กอมลพิษ ตองจายภาษีน้ํามัน

- โรงงาน ปลอยมลพิษ ตองมีระบบบําบัด

โอโซน (Ozone)

- บรรยากาศโลกมี 4 ชั้น 1. โทรโปสเฟยร เราอยูตรงนี้, มีอากาศเพียงพอใหหายใจ

2. สตราโทสเฟยร ผลิต Ozone ชวยปองกัน UV / ความรอน / หายไป = หลุมโอโซน

3. เมโซสเฟยร

4. เทอรโพสเฟยร

Page 2: Eng Manage 14 Waste

โอโซนถูกทําลายในชั้นสตราโทสเฟยร

CFCs (Choro fluoro carbon,

สารทําความเย็น) ออกไซตของ Cl

หลุมโอโซน (บริเวณขั้วโลก)

ถายจากอวกาศจะเห็นเปนหลุมดําๆ

คือ โอโซนถูกทําลายไป

Ozone - ดูดซึม รังสีเหนือมวงได 70-90% (Ultra Violet เปนรังสีที่เปนอันตรายตอส่ิงมีชีวิต)

- ทําใหอุณหภูมิของชั้นบรรยากาศโลกพอเหมาะ

- CO2 จากรถยนต และ โรงงาน ก็เปนตัวทําลาย Ozone อยางดี และทําใหโลกรอนเชนกัน ( CO, มีเทน ก็ดวย )

ผลดีจากการใชหลักการ PPP 1. ดานการจัดสรรทรัพยากรอยางมีคุณคา, ความยุติธรรมในการรับผิดชอบ (คนปลอยมากก็ตองจายมาก),

ของเสียถูกปลอยออกนอยลง

2. คุณภาพชีวิตดีขึ้น

3. พัฒนาอุตสาหกรรม, เทคโนโลยีเพื่อเกิดของเสียนอยที่สุด

4. รัฐบาลมีรายไดจากคาธรรมเนียม เพื่อมาใชรักษาสิ่งแวดลอมโดยตรง

เครื่องมือสําหรับไทย (Instruments) 1. ภาษีผลิตภัณฑ เชน น้ํามัน

2. คาธรรมเนียมน้ําเสียในนิคมอุตสาหกรรม (คลายกับหมูบานจัดสรร, เชควาน้ําเสียไหม BOD, COD, สารแขวนลอย

โลหะหนักเทาไร อยูในเกณฑที่ปลอดภัยไหม)

3. คาธรรมเนียมขยะของเมืองและเขตตางๆ เชน พัทยา

4. คาธรรมเนียมกากอุตสาหกรรม ( น้ําเสีย น้ํา + เนื้อ , เนื้อ = กาก ตองเสียคาจางกําจัด ทําเองไมได )

5. การยกเวนภาษีการนําเขาเครื่องจักรเพื่อติดตั้งระบบําบัดน้ําเสีย

6. คาปรับตาม พรบ. โรงงาน 2535 (ยุคนายก อนันต – เขามาแกกฎหมายอยางเดียว เลยมี พรบ. ใน พ.ศ. นี้เยอะ)

Ex: เครื่องยนตที่เปนระบบปด แบบดีๆ บําบัดเอง ก็จะไดรับการสนับสนุน, พวกโรงงานแยๆกอมลพิษ จะโดนปรับเยอะ

7. เงินอุดหนุน + เงินกูสําหรับการจัดการของเสียจากงบประมาณและกองทุนส่ิงแวดลอม

(ไมคอยเห็นคนใช เพราะประเทศไมมีเงินจะให)

- “ การเลือกใชเครื่องมือตองคํานึงถึงปจจัยตางๆของประเทศดวย”

- จะมีบริษัทรับกําจัดขยะ เชน genco , เมื่อโรงงานมีขยะจะสงขึ้นรถเก็บขยะไมได จะตองใหบริษัทพวกนี้จัดการ

การประยุกตใชหลักการทางเศรษฐศาสตรในการจัดการมลพิษ • สถาบันส่ิงแวดลอมไทยทําการวิจัย 2 ทางเลือก 1. โรงงานดําเนินการบําบัดเอง

- โรงงานใหญๆ กวางๆ มักจะทําเอง ขุดบอน้ําเสีย ใหมันระเหยและตกตะกอนไปตามธรรมชาติ

- โรงงานซีเล็กทูนา ขนาดเล็ก ขุดบอไมได ตองสรางระบบบําบัดขึ้นมา ทําเปน tank ขนาดใหญๆ

เพื่อใหเกิดกระบวนการหมัก เกิดเปน กาซมีเทน ตอทอนํามาใชแทนพลังงานในโรงงานได

2. โรงงานจายคาธรรมเนียมใหรัฐบาลดําเนินการ จายใหคนอื่นทําให

Page 3: Eng Manage 14 Waste

พิธีสารมอนทรีออล - มี USA , Japan ที่ไมไดเขารวมในตอนแรก

- การเลิกใชสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน

- ลดกําลังการผลิต CFC

- เลิกผลิต CFC, Halon, CCl4 ภายในป 2543

- เลิกผลิต 1,1,1 - โตรคลอโรอีเทน ภายในป 2548

- พอ Japan ตั้งใจจะเลิกแลว ก็เชิญตางประเทศมาประชุม ณ Japan เกิด “พิธีสารเกียวโต” (USA ยังไมรวม)

พิธีสารเกียวโต - กลุมประเทศอุตสาหกรรมลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก ลง 5.2% ภายในป 2553 เมื่อเทียบกับป 2533

- กลุมประเทศอุตสาหกรรม เชน สหภาพยุโรป, แคนาดา, รัสเซีย, ญี่ปุน ฯลฯ

- ประเทศที่ยังไมไดลงสัตยาบัญ = USA + Australia

อนุสัญญาเวียนนา - ปองกันชั้นบรรยากาศโอโซน

- สงเสริมการรวมมือวิจัย

- สังเกตการและแลกเปลี่ยนขอมูลเกี่ยวกับการตรวจและสํารวจชั้นโอโซน

อนุสัญญาบาเซล - เกี่ยวกับการจัดการกากอุตสาหกรรม ( ≠ ของเหลว )

- เราจะไมรับกากพวกนี้เขาประเทศ เชน เครื่องยนตมือสอง, คอมไมใชแลว (USA มีเยอะ)

- เซียงกง : เอาเครื่องยนตเกาจาก Japan มาขาย

- โรงงานไฟฟานิวเคลียร กากกัมมันตรังสี ซาเลง เก็บไปขาย ก็เปนโรครายไป