engkps news v.4-2555

4
Engineering KPS News 1 ปที่ 5 ฉบับที่ 21 ประจําเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2555 The 3 rd Thailand INWEPF Symposium เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2555 คณะอนุกรรมการดานนํ้าและระบบนิเวศของนาขาว ประเทศไทย (International Network for Water and Ecosystem in Paddy Fields Thai Committee: INWEPF Thai Committee) รวมกับ กรมชลประทาน และคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จัดประชุมวิชาการ “The 3 rd Thailand INWEPF Symposium” ในหัวขอ “การบริหารจัดการ นํ้าในนาขาวยุคใหมภายใตสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลง (Sustainable water management for paddy fields under climate change and uncertainly)” ณ หองประชุมสุธรรมอารีกุล อาคารสารสนเทศ 50 ป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน กรุงเทพฯ คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน โดย รศ.ดร.บัญชา ขวัญยืน คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน และ รศ.ดร.สมยศ เชิญอักษร ผอ.ศูนยความเปนเลิศทางวิชาการดานโลจิสติกส มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร ไดใหการตอนรับ Mrs. Sansanee Baroness von Enzberg พรอมดวยคณะผู เชี่ยวชาญ จาก Otto-von-Guericke-Universität Magdeburg และ Martin-Luther-Universität Halle-Witten- berg สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี ซึ่งประกอบดวย Prof. Dr. Frank Palis, Dipl.-Ing. Stefan Palis, Dipl.-Ing. Sebastian Baron von Enzberg และ Dipl.-Wirtsch.-Ing. Martin Kraft พรอมดวยคณาจารย จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และมหาวิทยาลัยเชียงใหม ในการประชุมโครงการพัฒนาความรวมมือกับประเทศเยอรมนี เปนครั้งที่ 2 ระหวางวันที่ 13-21 กรกฎาคม 2555 โดยโครงการดังกลาวนี้ เปนความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยไทย 4 แหง ไดแก มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง กับมหาวิทยาลัยเยอรมนี 2 แหง ไดแก Martin-Luther-Universität Halle-Wittenberg และ Otto-von-Guericke-Universität Magdeburg สําหรับการประชุมในครั้งนี้เปนการ ระดมสมองเพื่อพัฒนาความรวมมือทางวิชาการดาน Robotics & Mechatronics และดาน Logistics โครงการพัฒนาความรวมมือทางวิชาการกับประเทศเยอรมนี เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2555 รศ.ดร.บัญชา ขวัญยืน คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน และ รศ.ดร.วราวุธ วุฒิวณิชย อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน รวมเสวนาวิชาการในโครงการเสวนาวิชาการ “หลักการและขั้นตอนที่ถูกตองของการ บริหารจัดการทรัพยากรนํ้า เพื่อแกไขปญหาอุทกภัยของประเทศ” ซึ่งทางคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน และคณะวิศวกรรมศาสตร บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จัดขึ้น ณ หองประชุม กําพล อดุลวิทย อาคารสารสนเทศ 50 ป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน โครงการเสวนาวิชาการ “หลักการและขั้นตอนที่ถูกตอง ของการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า เพื่อแกไขปญหา อุทกภัยของประเทศ” ทุน BridgeStone เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2555 บริษัท ไทย บริดสโตน จํากัด ไดมอบทุนการศึกษาใหแก นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน 3 คน >>> อานตอหนา...3 >>> อานตอหนา...3 >>> อานตอหนา...2

Upload: engkps

Post on 24-Mar-2016

234 views

Category:

Documents


4 download

DESCRIPTION

จดหมายช่าว คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ปีที่ 5 ฉบับที่ 21 ประจำเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2555

TRANSCRIPT

Page 1: EngKPS News V.4-2555

Engineering KPS News

1

Engineering KPS News

ปที่ 5 ฉบับที่ 21 ประจําเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2555

The 3rd Thailand INWEPF Symposium เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2555 คณะอนุกรรมการดานนํ้าและระบบนิเวศของนาขาว ประเทศไทย (International Network for Water and Ecosystem in Paddy Fields Thai Committee: INWEPF Thai Committee) รวมกับ กรมชลประทาน และคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จัดประชุมวิชาการ “The 3rd Thailand INWEPF Symposium” ในหัวขอ “การบริหารจัดการนํ้าในนาขาวยุคใหมภายใตสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลง (Sustainable water management for paddyfields under climate change and uncertainly)” ณ หองประชุมสุธรรมอารีกุล อาคารสารสนเทศ 50 ป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน กรุงเทพฯ

คณะวศิวกรรมศาสตร กาํแพงแสน โดย รศ.ดร.บญัชา ขวญัยนื คณบดคีณะวศิวกรรมศาสตรกาํแพงแสน และ รศ.ดร.สมยศ เชญิอกัษร ผอ.ศนูยความเปนเลศิทางวชิาการดานโลจสิตกิส มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร ไดใหการตอนรบั Mrs. Sansanee Baroness von Enzberg พรอมดวยคณะผูเชีย่วชาญจาก Otto-von-Guericke-Universität Magdeburg และ Martin-Luther-Universität Halle-Witten-berg สหพนัธสาธารณรฐัเยอรมน ี ซึง่ประกอบดวย Prof. Dr. Frank Palis, Dipl.-Ing. Stefan Palis, Dipl.-Ing. Sebastian Baron von Enzberg และ Dipl.-Wirtsch.-Ing. Martin Kraft พรอมดวยคณาจารยจากมหาวทิยาลยัสงขลานครนิทร และมหาวทิยาลยัเชยีงใหม ในการประชมุโครงการพฒันาความรวมมอืกบัประเทศเยอรมน ีเปนครัง้ที ่2 ระหวางวนัที ่ 13-21 กรกฎาคม 2555 โดยโครงการดงักลาวนี ้ เปนความรวมมอืระหวางมหาวทิยาลยัไทย 4 แหง ไดแก มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร มหาวทิยาลยัสงขลานครนิทร มหาวทิยาลยัเชยีงใหม และมหาวทิยาลยัแมฟาหลวง กบัมหาวทิยาลยัเยอรมน ี2 แหง ไดแก Martin-Luther-Universität Halle-Wittenberg และ Otto-von-Guericke-Universität Magdeburg สาํหรบัการประชมุในครัง้นีเ้ปนการระดมสมองเพือ่พฒันาความรวมมอืทางวชิาการดาน Robotics & Mechatronics และดาน Logistics

โครงการพฒันาความรวมมอืทางวชิาการกบัประเทศเยอรมนี

เมือ่วนัที ่29 สงิหาคม 2555 รศ.ดร.บญัชา ขวญัยนื คณบดคีณะวศิวกรรมศาสตร กาํแพงแสน และ รศ.ดร.วราวุธ วุฒิวณิชย อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน รวมเสวนาวิชาการในโครงการเสวนาวิชาการ “หลักการและขั้นตอนที่ถูกตองของการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า เพื่อแกไขปญหาอุทกภัยของประเทศ” ซึ่งทางคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน และคณะวิศวกรรมศาสตร บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จัดขึ้น ณ หองประชุมกําพล อดุลวิทย อาคารสารสนเทศ 50 ป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน

โครงการเสวนาวชิาการ “หลกัการและขัน้ตอนทีถ่กูตองของการบรหิารจดัการทรพัยากรนํา้ เพือ่แกไขปญหา

อทุกภยัของประเทศ”

ทุน BridgeStone เมือ่วนัที ่16 สงิหาคม 2555 บรษิทั ไทยบริดสโตน จํากัด ไดมอบทุนการศึกษาใหแกนสิติคณะวศิวกรรมศาสตร กาํแพงแสน 3 คน

>>> อานตอหนา...3

>>> อานตอหนา...3

>>> อานตอหนา...2

Page 2: EngKPS News V.4-2555

Engineering KPS News

2

รศ.ดร.บัญชา ขวัญยืน คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสนนํา 3 ทีม เกียรติยศ ผูสรางชื่อเสียงใหกับคณะฯ เขารับประกาศนียบัตรเชดิชเูกยีรตใิน งานเชดิชเูกยีรตบิคุลากรและนสิติผูนาํชือ่เสยีงมาสูมหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร เมือ่วนัพฤหสับดทีี ่30 สงิหาคม 2555 ณ โรงแรมเซน็ทาราแกรนด เซน็ทรลั พลาซา ลาดพราว กรงุเทพฯ 3 ทมี ผูสรางชือ่เสยีงใหกบัคณะฯ ไดแก 1. รางวัลผลงานดีเดน ประเภท Mobile จากการประกวดซอฟแวรในงาน Open House forYoung Talents 2011 จัดโดย สํานักงานสงเสริมอุตสาหกรรมซอฟตแวรแหงชาติ (องคการมหาชน) (SiPA)เมือ่วนัที ่29 มนีาคม 2555 โดย นายกวนิ อาวรณ และ อ.บญุรตัน เผดมิรอด อาจารยทีป่รกึษา 2. รางวัล Best Aesthetic Award จากการแขงขันสะพานระดับนานาชาติ Asia BridgeCompetition 2012 (Asia BRICOM 2012) ณ National Central University, Taiwan ระหวางวันที่ 19-23 มีนาคม 2555 โดย นายธนวัฒนอทุยัธรรมกลุ นายกฤษณ จารสุาร นายวรชยั วงษขนัธ นายนพินัธ มธัยนัต นายพงศพฒัน บวรสถริกลุ อ.ดร.นนัทวฒัน ขมหวาน และ อ.กมล อมรฟา (อาจารยผูควบคมุทมี) 3. รางวัลดีเดนอันดับ 1 ในการประกวดโครงการความคิดริเริ่มทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ครั้งที่ 5 จัดโดยสมาคมวศิวกรรมเคมแีละเคมปีระยกุตแหงประเทศไทย (สวคท.) จากผลงานเรือ่ง โครงการการศกึษาเบือ้งตนการประเมนิคณุภาพการรบัซือ้ปลาทนูาดวยเทคนคิเนยีรอนิฟราเรดสเปคโทรสโคป โดย นางสาวศทุธหทยั โภชนากรณ และ ผศ. ดร.รณฤทธิ ์ฤทธริณ (อาจารยทีป่รกึษา)

คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน จัดโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู กับผู เชี่ยวชาญตางประเทศ 4 ครั้ง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปดโอกาสใหคณาจารย นิสิต ไดแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณใหมๆ ที่เปนประโยชนกับผูเชี่ยวชาญตางประเทศ และเสริมสรางวิสัยทัศนของนิสิตดานการศกึษาตอตางประเทศ โดยในครัง้แรกไดรบัเกยีรตจิาก Dr. Maria B. Perez-Gago ผูเชีย่วชาญดาน edible film coating สําหรับยืดอายุการเก็บรักษาผักและผลไมจาก The Valencian Institute of Agricultural Research ประเทศสเปน มาบรรยายพิเศษในหัวขอ “New edible coatings for fresh and minimally processed fruits and vegetables” และ “Research activities at

the Valencian Institute of Agricultural Research” เมื่อวันอังคารที่ 19 มิถุนายน 2555 ครั้งที่ 2 โดย Prof. Michael O’Mahony ผูเชี่ยวชาญดาน Food Sensory Science จาก Department of Food Science and Technology, the University of California, Davis มาบรรยายพิเศษในหัวขอ “Recent Developments in Food Sensory Science” เมื่อวันอังคารที่ 17 กรกฎาคม 2555 ครั้งที่ 3 โดย Prof. Dr. Frank Palis ผูเชี่ยวชาญดาน Robotics and Mechatronics จาก Otto-von-Guericke-Universität Magdeburg, Germany มาบรรยายพิเศษในหัวขอ “Recent and New Trend in Biologically Inspired Intelligent Robotics” เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2555 และครั้งที่ 4 โดย Professor Dr.Hirozumi Watanabe จาก Department of International Department of International, Environmental & Agricultural Sciences (IEAS)Tokyo University of Agriculture and Technology (TUAT) ประเทศญี่ปุน มาบรรยายพิเศษ ในหัวขอ “ Modeling of Pesticide Fate and Transportation Process in Paddy Water and Surface Soil” เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2555

อ.ดร.วันรัฐ อับดุลลากาซิม ผู ชวยคณบดีฝายวเิทศสมัพนัธ นาํนสิติ 3 คน คอื นายวฒุชิยั เตง็ใชสนุ นางสาวณฐัวรรณ คมิประสตูร และนายสรชชั มโีค รบัมอบทนุการศกึษาไทยบรดิสโตน ประจาํปการศกึษา 2555 จากคณุทาดาช ิ มาซามเุนะ ผูอาํนวยการฝายการเงนิ บรษิทั ไทยบรดิสโตน จาํกดั การมอบทนุการศกึษาไทยบรดิสโตนในปนี ้นอกจากคณะวศิวกรรมศาสตร กาํแพงแสน แลว บรษิทั ไทยบรดิสโตน จาํกดั ยงัมอบทนุการศกึษาใหกบันสิติคณะเกษตร กาํแพงแสน และนกัศกึษาจากอกี 3 สถาบนั คอื มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร สถาบนัเทคโนโลยพีระจอมเกลาเจาคณุทหารลาดกระบงั และมหาวทิยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลธญับรุี

ทุน BridgeStone>>> ตอจากหนา...1

นิสิตวิศวะ กําแพงแสนรับประกาศเกียรติคุณในงานเชิดชูเกียรติบุคลากรและนิสิตผูนําชื่อเสียงมาสู ม.เกษตรศาสตร

โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูเชี่ยวชาญตางประเทศ

Page 3: EngKPS News V.4-2555

Engineering KPS News

3

>>> ตอจากหนา...1

The 3rd Thailand INWEPF Symposium เนือ่งจากตระหนกัรวมกนัวาสภาพภมูอิากาศโลกในปจจบุนัเปนปจจยัสาํคญัทีส่งผลตอการผลติขาว ซึง่ตองพึ่งพานํ้าฝนและฤดูกาลตามธรรมชาติ จากสภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลง เชน อุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้น ความแปรปรวนของฤดูกาล สงผลกระทบตอการพัฒนา ความมั่นคง ระบบนิเวศ และการผลิตอาหารในพื้นที่ตางๆ โดยเฉพาะอยางยิง่ประเทศไทยไดเกดิวกิฤตการณอทุกภยัครัง้ใหญ ในป 2553 และปลายป 2554 โดยในการประชมุครัง้นีไ้ดรบัเกยีรติจาก คุณสุพัตรา ธนเสนีวัฒน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนประธานในการเปดการประชุม รศ.วุฒิชัยกปลกาญจน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กลาวตอนรับผูรวมสัมมนา อธิบดีกรมชลประทาน คุณเลิศวิโรจน โกวัฒนะ กลาวรายงานถึงการประชุมวิชาการในครั้งนี้ ในการประชุมมีการบรรยายพิเศษโดย คุณสุเทพ นอยไพโรจน รองอธิบดีฝายบํารุงรักษา กรมชลประทาน หัวขอ “บทเรียนกรมชลประทานจากมหาอทุกภยั 2554” และ รศ.ดร.วราวธุ วฒุวิณชิย อาจารยประจาํภาควชิาวศิวกรรมชลประทาน คณะวศิวกรรมศาสตร กาํแพงแสน

ในหัวขอ “สถานภาพปจจุบันและทิศทางงานวิจัยที่จําเปนสําหรับการจัดการนํ้าและการผลิตขาวสําหรับประเทศไทย” ในการประชมุวชิาการในครัง้นีม้กีารนาํเสนอบทความวชิาการทัง้สิน้ 10 บทความ และมกีารตัดสินบทความดีเดน (Best Paper Award) ซึ่งไดแก บทความเรื่อง “การปรับปรุงพันธุขาว กข 6 เพื่อเพิ่มความตานทานตอโรคขอบใบแหง โดยใชเครื่องหมายโมเลกุลชวยในการคัดเลือก” ของคุณอภิรักษ วงคคาํจนัทร คณุจริวฒัน สนทิชน และคณุวรีะศกัดิ ์ศกัดิศ์ริริตัน ภาควชิาพชืศาสตรและทรพัยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

>>> อานตอหนา...2>>> อานตอหนา...3

วัตถุประสงคของการเสวนาในครั้งนี้ เพื่อระดมความคิดเห็นของนักวิชาการสาขาตางๆ ทั้งทางดานวิศวกรรมศาสตร การจัดการทรัพยากรและสาขาอืน่ ๆ ทีเ่กีย่วของในประเดน็หลกัและวธิกีารทีถ่กูตองเหมาะสมตามหลกัวชิาการ ตอขัน้ตอนของการดาํเนนิโครงการขนาดใหญทีม่ผีลกระทบตอสภาพแวดลอมทุกดานในวงกวาง และตอการใชงบประมาณมหาศาล ของการบรหิารจดัการนํา้เพือ่แกไขปญหาอทุกภยัของประเทศ ผูทรงคณุวฒุทิานอื่นๆ ที่รวมเสวนาในครั้งนี้ ประกอบดวย ศ.ดร.นิพนธ ตั้งธรรม นักวิชาการอาวุโส รศ.ดร.สุวัฒนา จิตตลดากร อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมทรัพยากรนํ้า คณะวิศวกรรมศาสตร ม.เกษตรศาสตร รศ.ดร.สุทธิศักดิ์ศรลัมพ อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร ม.เกษตรศาสตร รศ.ดร.กัมปนาท ภักดีกุล คณบดีคณะสิ่งแวดลอม มหาวทิยาลยัมหดิล และ ผศ.ดร.คมสนั มาลสี ีรองคณบดคีณะวศิวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ที่มาของการเสวนาในครั้งนี้ ตามที่รัฐบาลไดออก TOR เชิญชวนผูสนใจเขารวมเสวนาความคิด (Conceptual Plan) เพื่อออกแบบกอสรางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าอยางยั่งยืนและระบบแกไขปญหาอุทกภัยของประเทศไทย เปนโครงการขนาดใหญมาก ในวงเงิน 350,000 ลานบาท และเกิดการวิพากษกันอยางกวางขวาง โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเด็นการดําเนินงานที่ไมถูกตองตามหลักวิชาการของการจัดทําและ

โครงการเสวนาวชิาการ “หลกัการและขัน้ตอนทีถ่กูตองของการบรหิารจดัการทรพัยากรนํา้ เพือ่แกไขปญหาอทุกภยัของประเทศ”

ศกึษาโครงการขนาดใหญทางวศิวกรรม ซึง่จะตองศกึษาความเหมาะสมของโครงการ โดยวิเคราะหทางเลือกตางๆ อยางรอบคอบเพื่อใหเกิดผลกระทบตอสงัคม ชมุชน และสภาพแวดลอมนอยทีส่ดุ ทัง้ตองผานกระบวนการตรวจสอบของกฎหมายและ พ.ร.บ. สิ่งแวดลอม ซึ่งตองการผูศึกษาที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสม มีผลงานการศึกษาความเปนไปไดของโครงการและเปนผูมีสิทธิ์จัดทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการ ทั้งนี้ ขั้นตอนของการออกแบบและกอสรางโครงการยอยๆ ในโครงการใหญควรดําเนินการหลังจากมคีวามชดัเจนจากการศกึษาภาพรวมของทัง้ระบบลุมนํา้ และการศกึษาความเหมาะสมเปนรายโครงการอยางถูกตองรอบคอบเสียกอน ดังนั้นเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ ของหลักการและขั้นตอนที่ถูกตองของการดําเนินงานโครงการขนาดใหญที่มีผลกระทบอยางกวางขวาง และเปนหลักสากลปฏิบัติที่ไมอาจหลีกเลี่ยง และมีความจําเปนที่ตองดําเนินงานอยางถูกตองตามหลักวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรทั้งวิทยาเขตบางเขนและกําแพงแสน จึงรวมกันจัดงานเสวนาวิชาการที่เกี่ยวของกับประเด็นดังกลาว เพื่อใหนักวิชาการทางดานวิศวกรรมศาสตร และสาขาที่เกี่ยวของไดเสนอมุมมอง และหลักวิธีการที่ถูกตองซึ่งควรปฏิบัติ และไมอาจละเลยได เพือ่ใหการดาํเนนิโครงการบรรลผุลไดตามวตัถปุระสงค และมีความคุมคาสูงสุด เนื่องจากการดําเนินโครงการดังกลาวเปนการใชงบประมาณมหาศาล และเปนการสะทอนความคิดเห็นตามหลักวิชาการที่ถูกตองและเหมาะสมเพื่อเสนอแนะตอผูรับผิดชอบโครงการตอไป

>>> ตอจากหนา...1

Page 4: EngKPS News V.4-2555

Engineering KPS News

4

คณะวศิวกรรมศาสตร กาํแพงแสนตอนรบันกัศกึษาแลกเปลีย่นจาก 3 โครงการ

คณะวศิวกรรมศาสตร กาํแพงแสน ไดทาํความรวมมอืกบัสาํนกังานทรพัยากรธรรมชาตแิละสิง่แวดลอมจงัหวดันครปฐม โดยเมือ่วนัที ่17 สงิหาคม 2555 สาขาวชิาวศิวกรรมคอมพวิเตอร ลงนามจัดทําพัฒนาวิชาการ “โครงการปรับปรุงและพัฒนาระบบสารสนเทศฐานขอมลูสิง่แวดลอมและทาํเนยีบภมูปิญญาทองถิ่นจังหวัดนครปฐม” เพื่อใชสําหรับบริหารจัดการสิ่งแวดลอมและจัดทําแผน และเมื่อวันที่ 27-28 สิงหาคม 2555 ภาควิชาวิศวกรรมเกษตรรวมดําเนินการ “โครงการพัฒนาศักยภาพในการจัดการขยะมูลฝอยและนํ้าเสียจากครัวเรือน” ณ เทศบาลตําบลลําพญา อ.บางเลน จ.นครปฐม

ความรวมมือระหวางคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสนกับสํานกังานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดนครปฐม (ทสจ.)

งานวิเทศสัมพันธและประชาสัมพันธ คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสนโทร.034-351897, 034-281074-5 ตอ 7017 โทรสาร.034-281075 http://www.eng.kps.ku.ac.th

เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2555 ตอนรับนักศึกษาแลกเปลี่ยนจากโครงการ AAACU-KU Study Tour Program 2012 ซึ่งทางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน ไดรับเกียรติจาก Asian Association of Agricultural Colleges and University (AAACU) ใหเปนเจาภาพในการจดัโครงการนีข้ึน้ ระหวางวนัที ่8 - 21 กรกฎาคม 2555 โครงการนี้มีนิสิตนักศึกษาจากประเทศสมาชิก จํานวน 16 คน จาก 8 ประเทศ ประกอบดวย ไทย กวม อิหราน เกาหลีใต ญี่ปุน มาเลเซีย ฟลิปปนส และไตหวัน เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2555 คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยศูนยปฏิบัติการวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดลอม ใหการตอนรับนักศึกษาแลกเปลี่ยนจาก University of Tsukubaซึ่งเปนไปตามความรวมมือทางวิชาการระหวางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรและมหาวิทยาลัยทสึคุบะ ประเทศญี่ปุน เมือ่วนัที ่23 สงิหาคม 2555 ศนูยปฏบิตักิารวศิวกรรมพลงังานและสิง่แวดลอม ใหการตอนรบันกัศกึษาแลกเปลี่ยนโครงการแลกเปลี่ยนทางการศึกษา KU-TUA Student Exchanged Program จาก Tokyo University of Agriculture และ Okayama University

เมื่อวันที่ 9–10 กรกฎาคม 2555 ผศ.ดร.ศิวลักษณ ปฐวีรัตน อ.ดร.วัชรพล ชยประเสริฐ และนายศักดา จันทรทอง อาจารยและเจาหนาที่ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร ปฏิบัติหนาที่เปนวิทยากรบรรยาย ในหัวขอ Machinery for post-harvest handlings, หัวขอ Grain storage และหวัขอ Machinery for rice mill ในการอบรมดงูานหวัขอ Postharvest Technology of Agricultural Crops ใหแกคณะเจาหนาที่จาก Ministry of Agriculture, the Democratic People’s Republic of Korea (DPRK) จํานวน 5 คน นอกจากนี้ ยังไดนําคณะเขาศึกษาการดําเนินงานของโรงสีธัญโอสถของศูนยวิทยาศาสตรขาว และเขาศึกษาดูงานที่ศูนยเครื่องจักรกลการเกษตรแหงชาติ การอบรมดูงานครั้งนี้จัดโดย สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร ดวยทุนจาก FAO

บรรยายพิเศษแกเจาหนาที่Ministry of Agriculture, the Democratic People’s Republic of Korea (DPRK)