การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf ·...

25
บทที4 การคัดเลือกโครงการ การคัดเลือกโครงการเปนภารกิจที่สําคัญที่ผูบริหารระดับสูงจะตองทําการตัดสินใจ หากผูบริหารไดคัดเลือกโครงการอยางรอบคอบและเมื่อนําสูการปฏิบัติแลว จะชวยใหองคการ สังคม หรือผูรับบริการสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่ตองการไดอยางมีประสิทธิภาพ สําหรับกระบวนการ หรือขั้นตอนในการตัดสินใจคัดเลือกโครงการนีผูบริหารระดับสูงจะตองทําการคัดเลือกเฉพาะ โครงการที่ดีที่สุดและระงับโครงการที่ดอยกวาไวกอน โดยใชเทคนิคหรือตัวแบบตางๆ เขามาชวย ในการประเมินโครงการและตัดสินใจคัดเลือกโครงการที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งในการคัดเลือกขอเสนอ โครงการจะเปนขั้นตอนการตัดสินใจที ่สําคัญ ซึ่งทั้งผูบริหารระดับสูง ระดับกลางและระดับปฏิบัติ อาจจะเขามารวมกันตัดสินใจในการคัดเลือกโครงการที่ผูปฏิบัติการไดจัดทําขอเสนอโครงการขึ้นมา ซึ่งการตัดสินใจในการคัดเลือกโครงการเปนการตัดสินใจที่มักกระทําโดยกลุมมากกวาบุคคลเพียง คนเดียว โดยทั่วไปองคการจะดําเนินงานตามวัตถุประสงคในทิศทางที่ถูกควบคุมไว โดยผูบริหาร ระดับสูงที ่ทําการตัดสินใจที่ใชความรู และความสามารถในการอธิบายเหตุผลวาโครงการที่เสนอ เขามานั้นโครงการใดที่สามารถจะกอผลใหเกิดผลประโยชนสูงสุดใหเกิดแกองคการ และในขณะทีความนาจะเปนหรือความเสี่ยงที่โครงการจะลมเหลวก็อยูในระดับที่สามารถยอมรับไดอีกดวย สําหรับตัวแบบที่ใชในการคัดเลือกโครงการมีขอสมมติฐานเบื้องตน คือ ผูที่ทําการตัดสินใจ จะใชหลักการทางวิชาการอยางมีเหตุผล เนื่องจากผูบริหารระดับสูงตองการผลตอบแทนที่ดีที่สุด จากการดําเนินงานโครงการ ดังนั้นการที่จะตัดสินคัดเลือกโครงการเพื ่อนําไปปฏิบัติใหบรรลุ วัตถุประสงคดานใดดานหนึ่งที่กําหนดไว ผูบริหารจึงจําเปนตองอาศัยขอมูลที่ไดจากการรวบรวม การศึกษา และการคนควาถึงแนวโนมของสถานการณที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งจากภายในองคการ และ ภายนอกองคการ รวมทั้งขอมูลเกี่ยวกับความสามารถขององคการในการดําเนินงานโครงการที่จัดทํา โครงรางหรือขอเสนอใหพิจารณา ขอมูลดังกลาวขางตนนี้และอาจมีผลกระทบตอการดําเนินโครงการ จึงตองจัดทําในลักษณะระบบสารสนเทศที่เหมาะสมตอผูบริหารในการใชงาน โดยเฉพาะสารสนเทศ ประเภทที่เปนระบบสนับสนุนการตัดสินใจ โดยสมมติวาถาตัดสินใจคัดเลือกโครงการนี้แลวจะเกิด อะไรขึ้น ขอมูลที่ทําการจัดเก็บทั้งภายในองคการและภายนอกองคการที่จําเปนสําหรับการตอบ คําถาม ดังนั้นระบบสารสนเทศประเภทสนับสนุนการตัดสินใจของผูบริหารในการคัดเลือกโครงการ จะชวยใหผูบริหารสามารถใชขอมูลในการตัดสินใจเลือก และสนับสนุนทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด ใหเกิดประโยชนสูงสุดตอไป

Upload: tranduong

Post on 06-Feb-2018

223 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

บทที่ 4 การคัดเลือกโครงการ

การคัดเลือกโครงการเปนภารกิจท่ีสําคัญท่ีผูบริหารระดับสูงจะตองทําการตัดสินใจ หากผูบริหารไดคัดเลือกโครงการอยางรอบคอบและเม่ือนําสูการปฏิบัติแลว จะชวยใหองคการ สังคมหรือผูรับบริการสามารถบรรลุวัตถุประสงคท่ีตองการไดอยางมีประสิทธิภาพ สําหรับกระบวนการหรือข้ันตอนในการตัดสินใจคัดเลือกโครงการนี้ ผูบริหารระดับสูงจะตองทําการคัดเลือกเฉพาะโครงการท่ีดีท่ีสุดและระงับโครงการที่ดอยกวาไวกอน โดยใชเทคนิคหรือตัวแบบตางๆ เขามาชวยในการประเมินโครงการและตัดสินใจคัดเลือกโครงการท่ีเหมาะสมท่ีสุด ซ่ึงในการคัดเลือกขอเสนอโครงการจะเปนข้ันตอนการตัดสินใจท่ีสําคัญ ซ่ึงท้ังผูบริหารระดับสูง ระดับกลางและระดับปฏิบัติอาจจะเขามารวมกันตัดสินใจในการคัดเลือกโครงการที่ผูปฏิบัติการไดจัดทําขอเสนอโครงการขึ้นมา ซ่ึงการตัดสินใจในการคัดเลือกโครงการเปนการตัดสินใจท่ีมักกระทําโดยกลุมมากกวาบุคคลเพียงคนเดียว โดยท่ัวไปองคการจะดําเนินงานตามวัตถุประสงคในทิศทางท่ีถูกควบคุมไว โดยผูบริหารระดับสูงท่ีทําการตัดสินใจที่ใชความรู และความสามารถในการอธิบายเหตุผลวาโครงการท่ีเสนอเขามาน้ันโครงการใดท่ีสามารถจะกอผลใหเกิดผลประโยชนสูงสุดใหเกิดแกองคการ และในขณะที่ความนาจะเปนหรือความเส่ียงท่ีโครงการจะลมเหลวกอ็ยูในระดับท่ีสามารถยอมรับไดอีกดวย สําหรับตัวแบบท่ีใชในการคัดเลือกโครงการมีขอสมมติฐานเบ้ืองตน คือ ผูท่ีทําการตดัสินใจจะใชหลักการทางวิชาการอยางมีเหตุผล เนื่องจากผูบริหารระดับสูงตองการผลตอบแทนท่ีดีท่ีสุดจากการดาํเนินงานโครงการ ดังนั้นการท่ีจะตัดสินคัดเลือกโครงการเพื่อนาํไปปฏิบัติใหบรรลุวัตถุประสงคดานใดดานหน่ึงท่ีกําหนดไว ผูบริหารจึงจําเปนตองอาศัยขอมูลท่ีไดจากการรวบรวม การศึกษา และการคนควาถึงแนวโนมของสถานการณท่ีอาจจะเกิดข้ึนท้ังจากภายในองคการ และภายนอกองคการ รวมท้ังขอมูลเกี่ยวกับความสามารถขององคการในการดําเนินงานโครงการท่ีจัดทําโครงรางหรือขอเสนอใหพจิารณา ขอมูลดงักลาวขางตนนี้และอาจมีผลกระทบตอการดําเนินโครงการ จึงตองจัดทําในลักษณะระบบสารสนเทศท่ีเหมาะสมตอผูบริหารในการใชงาน โดยเฉพาะสารสนเทศประเภทท่ีเปนระบบสนับสนุนการตัดสินใจ โดยสมมติวาถาตัดสินใจคัดเลือกโครงการนี้แลวจะเกิดอะไรข้ึน ขอมูลท่ีทําการจัดเก็บท้ังภายในองคการและภายนอกองคการที่จําเปนสําหรับการตอบคําถาม ดังนั้นระบบสารสนเทศประเภทสนับสนุนการตัดสินใจของผูบริหารในการคัดเลือกโครงการจะชวยใหผูบริหารสามารถใชขอมูลในการตัดสินใจเลือก และสนับสนุนทรัพยากรทีมี่อยูอยางจํากดัใหเกิดประโยชนสูงสุดตอไป

Page 2: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

90

ความสําคัญของการคัดเลือกโครงการ การคัดเลือกโครงการเพื่อใชเพื่อดําเนินโครงการในอนาคตน้ัน ผูบริหารระดับสูงควรทําการพิจารณาโดยผานกระบวนการคัดเลือกโครงการท่ีประกอบดวยตัวแบบตางๆ ไดแก ตัวแบบการคัดเลือกโครงการออก ซ่ึงเปนการแสวงหาขอมูลเบ้ืองตนเพื่อเปนการแยกแยะโครงการที่ถูกเสนอเขามาโดยใชเกณฑท่ีเหมาะสม 2-3 เกณฑ สวนตัวแบบเพ่ือการประเมินผลเปนการวิเคราะหโครงการท่ีผานข้ันตอนการคัดโครงการออกมาแลวนัน้ จะทําการพจิารณาในรายละเอียดอยางรอบคอบ โดยตัวแบบการพิจารณาอนุมัติงบประมาณเปนการกาํหนดงบประมาณท่ีจะจัดสรรใหแกโครงการท่ีผานการประเมิน สวนตัวแบบกลุมและองคการเปนกระบวนแสวงหาความเห็นพองตองกันและความผูกพันของผูเกี่ยวของในองคการ เปนตน โดยท่ัวไปลักษณะและธรรมชาติของโครงการจะมีวงจรโครงการ (Life Cycle) นั่นคือ โครงการเปรียบเสมือนส่ิงมีชีวิตท่ีมีการเกิดข้ึน มีการเติบโต มีพัฒนาการ และส้ินสุดโครงการ เปนวัฎจักร นอกจากนี้โครงการจะมีปฏิสัมพันธท้ังในระดับนโยบาย และระดับปฏิบัติการ ซ่ึงจากการที่โครงการเปนหนวยยอยของนโยบายองคการ ดังนั้นจึงมีปฏิสัมพันธเช่ือมโยงกับหนวยงานนโยบาย หรือหนวยงานท่ีรับผิดชอบ และปฏิสัมพันธภายในโครงการเอง ยังผลทําใหเกดิความซับซอน ท้ังในดานแนวคิด องคความรู การบูรณาการทรัพยากร และระบบยอยตางๆ อีกดวย สุภาดา สิริกุตตา และคนอ่ืนๆ (2543, หนา 101) กลาววา การวิเคราะหโครงการจะครอบคลุมถึงการศึกษาดานการเงิน ดานการบริหาร ดานเทคนิค ดานเศรษฐกิจ เปนตน เพ่ือใหเกิดความม่ันใจท่ีจะนําโครงการมาใช การวิเคราะหโครงการจะตองกระทําทุกแงมุมอยางมีระบบ โดยศึกษาวิเคราะหท้ังปจจัยภายในและภายนอกระบบ รวมท้ังการศึกษาวิเคราะหดานผลประโยชน ตนทุน และคาใชจายดวย คลีแลนดและไอรแลนด (Cleland, & Ireland, 2002, p.114) กลาววา การคัดเลือกโครงการเปนกระบวนการในการกล่ันกรองโครงการที่มีความเหมาะสมเพื่อใชดาํเนินการ โดยผูบริหารระดับสูงจะพิจารณาถึงโครงการท่ีเปนทางเลือกและมีความเปนไปไดในทางปฏิบัติท่ีมีการกําหนดเกณฑหรือเง่ือนไขในการประเมินโครงการกํากับ โดยท่ัวไป คําวา วิสัยทัศน เปนเปาหมายระยะยาวหรือมุมมองท่ีกวางขวางท่ีผูบริหารทีเ่ปนผูท่ีมีความสําคัญตอการกําหนดกลยุทธจะใชเหตุผลภายใตทัศนคต ิประสบการณ และความรูความสามารถท่ีสะสมไว ซ่ึงวิสัยทัศนมีคุณลักษณะ คือ คิดอยางเปนระบบ โดยผูบริหารจะมีการวิเคราะหและกําหนดแผนท่ีมีความเหมาะสมและสอดคลองกับสภาวะแวดลอมข้ึนอยางมีระบบ มีความเชื่อมั่น จากผลการวิเคราะหสภาวะแวดลอมและทําการกําหนดวิสัยทัศนข้ึนเพื่อการดําเนินงาน และมีความเอาใจใสในงานท่ีปฏบิตัิ เปนการใหความสนใจและมุงม่ันถึงวัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนด

Page 3: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

91

วีแลนและฮังเกอร (Wheelan & Hunger, 2000, p.11) กลาววา วิสัยทัศน (Vision) หมายถึง การระบุถึงส่ิงท่ีองคการตองการใหเปนผลในอนาคต ปจจุบันผูบริหารโครงการจะตองมีมุมมองท่ีกวางขวางองคการใดท่ีมีโอกาสขยายการลงทุนผูบริหารก็ควรตัดสินใจจัดทําโครงการเพ่ือการลงทุน คุณลักษณะของวิสัยทัศนท้ัง 3 ประการนี้ ประกอบกับขอมูลจากภายนอก และภายในองคการทําใหผูบริหารสามารถกําหนดแผนกลยุทธของโครงการเพ่ือนําไปสูการแกปญหาท่ีกําลังเผชิญอยู และสามารถกําหนดแนวทางการแขงขันภายใตขอจํากดัของทรัพยากรที่มีอยู ในการตัดสินใจท่ีมีความเกี่ยวกับการจัดลําดับความสําคัญของโครงการนั้น เปนปญหาท่ีสําคัญของผูบริหารระดับสูง เนื่องจากการบรรลุภารกิจจําเปนจะตองใชโครงการหลายโครงการเขามาดําเนินการ ซ่ึงบางโครงการอาจจะมีความสําคัญมากและบางโครงการอาจจะมีความสําคัญนอยท่ีมีความแตกตางกันตามสถานการณท่ีองคการไดเผชิญอยู ซ่ึงผูบริหารระดบัสูงจําเปนตองทําการตัดสินใจวาควรจะเลือกโครงการใดเพื่อดําเนินการกอนหรือหลัง เนื่องจากองคการมีขอจํากัดดานการเงิน บุคลากร เวลา เปนตน อยางไรก็ตามมีหลักเกณฑท่ีผูบริหารระดับสูงจะตองคํานึงถึงในการตัดสินใจคัดเลือกโครงการหรือทําการจัดลําดับความสําคัญของโครงการ โดยผูบริหารอาจจะใชแนวความคิดในการตัดสินใจคัดเลือกหรือทําการจัดลําดบัความสําคัญของโครงการท่ีแตกตางกัน สําหรับหลักเกณฑในการจดัลําดับความสําคัญของโครงการ (สุภาพร พศิาลบุตร, 2547, หนา 129-130) ดังนี ้ 1. หลักการตอบสนองนโยบาย เปนหลักท่ีใชพิจารณาถึงโครงการท่ีจะไดรับการยอมรับนัน้จะตองเปนโครงการท่ีเปนไปตามนโยบายขององคการอยางแทจริง 2. หลักการวเิคราะหตนทุนและผลประโยชน เปนหลักท่ีใชพจิารณาถึงโครงการที่มีตนทุนและใหผลประโยชนมากท่ีสุดโครงการนั้นควรไดรับการพิจารณาในลําดับตนๆ 3. หลักการวิเคราะหประสิทธิภาพ เปนหลักท่ีใชพิจารณาถึงโครงการที่สามารถบรรลุวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพ เกดิคาใชจายท่ีต่ําท่ีสุดโครงการน้ันควรไดรับการพจิารณากอน 4. หลักการพิจารณาผลผลิต เปนหลักท่ีใชพิจารณาถึงโครงการท่ีมีการเปรียบเทียบกับผลผลิตแตละโครงการวาโครงการใดใหผลผลิตมากกวาจะเปนโครงการท่ีไดรับการพิจารณากอน 5. หลักการวิเคราะหการนําผลท่ีไดไปใชประโยชน เปนหลักท่ีใชพิจารณาถึงโครงการท่ีสามารถกอใหเกิดทั้งดานประสิทธิภาพและการนําผลที่ไดไปใชประโยชนแกองคการหรือสังคม โครงการนั้นควรไดรับการพจิารณากอน

Page 4: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

92

จากภาพที่ 4.1 ตอไปนีจ้ะแสดงกระบวนการคัดเลือกโครงการ ดังนี้

ขอเสนอโครงการที่รอการพิจารณา ขอเสนอโครงการที่ถูกคัดออก

โครงการท่ีถูกยกเลิก

โครงการท่ีดําเนินการจนแลวเสร็จ ภาพท่ี 4.1 กระบวนการคัดเลือกโครงการ ท่ีมา (Souder, 1988, p.141)

ตัวแบบการ คัดโครงการออก

ตัวแบบการประเมินผล

ตัวแบบผสมผสาน

โครงการท่ีไดรับ การดําเนินการ

- ฝายจัดซื้อวัสดุอุปกรณ - ผูปฏิบัติงาน - ฝายจัดการทั่วไป

- -

ผูรับบริการ ฝายวิจัยและพัฒนา ฝายการตลาด

ขอเสนอโครงการใหม

ตัวแบบกลุม และองคการ

-

Page 5: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

93

จากภาพท่ี 4.1 แสดงกระบวนการคัดเลือกโครงการ พบวา ฝายวจิยัและพัฒนาจะดําเนนิการคนหาขอมูลถึงความตองการจากผูรับบริการ เพื่อจัดทําขอเสนอโครงการใหม โดยฝายการตลาด ฝายจดัซ้ือวัสดอุุปกรณ ผูปฏิบัติงาน ฝายจดัการท่ัวไป เปนตน จะเขามามีบทบาทในการเสนอโครงการ เม่ือโครงการท่ีผานการพิจารณาโดยตัวแบบตางๆ แลว ขอเสนอโครงการจะถูกสงไปรอการพิจารณาอนุมัติงบประมาณ โครงการท่ีรอการจัดสรรงบประมาณอาจถูกนาํไปพิจารณาใหมไดแตโครงการท่ีถูกคัดออกแลวในตอนแรกจะไมนํามาพิจารณาอีกตอไป นั่นคือ กระบวนการคัดเลือกโครงการมีความตอเนื่องเปนข้ันตอนโดยผานตัวแบบการคัดเลือกและอาจจะดําเนินการซํ้าใหมไดตลอดเวลา หากขอมูลดานทรัพยากร ตนทุน ความสําเร็จของโครงการไดเปล่ียนแปลงไปหรือมีแนวโนมไมสามารถดําเนินการจนบรรลุวัตถุประสงค เนื่องจากระบบสารสนเทศประกอบไปดวยตัวแบบจําลองท่ีนํามาใชในการวิเคราะหขอมูลโดยตรงไดหลายตัวแบบ ผูบริหารระดับสูงสามารถมอบหมายใหผูรับผิดชอบระบบสนับสนุนการตัดสินใจใหทําการวเิคราะหขอมูลท่ีมีความสลับซับซอน เพื่อนําขอมูลจํานวนมากมาจัดใหอยูในรูปแบบที่เหมาะสมเพื่อนําเสนอตอผูบริหารที่สามารถตัดสินใจได รวมท้ังเปนรูปแบบท่ีผูบริหารสามารถใชงานระบบสารสนเทศไดเอง สามารถเปล่ียนแปลงเง่ือนไข เพิ่มเติมขอมูลใหมได เปนตน นอกจากนี้ผูบริหารระดับสูงและผูบริหารโครงการท่ีดีควรมีคุณสมบัติท่ีสําคัญ คือ การมีวิสัยทัศนท่ีดีในการวางแผนโครงการเพ่ือการดําเนินโครงการอยางมีประสิทธิภาพนั่นเอง โดยท่ัวไปปญหาท่ีเกิดข้ึนจากการจัดเตรียมโครงการ เชน ขาดการวิเคราะหถึงปญหาและความตองการของผูรับบริการอยางแทจริง แตจะใหความสําคัญกับเงินทุนหรืองบประมาณท่ีเกิดจากโครงการทําใหกําหนดโครงการขึ้นมาเพื่อใชเงินดังกลาว นอกจากนี้การกําหนดวัตถุประสงคท่ีมีจํานวนมากหรือมีหลายดานเกินไปก็ยังสามารถกอใหเกิดปญหา ดานการปฏิบัติท่ีมีความยุงยากในการบรรลุถึงวัตถุประสงคได ซ่ึงโดยปกติการกําหนดวตัถุประสงคมีเพียง 1-3 ขอก็เพียงพอแลว สวนปญหาอ่ืนท่ีพบไดจากการกําหนดโครงการ คือ ความสับสนระหวางวัตถุประสงคของโครงการและกิจกรรมในโครงการ โดยปกติจะปฏิบัติตามกิจกรรมเพื่อใหเกิดการบรรลุวัตถุประสงคแตมักพบวามีการนําเอาวิธีการปฏิบัติมากําหนดเปนวตัถุประสงคโครงการ เปนตน จากตารางท่ี 4.1 แสดงถึงการประเมินเพื่อการคัดเลือกโครงการ พบวา ชองซายสุดจะเปนกลุมของเกณฑท่ีใชในการประเมินโครงการ ซ่ึงในเนือ้หาของตารางดังกลาวจะแสดงถึงแนวทางในการดําเนินโครงการสําหรับโครงการใหมท่ีถูกนําเสนอ สวนน้ําหนักของเกณฑในชองท่ี 3 จะมีความสัมพันธและมีความสําคัญตอการประเมินผลในโครงการ ท่ีมีความสลับซับซอนภายในกรอบที่งายตอการทําความเขาใจ โดยกลุมของเกณฑหลักจะมีความสัมพันธกับภารกิจ วัตถุประสงค กลยุทธและเปาหมาย โดยมีน้ําหนักจาก 10 คะแนนในแตละชอง สวนภายในชองหลักจะมีผลรวม คือ 20 คะแนน

Page 6: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

94

ตารางท่ี 4.1 การประเมินเพือ่การคัดเลือกโครงการ เกณฑการประเมิน

โครงการ รายละเอียด น้ําหนัก

ของเกณฑ ดีเยี่ยม

(8)

ดี

(6)

ปานกลาง (4)

ยังไมนา

พอใจ (2)

ไมพอใจ

(0)

ระดับ น้ําหนัก

คะแนน ที่คาดหวัง

ผลิตภัณฑ 10 1.0 8.0 80 ตลาด 10 1.0 8.0 80

มีความเหมาะสมกับภารกิจ

ผลรวม 20 ผลตอบแทนจากการลงทุน

10 .2 .6 .2 6.0 60

เงินปนผล 5 .2 .6 .2 4.0 40 ภาพลักษณ 5 .8 .2 3.6 18

มีความสอดคลองกับวัตถุประสงค

ผลรวม 20 ขั้นที่ 1 10 1.0 0 0 ขั้นที่ 2 7 1.0 8.0 56 ขั้นที่ 3 3 1.0 0 0

มีความสอดคลองกับกลยุทธ

ผลรวม 20 เปาหมายท่ี 1 8 1.0 0 0 เปาหมายท่ี 2 6 .8 .2 7.6 45.6 เปาหมายท่ี 3 4 .8 .2 5.6 22.4 เปาหมายท่ี 4 2 1.0 0 0

การสนับสนุน ดานเปาหมาย

ผลรวม 20

จุดแข็งขององคการ 10 .8 .2 1.6 16

จุดออนขององคการ 10 .4 4

เปรียบเทียบดานความไดเปรียบ 10 .7 .3 7.4 74

มีความสอดคลองภายในองคการ 10 1.0 8.0 80

ระดับความเสี่ยงท่ียอมรับได 10 .7 .3 1.4 14

มีความสอดคลองกบันโยบาย 10 1.0 4.0 40

คะแนนรวม 610

ท่ีมา (Cleland & Ireland, 2002, p.117)

Page 7: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

95

สําหรับขอเสนอโครงการจะประเมินจากปจจยัของผลิตภัณฑและตลาดท่ีเปนภารกิจท่ีสําคัญจะไดคะแนนระดับดีเยี่ยม (8) และมีโอกาสความนาจะเปน คือ 1.0 ในชองมีความสอดคลองกับวัตถุประสงคของขอเสนอโครงการจะมีโอกาสความนาจะเปนของผลตอบแทนจากการลงทุนเปน .2 หมายถึง ดีเยี่ยม .6 หมายถึงดี และ .2 หมายถึงปานกลาง โดยระบุความนาจะเปนท่ีเขาสูแถวท่ี 3 สวนโครงการดานท่ีไมพอใจ ไดแก เงินปนผลและภาพลักษณ ขอเสนอโครงการจะประเมินในรูปของความคาดหวังของแตละข้ันใน 3 ข้ันของกลยุทธ โดยขอเสนอโครงการจะมีความเชื่อม่ันตอข้ันท่ี 2 มากท่ีสุด ขอเสนอโครงการจะตองมีการประเมินท่ีมีความสอดคลองกับเกณฑการประเมินอ่ืนๆ สวนการประเมินในภาพรวมจะไดรับน้ําหนักคะแนนแสดงในรูปของผลรวมของความนาจะเปน และคะแนน 8, 6, 4, 2 และ 0 ระดับน้ําหนักคะแนนแสดงในดานบนของตาราง เชน ความสอดคลองกับวัตถุประสงค ผลตอบแทนจากการลงทุน สามารถคํานวณไดจากความคาดหวังของระดับน้ําหนัก คือ .2 (8) + .6 (6) + .2 (4) = 6.0 จากนั้นจะทําการคูณดวย 10 คะแนน ดังนั้นน้ําหนักคะแนนจะเปน 60 คะแนน จากคะแนนรวมท้ังส้ิน 610 คะแนน

การประเมินคาการลงทุนในโครงการ หลังจากโครงการท่ีมีความเหมาะสมกับสถานการณไดผานข้ันตอนการพิจารณาและการคัดเลือกอยางรอบคอบแลว จากน้ันผูบริหารโครงการจะเร่ิมตนดําเนินการและจะพยายามจูงใจใหผูปฏิบัติสามารถดําเนินงานจนบรรลุผลสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตามการพจิารณาโครงการใดโครงการหนึง่เพื่อนําไปปฏิบัตินั้น จะตองมีการคัดเลือกโครงการที่มีความเหมาะสมและมีความเปนไปไดในการบรรลุผลสําเร็จ ดังนัน้การคัดเลือกโครงการจึงเปนบทบาท และหนาท่ีของผูบริหารระดับสูงขององคการทีจ่ะตัดสินใจ สําหรับการตัดสินในเลือกโครงการใดโครงการหนึ่งเพื่อนําไปดําเนินการนั้น ผูตัดสินใจอาจจะใชตัวแบบหรือเทคนิคการคัดเลือกโครงการ ซ่ึงตัวแบบหรือเทคนิคการคัดเลือกโครงการมีอยูหลายลักษณะดวยกนั อยางไรก็ตามตัวแบบหรือเทคนิคตางๆ ท่ีใชเพื่อการคัดเลือกโครงการควรเปนตัวแบบหรือเทคนิควิธีท่ีสามารถใชงานงาย เสียคาใชจายนอยและมีความคุมคาเม่ือเปรียบเทียบกับประโยชนท่ีไดรับ หลังจากข้ันตอนการศึกษาความเปนไปไดในการดําเนินโครงการแลว ข้ันตอนตอไป คือ การวิเคราะหและประเมินคาโครงการ เพือ่พิจารณาวาโครงการนัน้สามารถใหผลตอบแทนหรือไดรับผลประโยชนท่ีคุมคากับเงินลงทุนหรือคาใชจายหรือไม และเพื่อใหไดขอมูลในการสนับสนุนการตัดสินใจวาโครงการท่ีกําลังพิจารณาอยูนัน้มีความเปนไปไดหรือควรลงทุนเพียงใด เราสามารถแบงวิธีการประเมินคาโครงการลงทุนออกไดเปน 2 วิธี (ฐาปนา ฉ่ินไพศาล และอัจฉรา ชีวะตระกูล, 2540, หนา 8-9 – 8-17) ดังนี ้

Page 8: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

96

1. การประเมินโครงการลงทุนท่ีไมคํานงึถึงคาของเงินกับเวลา การประเมินโครงการโดยวิธีนี้เปนวิธีการประเมินท่ีงาย ท่ีถือวาเงินจํานวนท่ีเทากันในเวลาท่ีตางกันมีคาท่ีเทากัน ดังนั้นการคํานวณเพื่อหากระแสเงินสดสุทธิจึงนําเงินในแตละปมาคํานวณไดเลย สําหรับการประเมินโครงการลงทุนท่ีไมคํานึงถึงคาของเงินกับเวลา มี 2 วิธี ไดแก 1.1 วิธีอัตราผลตอบแทนถัวเฉล่ีย เปนการคํานวณหาผลตอบแทนจากเงินท่ีลงทุนไป โดยการนํากําไรสุทธิถัวเฉล่ียหารดวยเงินลงทุนเฉล่ีย 1.2 ระยะเวลาคืนทุน คือ ระยะเวลาที่กระแสเงินสดรับสุทธิเทากับเงินสดจายลงทุนของโครงการหรือระยะเวลาท่ีผลตอบแทนจากการดําเนินโครงการเทากับเงินลงทุนของโครงการ 2. การประเมินโครงการลงทุนท่ีคํานึงถึงคาของเงินกับเวลา การประเมินโครงการวิธีนี้มีแนวความคิดท่ีวาเงินในแตละปถึงจะมีจํานวนเดียวกันก็จะมีมูลคาไมเทากนั นัน่คือ เงินมีคาตามเวลาหรือเวลาเปนปจจัยท่ีมีคา สําหรับการประเมินโครงการลงทุนท่ีคํานึงถึงคาของเงินกับเวลา มี 3 วิธี ดังนี้ 2.1 วิธีมูลคาปจจบัุนสุทธิ หมายถึง ผลตางของมูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิในแตละปตลอดอายุโครงการกับเงินสดจายลงทุน 2.2 วิธีอัตราผลตอบแทนของโครงการ เปนการคํานวณหาอัตราสวนลดหรืออัตราดอกเบ้ียท่ีทําใหมูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิตลอดอายุของโครงการเทากับเงินสดจายลงทุน 2.3 อัตราสวนผลตอบแทนตอตนทุน หมายถึง อัตราสวนระหวางมูลคาปจจุบันของผลตอบแทนกบัมูลคาปจจุบันของตนทุนท่ีจายไปในการดําเนินโครงการ การวิเคราะหจุดคุมทุน (Break Event Analysis) เปนเทคนิคท่ีสามารถทําการวิเคราะหจุดคุมทุนเพื่อใชเปนแนวทางการกําหนดปริมาณการผลิตท่ีสามารถบอกไดวา ผูบริหารควรกําหนดปริมาณการผลิตเทาใดจึงจะไมทําใหองคการเกิดปญหาการขาดทุนจากการกําหนดปริมาณการผลิต สําหรับเทคนิคการวเิคราะหจดุคุมทุนนี้ เร่ิมจากผูบริหารโครงการจะทาํการประเมินตนทุนหรือคาใชจายในกระบวนการผลิตท่ีสามารถผลิตสินคาออกมาไดตอหนวยของเวลา ซ่ึงการปฏิบัติการหรือดําเนินการผลิตนี้จะเกิดตนทุนคงท่ี (Fixed Cost) ท่ีเปนตนทุนท่ีองคการหรือโครงการจะตองจายแนนอนตลอดเวลาของการผลิต ดังนั้นผูบริหารจึงควรตัดสินใจผลิตในปริมาณท่ีเหมาะสม สูตรท่ีใชในการคํานวณ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2536, หนา 222) ดังนี้

จุดคุมทุน = ตนทุนคงท่ี ราคาขายตอหนวย – ตนทุนแปรผันตอหนวย

Page 9: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

97

ตัวอยางท่ี 4.1 บริษัทผลิตรองเทาแตะกําลังตัดสินใจเปดโรงงานผลิตรองเทาแหงใหม โดยโรงงานแหงนี้จะมีกําลังการผลิต 200,000 คูตอป ตนทุนคงท่ีเปน 2,500,000 บาทตอป และตนทุนแปรผันคูละ 12 บาท และ Q หมายถึงปริมาณท่ีผลิต โดยมีสมการตนทุน คือ ตนทุนการผลิตเทากับ 2,500,000 + 12Q ผูบริหารคาดวาสามารถจําหนายรองเทาไดคูละ 27 บาท และรายไดเทากบั 27 Q ผูบริหารสามารถหาจุดคุมทุนในการผลิตจากโรงงานแหงใหมได ดังนี้ วิธีคิด ใหกําหนดสมการรายไดเทากับตนทุนซ่ึงเปนจุดท่ีองคการผลิตแลวคุมทุนนั่นคือ 27 Q = 2,500,000 + 12Q 27 Q - 12Q = 2,500,000 Q = 2,500,000/15 = 166,667 ดังนั้นโรงงานแหงนี้จะตองผลิตไมนอยกวา 166,667 คูตอปและจําหนายใหหมดอีกดวย

ตัวแบบการคัดเลือกโครงการออก การคัดเลือกโครงการออก การอนุมัติและการจดัเตรียมรายละเอียดโครงการ ซ่ึงในระยะนี้มีกิจกรรมท่ีสําคัญ คือ การคัดเลือกและการอนุมัติท่ีเปนการพิจารณากล่ันกรองและตรวจสอบความเหมาะสมและใหความเห็นชอบโครงการ และการจัดทํารายละเอียดเพ่ือวางแผนปฏิบัติตอไป สําหรับตัวแบบการคัดโครงการออก (มยรีุ อนุมานราชธน, 2548, หนา 70-75) มีดังนี้ 1. ตัวแบบลักษณะ (Profile Model) การพิจารณาโครงการดวยตัวแบบนี้เปนการประเมินในเชิงคุณภาพ และทําการประเมินโดยบุคคลหรือกลุมบุคคลมีหลายลักษณะ ดังนี ้ 1.1 เปนรูปแบบท่ีงายและสะดวกในการนําไปใช เนื่องจากมีการอธิบายถึงลักษณะและการจัดลําดับความสําคัญของโครงการซ่ึงลักษณะดังกลาวจะแสดงถึงโครงการใดดีกวาโครงการใด 1.2 มีการนําเสนอการประเมินแบบไมเปนตัวเลข เปนการประเมินลักษณะของโครงการในเชิงพรรณนาแตสามารถใชเปรียบเทียบระหวางโครงการท่ีพิจารณาได 1.3 ตัวแบบลักษณะไมชวยใหเราทราบวาเกณฑใดอาจนํามาแทนกันได เชน โครงการ ก มีความนาเช่ือถือ มีความคุมทุน สวนโครงการ ข อาจจะมีน้ําหนกันอยหรืออยูในระดับกลาง อาจทําใหผูประเมินไมทราบคะแนนรวมของแตละโครงการ เปนตน

Page 10: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

98

2. ตัวแบบการตรวจสอบรายการ (Checklist Model) สําหรับเทคนิคตัวแบบการตรวจสอบรายการนี้ ผูทําการตัดสินใจสามารถแยกแยะระดับความสําคัญของเกณฑตางๆ อยูในรูปตัวเลข โครงการท่ีเสนอมาแตละโครงการจะถูกประเมินโดยวิธีจิตวิสัยแลวจึงใหคะแนนแกเกณฑแตละดาน โดยตองกําหนดเกณฑและใหคะแนนเกณฑแตละดานกอนแลวจึงทําการแปลงการประเมินท่ีเปนจิตวิสัยมาเปนตัวเลข (Numerical Score) คะแนนรวมจะคิดจากการรวมคะแนนของเกณฑท้ัง 5 ดาน ตัวแบบการตรวจสอบรายการอาจ

คํานวณคะแนนรวมของโครงการ โดยใชสูตร (Tj = Σi Sij) โดย Tj หมายถึง คะแนนรวมของโครงการ Sij หมายถึง คะแนนของเกณฑ I ตามตัวอยางในตารางท่ี 4.2 ดังนี้ ตาราง 4.2 ตัวอยางตัวแบบการตรวจสอบรายการ

คะแนนของเกณฑ (Sij) เกณฑการพิจารณา (i)

คะแนนรวม (Ti) -2 -1 0 +1 +2

โครงการ ก

ความนาเชื่อถอื

การบํารุงรักษา ความปลอดภัย ความคุมทุน

ความย่ังยืน

+5

โครงการ ข

ความนาเชื่อถอื

การบํารุงรักษา ความปลอดภัย ความคุมทุน ความย่ิงยืน

-2

โครงการ ค

ความนาเชื่อถอื

การบํารุงรักษา

ความปลอดภัย ความคุมทุน ความย่ิงยืน

+6

ท่ีมา (มยุรี อนุมานราชธน, 2548, หนา 72)

Page 11: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

99

จากตารางท่ี 4.2 แสดงตัวอยางตัวแบบการตรวจสอบรายการ โดยระดับคะแนน +2 หมายถึง เปนโครงการท่ีดีท่ีสุด ระดับคะแนน +1 หมายถึง เปนโครงการท่ีดี ระดับคะแนน 0 หมายถึง เปนโครงการท่ีดีปานกลาง ระดับคะแนน -1 หมายถึง เปนโครงการท่ีไมดี และระดับคะแนน -2 หมายถึง เปนโครงการท่ีไมดีเลย ดังนั้นโครงการ ค ท่ีได 6 คะแนนจึงเปนโครงการที่ดีท่ีสุดในระหวางโครงการ 3 โครงการ สําหรับเกณฑในการพิจารณาประเมินโครงการตัวแบบการตรวจสอบรายการน้ีจะปรับปรุงจากตัวแบบลักษณะ โดยการตรวจสอบรายการดวยการใหคะแนนและใหคะแนนรวมของแตละโครงการ เพื่อวิเคราะหเปรียบเทียบโครงการและจัดลําดับความสําคัญของโครงการ มีดังนี ้

คะแนนรวม หมายถึง +3 ข้ึนไป โครงการท่ีดี +2 ข้ึนไป ยอมรับขอเสนอโครงการได +1 ถึง +3 โครงการท่ีดีปานกลาง

3. ตัวแบบการใหคะแนน (Scoring Model) ตัวแบบการใหคะแนนถูกพัฒนามาจากตัวแบบการตรวจสอบรายการ โดยการใหน้าํหนัก

ของคะแนนมาตรฐานในคาของคะแนนรวม ตัวแบบการใหคะแนนมีสูตร (Tj = Σi Wi Sij) ดังนี ้

ตัวแปร หมายถึง Sij คะแนนของเกณฑ i Wi คาถวงน้ําหนกัของเกณฑ i Ti คะแนนของเกณฑท่ีถูกถวงน้าํหนัก

จากตารางท่ี 4.3 แสดงตัวแบบการใหคะแนน โดยคะแนน 5 คะแนนหมายถึงเปนโครงการท่ีดีมาก คะแนน 4 คะแนน หมายถึงเปนโครงการท่ีดี คะแนน 3 คะแนน หมายถึง เปนโครงการท่ีดีปานกลาง คะแนน 2 คะแนน หมายถึง เปนโครงการท่ีไมดี และคะแนน 1 คะแนน หมายถึง เปนโครงการท่ีไมดีเลย เม่ือเปรียบเทียบระหวางตารางท่ี 4.2 กับตารางท่ี 4.3 จะเห็นวาตารางท่ี 4.3 นี ้จะแสดงผลไปในแนวทางเดียวกันกับตารางท่ี 4.2 แตตางกันตรงท่ีคะแนนของเกณฑในตารางนี้จะมีคาเปน +3 คะแนนข้ึนไปของเกณฑท่ีถูกถวงน้ําหนักทําใหโครงการ ก และโครงการ ค มีความแตกตางกัน ซ่ึงในการใหคะแนนของเกณฑท่ีแสดงในตาราง 4.2 ดังกลาวนั้น ไมไดแสดงความแตกตางในดานคะแนนรวมนั่นเอง รวมท้ังปจจัยดานอ่ืนๆ ท่ีสําคัญและไมไดถูกนํามาพิจาณา

Page 12: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

100

ตารางท่ี 4.3 ตัวแบบการใหคะแนน

คาถวงน้ําหนกั ของเกณฑ (Wi)

คะแนน ของเกณฑ (Sij)

คะแนนของเกณฑ ที่ถูกถวงน้ําหนกั (Tj)

โครงการ โครงการ โครงการ

เกณฑการพิจารณา

(i) ก ข ค ก ข ค ก ข ค

ความนาเช่ือถือ 4 4 4 5 1 5 20 4 20

การบาํรุงรักษา 3 3 3 3 5 5 6 10 10

ความปลอดภัย 2 2 2 3 2 2 9 6 6

ความคุมทุน 5 5 5 5 3 4 25 15 20

ความย่ังยืน 1 1 1 4 2 4 4 2 4

รวม 64 37 60

ท่ีมา (มยุรี อนุมานราชธน, 2548, หนา 73)

4. ตัวแบบขอบเขต (Frontier Model) ตัวแบบขอบเขตเปนการวเิคราะหความแตกตางระหวางโครงการท่ีถูกนําเสนอ ผลจากการวิเคราะหจะแสดงถึง ความสัมพันธระหวางผลตอบแทนและความเสี่ยงท่ีโครงการจะไมประสบผลสําเร็จ ซ่ึงในการวิเคราะหดวยตัวแบบขอบเขตจะเก่ียวของกับอัตราสวนดานผลตอบแทนตอความเส่ียงของโครงการตางๆ เชน โครงการ ก มีผลตอบแทนสูงกวาโครงการ ข ในขณะท่ีมีความเสี่ยงเทากนั ดังนั้นผูบริหารจะใหความสําคัญกับโครงการ ก กอน สําหรับตัวแบบขอบเขตนี้เหมาะสําหรับใชตรวจสอบผลตอบแทนหรือความเส่ียง จะเหน็ไดวาโครงการท่ีมีประสิทธิภาพจะมีความเส่ียงแตกตางกนัตั้งแตความเส่ียงระดับตํ่า ปานกลางจนถึงความเส่ียงระดบัสูง นอกจากนี้ผูท่ีทําการตัดสินใจคัดเลือกโครงจึงตองพิจารณาโดยอาศัยวัตถุประสงคและเปาหมายขององคการเปนสําคัญอีกดวย ในการพิจารณาเพือ่ตัดสินใจเลือกโครงการโดยใชตัวแบบตาง ๆนั้น ผูบริหารจะตองตระหนักวาตัวแบบตางๆ ดังกลาวมีท้ังขอดีและขอจํากัด คือ ตัวแบบการคัดโครงการออกจะเปนการคัดโครงการท่ีตองการนอยท่ีสุดออกไปเพือ่เปนการลดจํานวนโครงการเพ่ือนําไปสูตัวแบบการประเมินผล เนื่องจากตัวแบบการคัดโครงการออกใชงายและเสียคาใชจายนอย ตวัแบบนีจ้ะชวยใหผูพิจารณาสามารถประเมินโครงการไดในกรณท่ีียังไมเขาใจโครงการดเีทาท่ีควรหรือมีขอมูลประกอบการตัดสินใจนอย ตัวแบบน้ีจึงไมสามารถนําเสนอขอมูลไดอยางลึกซ้ึงมากนัก นั่นคือ ไมชวยใหเขาใจโครงการไดอยางแทจริงแตชวยคัดโครงการบางโครงการท่ีไมตองการออกไป ตัวแบบการคัดโครงการออกจึงใชไดเฉพาะบางสถานการณ ดังนัน้ผูตัดสินใจเลือกโครงการไมควรคาดหวังผลจากการวิเคราะหมากนัก

Page 13: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

101

ตัวแบบดัชนทีางเศรษฐศาสตร ตัวแบบดัชนีทางเศรษฐศาสตรเปนเทคนิคในการคัดเลือกโครงการ โดยคํานวณจากตัวแปร ซ่ึงการเปล่ียนแปลงคาของตัวแปรสามารถสงผลตอคาดัชนีได สําหรับตัวแบบดัชนีทางเศรษฐศาสตรท่ีใชกันท่ัวไป คือ ผลตอบแทนจากการลงทุน (Return on investment) สําหรับตัวแบบดัชนีจะใชเพื่อทําการประเมินและทําการจดัลําดับโครงการท่ีเสนอเขามา สูตรการคํานวณคาดัชน ีดังนี้ V = C x P R 100 โดยคา V = คาดัชนี C = ตนทุน R = ผลตอบแทน P = ความนาจะเปน ตัวอยาง ตัวแบบดัชนีทางเศรษฐศาสตรสามารถแสดงใหเห็นไดจากตารางท่ี 4.4 พบวา ผลจากการประเมินโครงการสามารถจัดลําดับไดเปน 4 ลําดับ ดังนี้ ตารางท่ี 4.4 แสดงตัวแบบดัชน ี

โครงการ ตนทุน (C)

(บาท) ผลตอบแทน (R)

(บาท) ความนาจะเปนที่

โครงการจะสําเร็จ (P) คาดัชนี (V)

ลําดับท่ี

1 80,000 2,000 0.7 0.28 3

2 70,000 1,000 0.4 0.28 3

3 120,000 2,000 0.2 0.12 4

4 100,000 1,000 0.7 0.7 1

5 100,000 1,000 0.3 0.3 2

จากตารางท่ี 4.4 แสดงตัวแบบดัชน ีพบวา โครงการท่ีใชตวัแบบดัชนีทางเศรษฐศาสตรเพื่อจัดลําดับโครงการ คือ โครงการท่ี 4 มีคาดัชนี คือ 0.7 โครงการที่ 5 มีคาดชันี คือ 0.3 โครงการท่ี 1 และ 2 มีคาดัชนเีทากนั คือ 0.28 และโครงการท่ี 3 มีคาดัชน ีคือ 0.12 ตามลําดับ ในกรณีท่ีโครงการท่ี 1 และ 2 มีคาดัชนีเทากันนั้น หากผูบริหารไมมีโครงการอื่นเสนอเขามาและจําเปนตองตัดสินใจเลือก ผูบริหารจะตองพจิารณาถึงหลักเกณฑอ่ืนๆ ประกอบ คือ ปจจัยเชิงคุณภาพ เชน การักษาสภาพแวดลอม และเปนประโยชนตอสังคม เปนตน สําหรับโครงการที่ 4 มีคาดัชนีอยูในลําดับท่ี 1 หากผูบริหารพิจารณาถึงปจจยัท่ีมีผลตอคาดัชนี พบวา โครงการท่ี 4 ถึงแมวาจะมีตนทุนและผลตอบแทนเทากบัโครงการท่ี 5 แตโครงการที่ 4 มีความนาจะเปนท่ีโครงการจะสําเร็จสูงกวา ดังนั้นผูบริหารควรพิจารณาอนุมัติโครงการท่ี 4 เพื่อดําเนินการตอไป

Page 14: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

102

จากตัวอยางขางตนพบวาผลตอบแทนจากโครงการหนึ่งอาจตองชดเชยกับความเส่ียงจากอีกโครงการหนึ่งก็ได เชน จากการพิจารณาถึงคาดัชนีของโครงการท่ี 2 มีคาเทากับโครงการท่ี 1 แตโครงการท่ี 2 ซ่ึงมีตนทุนตํ่ากวาโครงการท่ี 1 แตมีความนาจะเปนท่ีสําเร็จนอยกวา ผูตัดสินใจอนุมัติควรเล่ียงความเส่ียงท่ีจะไมจดัลําดับโครงการท่ี 2 ใหสูงเทากับโครงการท่ี 1 และอาจตัดโครงการท่ี 2 ออกไป เนื่องจากโครงการท่ี 2 มีคาความนาจะเปนท่ีโครงการจะประสบความสําเร็จตํ่ากวา อยางไรกต็ามผลจากการใชตัวแบบดัชนีทางเศรษฐศาสตร พบวา ตวัแบบดังกลาวจะคํานึงถึงความเส่ียง ซ่ึงเปนผลทําใหตวัแบบนี้พิจารณาโครงการแบบมีอคติ และไมสามารถใชตวัแบบนี้ในการพจิารณาวัตถุประสงคหลายๆ ดานพรอมกันได เชน ถามุงเนนตนทุนตํ่าสุดและความเปนไปไดท่ีจะประสบความสําเร็จสูงสุดแลวควรเลือกโครงการที่ 4 เพราะใชตนทุนต่ําเม่ือเปรียบเทียบกับโครงการท่ี 3 ในขณะท่ีความเปนไปไดท่ีโครงการจะบรรลุผลสําเร็จสูง เม่ือเปรียบเทียบกับโครงการท่ี 2 3 และ 5 ซ่ึงแสดงใหเห็นวาตัวแบบดัชนีไมคํานึงถึงวัตถุประสงคในหลายๆ ดาน แตพิจารณาประสงคดานเดียวเทานั้น ดังนั้นผูทําการตัดสินใจเลือกโครงการควรจะตองระมัดระวังคาดัชนีท่ีอาจเบ่ียงเบนได เชน จากการคาดคะเน การมีอคติ การขาดขอมูลท่ีสําคัญเพื่อใชในการตัดสินใจ เปนตน

ตัวแบบการใหคุณคา ตัวแบบการใหคุณคา (Value contribution models) เปนตัวแบบในการพจิารณาตัดสินใจคัดเลือกโครงการ โดยผูบริหารจะพิจารณาถึงระดับคุณคาของโครงการท่ีสอดคลองกับวัตถุประสงคขององคการ สําหรับการพัฒนาตัวแบบการใหคุณคา มีข้ันตอน คือ ทําการกําหนดวัตถุประสงคขององคการตามลําดับความสําคัญ ไดแก วัตถุประสงคหลักซ่ึงมี 2 ประเภท คือ ระยะส้ันและระยะยาว วัตถุประสงคแตละดานจะมีวตัถุประสงคยอยจํานวนมาก เชน วัตถุประสงคระยะส้ัน ไดแก ความตองการประสบผลสําเร็จในผลิตภณัฑใหม ดานผลกําไรท่ีสูง การลดผลกระทบตอส่ิงแวดลอม เปนตน สวนวัตถุประสงคระยะยาว ไดแก การปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีและการรักษาสวนแบงทางการตลาด เปนตน จากน้ันจึงทําการกําหนดคาถวงน้ําหนักแกวัตถุประสงคแตละขอ การกําหนดคาถวงน้ําหนกัแกวตัถุประสงคหลัก โดยวตัถุประสงคหลักระยะส้ันมีคา V เทากับ 60 และคาถวงน้ําหนกัของวัตถุประสงคหลักระยะยาวมีคา V เทากบั 40 ในแตละวัตถุประสงคคะแนนท้ังหมดก็จะกระจายไประหวางวัตถุประสงคยอยตามความสําคัญของวัตถุประสงคโดยเปรียบเทียบกนั คาถวงน้ําหนักนี้จะแสดงถึงระดับของการสนับสนุนของโครงการตอวัตถุประสงคองคการ โดยท่ี 100 คะแนนแสดงถึงการท่ีโครงการสนับสนุนวัตถุประสงคทุกๆ ดานขององคการ และ 30 คะแนน แสดงถึงโครงการประสบความสําเร็จในผลิตภัณฑใหม การใหคาถวงน้ําหนักอาจทําโดยคนๆ เดียวหรือความเห็นจากหลายคนก็ได

Page 15: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

103

สําหรับโครงการ ก เปนโครงการท่ีมุงผลระยะส้ัน สวนโครงการ ข เปนโครงการท่ีมุงบรรลุวัตถุประสงคระยะยาว ในขณะท่ีโครงการ ค มุงผลท้ังในระยะส้ันและระยะยาว ตัวแบบการใหคุณคาแสดงโดยตารางท่ี 4.5 ดังนี ้

ตารางท่ี 4.5 ตัวแบบการใหคุณคา

วัตถุประสงคขององคการ ระยะสั้น (V=60)

วัตถุประสงคขององคการ ระยะยาว (V=40)

โครงการ

มูลคา (ลานบาท)

ความสําเร็จในดาน

ผลิตภัณฑใหม (V=30)

ความสําเร็จ ในดาน ผลกําไร(V=20)

การลดผลกระทบตอ สิ่งแวดลอม

(V=10)

การบํารุงรักษา เทคโนโลยี

(V=25)

การรักษา สวนแบงตลาด

(V=15)

คะแนน

การใหมูลคาท้ังหมด

ก 100 30 20 5 15 5 75

ข 200 15 20 10 20 10 65

ค 150 25 10 5 15 10 65

จากตารางท่ี 4.5 แสดงตัวแบบการใหคุณคา พบวา โครงการ ก เปนโครงการท่ีดีท่ีสุดจาก 3 โครงการ โดยการเปรียบเทียบวัตถุประสงคขององคการท้ังในระยะส้ันและระยะยาว ดังนี ้

การจัดลําดับโครงการ ลําดับท่ี ก คือ 75/100,000,000 1 ข คือ 65/200,000,000 2 ค คือ 65/215,000,000 3

ถึงแมวาโครงการ ก จะไดรับคะแนนในดานวัตถุประสงคระยะยาวขององคการในดานการรักษาสวนแบงตลาด หรือการบํารุงรักษาดานเทคโนโลยีที่ต่ํากวาโครงการ ข อยางไรก็ตามโครงการ ก ก็ยังมีความไดเปรียบกวาโครงการ ข และ โครงการ ค ดานวตัถุประสงคในระยะส้ัน ไดแก ความสําเร็จในดานผลิตภัณฑใหมและในดานผลกําไรท่ีจะไดรับเม่ือเปรียบเทียบกับโครงการ ค ในขณะท่ีมีการลงทุนท่ีต่ําเพยีง 100 ลานบาท จึงมีผลตอการไดรับการพิจารณาใหไดรับการคัดเลือก ในขณะท่ีโครงการ ข ไดเปรียบกวาโครงการ ก และโครงการ ค ในดานวัตถุประสงคระยะยาว ไดแก การบํารุงรักษาเทคโนโลยี แตการท่ีโครงการ ข ตองใชเงินลงทุนถึง 200 ลานบาท จึงทําใหโครงการ ข อาจทําใหผูตัดสินใจไมเลือกก็ได สวนโครงการ ค มีวัตถุประสงคท่ีไมไดเปรียบกวาโครงการ ก ดานวัตถุประสงคยอยในระยะส้ันและไมไดเปรียบกวาโครงการ ข ในดานวัตถุประสงคระยะยาว จึงเปนโครงการท่ีขาดความนาสนใจ สําหรับตัวแบบการใหคุณคานีจ้ะมุงเนนการใหความสําคัญกบัวัตถุประสงค ความเปนไปไดของแตละโครงการท่ีจะประสบผลสําเร็จและผูบริหารยังสามารถพิจารณาหลายวตัถุประสงคพรอมกันไดอีกดวย

Page 16: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

104

ตัวแบบการพิจารณาอนุมัติงบประมาณ ตัวแบบการพิจารณาอนุมัติงบประมาณ เปนตัวแบบคัดเลือกโครงการท่ีมีวัตถุประสงคเพื่อจัดสรรเงินทุนท่ีสามารถหามาไดใหแกโครงการตางๆ ตัวอยาง เชน มีโครงการที่ถูกเสนอ ไดแก โครงการ ก ข และ โครงการ ซ่ึงโครงการท้ัง 3 มีทางเลือกในระดับของเงินทุนท่ีตองการสําหรับโครงการท่ีแตกตางกัน 4 ระดับ คือ 0 บาท 100,000,000 บาท 200,000,000 บาท และ 300,000,000 บาท เห็นวาเงินทุนมากก็จะใหผลกําไรมากตามไปดวย หากผูบริหารพิจารณากระจายเงินทุนออกเทาๆ กัน คือ โครงการละ 100,000,000 บาท ใหแกโครงการทั้ง 3 ก็จะใหผลกําไร 100,000,000 บาท 120,000,000 บาท 10,000,000 บาท รวมเปนเงิน 230,000,000 บาท แตถาผูบริหารพิจารณาอนุมัติเงินทุน 300,000,000 บาท ใหแกโครงการ ค โครงการเดียว ในขณะท่ีโครงการอ่ืนๆ จะไมไดรับเงินทุนดังกลาวจะไดรับกาํไร 350,000,000 บาท จงึเปนทางเลือกท่ีผูบริหารจะตองนํามาพจิารณาตัดสินใจ จากตาราง 4.6 ตัวแบบการพิจารณาอนุมัติงบประมาณ ดังนี้ ตารางท่ี 4.6 ตัวแบบการพิจารณาอนุมัติงบประมาณ

เงินทุนท่ีสามารถหามาได คือ 300,000,000 บาท ผลกําไรที่คาดหวัง (บาท)

การจัดสรรเงินทุน ในแตละโครงการ

(บาท) โครงการ ก (บาท) โครงการ ข (บาท) โครงการ ค (บาท)

0 0 0 0

100,000,000 100,000,000 120,000,000 10,000,000

200,000,000 250,000,000 285,000,000 215,000,000

300,000,000 310,000,000 335,000,000 350,000,000 จากตารางท่ี 4.6 แสดงถึงตัวแบบการพิจารณาอนุมัติงบประมาณ พบวา ในการจดัสรรเงินทุนท่ีองคการสามารถหามาได คือ 300,000,000 บาท ซ่ึงการตัดสินใจเลือกโครงการเพื่อใหเกดิประโยชนสูงสุดนั้น ผูบริหารควรพิจารณาจัดสรรเงินทุนใหแก 2 โครงการ ไดแก โครงการ ก จํานวน 100,000,000 บาท ผลกําไรท่ีคาดหวัง คือ 100,000,000 บาท และโครงการ ข จํานวน 200,000,000 บาท ผลกาํไรท่ีคาดหวัง คือ 285,000,000 บาท ทางเลือกนี้จะใหผลกําไรท่ีคาดหวังไวสูงสุด คือ 385,000,000 บาท ในขณะท่ีโครงการ ค จะไมไดรับการจัดสรรเงินทุน เนือ่งจากผลกาํไรทีค่าดหวงัจากโครงการ ค ท่ีจะไดรับนอยกวาโครงการอ่ืนๆ สําหรับผลการจัดสรรเงินทุนและผลกําไร จะเปนดังนี ้

Page 17: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

105

การลงทุนท่ีเหมาะสมเพื่อประโยชนสูงสุด (บาท) ผลกําไรท่ีคาดหวัง (ลานบาท) โครงการ ก 100,000,000 100 โครงการ ข 200,000,000 285 รวม 300,000,000 385

การคัดเลือกโครงการที่ดีที่สุดเปนส่ิงที่สําคัญ สําหรับผูบริหารระดับสูงท่ีจะตองทําการตัดสินใจ ดวยเหตุนี้เทคนิคการคัดเลือกโครงการ ซ่ึงประกอบดวยตัวแบบตางๆ จึงเปนเคร่ืองมือท่ีชวยกล่ันกรอง ชวยประเมินผลขัน้ตน และชวยในการตัดสินใจคัดเลือกโครงการท่ีมีความเหมาะสมที่สุด แตปจจยัท่ีมีความสําคัญก็คือผูบริหารที่ทําการตัดสินใจจะตองมีความสามารถในการเลือกใชตัวแบบในการคัดเลือกโครงการที่เหมาะสมกับวตัถุประสงคกับโครงการนั่นเอง

การวิเคราะหโครงการแบบการใหคะแนนโครงการ การวิเคราะหโครงการแบบการใหคะแนนโครงการเปนการวเิคราะหโครงการแบบใชเกณฑดานตัวเลข (สุภาดา สิริกุตตาและคนอ่ืนๆ, 2543, หนา 104-107) ดังน้ี 1. การวิเคราะหโครงการแบบไมถวงน้ําหนักปจจัยสองทางเลือก เปนการเลือกปจจัยท่ีสําคัญของโครงการเพื่อใชเปนเกณฑในการตัดสินใจระบุโครงการแลวใหผูบริหารระดบัสูงเปนผูใหคะแนน ท่ีมีระดบัคะแนน 0 ถึง 1 โดยพิจารณาวาโครงการนัน้เหมาะสมหรือไม สําหรับการวิเคราะหโครงการแบบไมถวงน้ําหนักปจจัยสองทางเลือกนี้ ผูใหคะแนนจะตองมีความเขาใจถึงวัตถุประสงคและความรูในคุณสมบัติของโครงการเปนอยางดี ตารางท่ี 4.7 การวิเคราะหโครงการแบบไมถวงน้ําหนกัปจจัยสองทางเลือก

ปจจัยท่ีมีผลตอการคัดเลือกโครงการ มีคุณสมบัติตามที่ตองการ ขาดคุณสมบัติตามที่ตองการ 1. ขนาดของตลาด 2. ไมตองจัดหาสิ่งอํานวยความสะดวกเพิ่ม

3. คุณภาพของผลิตภัณฑไมลดลง 4. ไมกระทบตอสิ่งแวดลอม 5. ไมตองหาที่ปรึกษาเพ่ิม

6. ความสอดคลองกับสายผลิตภัณฑเดิม

รวม 4 2

Page 18: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

106

จากตารางท่ี 4.7 แสดงตัวอยางการวิเคราะหโครงการแบบไมถวงน้ําหนกัปจจยัสองทางเลือก พบวา โครงการดังกลาวมีคุณสมบัติตามท่ีตองการ 4 คะแนน สวนขาดคุณสมบัติตามท่ีตองการ 2 คะแนน จากน้ันจึงนําไปเปรียบเทียบกบัโครงการอ่ืน ๆโดยโครงการทีไ่ดคะแนนสูงกวาจะไดรับการคัดเลือกตอไป 2. การวิเคราะหโครงการแบบไมถวงน้ําหนักดวยการใหคะแนน เปนการใหคะแนนปจจัยท่ีมีผลตอการคัดเลือกโครงการ ดวยการใหคะแนนแบบไมถวงน้ําหนกัดวยการยอมรับหรือไมยอมรับ โดยแบงคะแนนออกเปน 5 ระดับ ไดแก โดยคะแนน 5 คะแนนหมายถึงเปนโครงการท่ีดีมาก คะแนน 4 คะแนน หมายถึงเปนโครงการท่ีดี คะแนน 3 คะแนน หมายถึง เปนโครงการท่ีดีปานกลาง คะแนน 2 คะแนน หมายถึงเปนโครงการท่ีไมดี และคะแนน 1 คะแนน หมายถึง เปนโครงการท่ีไมดีเลย หรืออาจแบงออกเปน 10 ระดับก็ได ซ่ึงคลายกับตัวแบบการใหคะแนน 3. การวิเคราะหโครงการแบบถวงน้ําหนัก เปนการประเมินโครงการดวยการกําหนดปจจยัท่ีทําใหโครงการดังกลาวประสบความสําเร็จ โดยกําหนดคะแนนถวงน้าํหนักของแตละปจจัย จากนั้นจึงกําหนดระดบัความสามารถของโครงการต้ังแต .1 ถึง 1.0 แลวหาคะแนนท่ีแทจริงของแตละปจจยัคูณดวยระดับความสามารถของโครงการ ซ่ึงคลายกับตัวแบบการใหคะแนนแบบถวงน้ําหนกั

การวิเคราะหโครงการดานการวิเคราะหสภาพทางการเงิน ในการพิจารณาตดัสินใจเลือกโครงการผูบริหารจะตองพิจารณาและวิเคราะหถึงปจจยัท่ีมีความเกี่ยวของ ไดแก ปจจัยภายนอกองคการและปจจัยภายในองคการ เพื่อใหโครงการเกิดสภาพคลอง มีผลกําไร เกิดตนทุนทางการเงินท่ีเหมาะสมและเกิดความเส่ียงในระดับท่ียอมรับได สําหรับการวิเคราะหโครงการดานการวิเคราะหสภาพทางการเงินนี้ จะทําการศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน การจดัทํางบประมาณเงินสด การวิเคราะหการใชสินทรัพยและเงินทุนในการดําเนินงานและการวเิคราะหงบลงทุน (สุภาดา สิริกุตตาและคนอ่ืนๆ, 2543, หนา 104) ดังนี ้ 1. การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน เปนเคร่ืองมือท่ีใชในการประเมินสถานการณทางการเงินของธุรกิจท่ีสามารถวิเคราะหในดานตางๆ ไดแก สภาพคลองทางการเงิน ประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย ความสามารถในการกอหนี้สินระยะยาว ความสามารถในการทํากําไรของธุรกิจ สําหรับอัตราสวนทางการเงินเปนการแสดงความสัมพันธระหวางขอมูลจากงบการเงิน ไดแก งบดุลและงบกําไรขาดทุน อัตราสวนทางการเงินนี้สามารถอธิบายถึงความสามารถของผูบริหารและผลการดําเนนิงานของธุรกิจไดอีกดวย

Page 19: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

107

อัตราสวนทางการเงินมี 4 กลุม ไดแก อัตราสวนแสดงสภาพคลอง อัตราสวนความสามารถในการใชสินทรัพยหรือการจัดการสินทรัพย อัตราการสวนความสามารถในการกอหนี้ อัตราสวนความสามารถในการทํากําไร (ศิริวรรณ เสรีรัตน และคนอื่นๆ, 2541, หนา 149-156) ดังนี้ 1.1 อัตราสวนแสดงสภาพคลอง (Liquidity ratios) อัตราสวนแสดงสภาพคลอง เปนอัตราสวนท่ีใชวัดสภาพคลองทางการเงินของธุรกิจ เปนการประเมินและช้ีวัด ถึงความสามารถของธุรกิจในการจายชําระคืนหนี้สินหมุนเวียนระยะส้ันไดแก อัตราสวนเ งินทุนหมุนเวียน อัตราสวนเ งินทุนหมุนเวียนเร็ว เ งินทุนหมุนเวียน (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546, หนา 314) ดังนี้ 1.1.1 อัตราสวนเงินทุนหมุนเวียน (Current ratio) อัตราสวนเงินทุนหมุนเวียน คือ อัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนท่ีใชในการวิเคราะหสภาพคลองทางการเงินของธุรกิจ เชน ความสามารถในการชําระหนี้ระยะส้ัน ถาอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนสูงแสดงวาธุรกิจมีความสามารถชําระหนี้สินหมุนเวียนสูง แตถาอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนตํ่าธุรกิจควรจะหาวิธีการจายชําระคืนหนี้สินระยะส้ันท่ีเหมาะสม ไดแก การแปลงหนี้สินระยะส้ันเปนหนี้สินระยะยาว การเพิม่ยอดเงินสดคงเหลือของธุรกจิ การลดการจายเงินปนผล เปนตน 1.1.2 อัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick ratio) อัตราสวนเงินทุนหมุนเวยีนเร็ว คือ อัตราสวนเงินทุนท่ีใชในการวิเคราะหสภาพคลองของธุรกิจ เพ่ือวัดความสามารถในการจายชําระหน้ีระยะส้ัน โดยใชเงินสด หลักทรัพยในความตองการของตลาด ลูกหนีก้ารคา เปนตน ถาอัตราสวนเงินทุนหมุนเวยีนเร็วสูง แสดงวาธุรกิจมีความสามารถในการจายชําระหนี้ระยะส้ันไดรวดเร็ว แตถาอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็วตํ่าจะเพิ่มใหสูง ธุรกิจควรจะหาวิธีการจายชําระคืนหนี้สินระยะส้ันท่ีเหมาะสม ไดแก การชําระหนี้สินหมนุเวยีน เพิ่มเงินสดจากนักลงทุนหรือเปล่ียนหนี้สินระยะส้ันเปนหนี้สินระยะยาว เปนตน 1.1.3 เงินทุนหมุนเวียน (Working capital) เงินทุนหมุนเวยีนเปนการวัดผลตางระหวางสินทรัพยหมุนเวียน และหนีสิ้นหมุนเวียน สําหรับเงินทุนหมุนเวยีนนี้ จะเปนตัวช้ีวาธุรกิจจะมีเงินเหลือจํานวนเทาใดในการจายชําระหนี้สินหมุนเวียนท้ังหมดดวยเงินสด และสินทรัพยหมุนเวียนอ่ืนๆ การพิจารณาถึงจํานวนเงินทุนหมุนเวียนในปริมาณท่ีเหมาะสมน้ัน ข้ึนอยูกับประเภทของธุรกิจ ประสบการณของผูบริหาร องคการท่ีมีเงินทุนหมุนเวียนนอยอาจจะมีการกูยืมเงินเพื่อนาํเงินมาใชในการดําเนินงาน องคการท่ีมีเงินทุนหมุนเวียนมากเกินความตองการ มีแนวทางโดยนําเงินทุนหมุนเวียนสวนเกินไปหาผลตอบแทนจากดอกเบ้ียในชวงระยะเวลาส้ัน

Page 20: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

108

1.2 อัตราสวนความสามารถในการจัดการสินทรัพย (Activity ratios) อัตราสวนความสามารถในการจัดการสินทรัพย เปนอัตราสวนท่ีแสดงถึงประสิทธิภาพในการบริหารสินทรัพยของธุรกิจวามีการหมุนเวยีนมากนอยเพียงใด โดยพิจารณาจากจํานวนคร้ังตอป อัตราสวนความสามารถในการใชสินทรัพย ไดแก อัตราการหมุนเวยีนของสินคา อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้ อัตราการหมุนเวยีนของสินทรัพยรวม อัตราการหมุนเวยีนของสินทรัพยถาวร ระยะเวลาของรอบการดาํเนนิงาน (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546, หนา 314) ดังนี ้ 1.2.1 อัตราการหมนุเวียนของสินคา (Inventory turnover) อัตราการหมุนเวยีนของสินคา คือ จํานวนคร้ังในการจําหนายสินคาคงเหลือของธุรกิจใน 1 ป มูลคาสินคาคงเหลือถัวเฉล่ียคํานวณไดจากมูลคาสินคาคงเหลือตนงวดรวมกับมูลคาสินคาเหลือปลายงวด อัตราการหมุนเวียนของสินคายิ่งสูงแสดงวาธุรกิจมีประสิทธิภาพสูงจากการใชเงินลงทุนในสินคาคงเหลือ แตถาอัตราการหมุนเวียนของสินคาตํ่าธุรกิจควรดําเนินการแกไข เชน การสั่งซ้ือสินคาแตละคร้ังในจํานวน ท่ีนอยแตส่ังซ้ือสินคาใหบอยคร้ัง เปนตน 1.2.2 อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้ (Account receivable turnover) อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้ คือ จํานวนคร้ังท่ีองคการสามารถจัดเก็บหนี้ไดใน 1 ป จากการขายสินคาหรือใหบริการเปนเงินเช่ือ ดังนั้นยอดขายเช่ือจึงเปนยอดท่ีนํามาใชในการคํานวณอัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้ ถาอัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้สูงแสดงวาธุรกิจสามารถจัดเกบ็หนี้จากลูกหนี้ไดเร็ว ถาอัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้ต่ําธุรกิจควรดําเนินการแกไข โดยเรงการจัดเก็บหนี้ท่ีถึงกําหนดแลวแตยังไมมาชําระหนี้และกําหนดระยะเวลาการใหเครดิตแกลูกคาใหแนนอน โดยคาดวาจะชําระหนีไ้ดภายในเวลาท่ีกาํหนด

1.2.3 อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพยรวม (Total assets turnover) อัตราการหมุนเวยีนของสินทรัพยรวมเปนการวิเคราะหเพื่อแสดงใหเห็นถึงความ สามารถในการใชสินทรัพยรวมเพื่อกอใหเกิดรายไดแกธุรกิจวามีมากนอยเพียงใด แทนท่ีจะพิจารณาเฉพาะสินทรัพยถาวรเพยีงอยางเดียว อัตราการหมุนเวยีนของสินทรัพยรวมจะแสดงถึงความคุมคาของสินทรัพยท่ีถูกใชงาน 1.2.4 ระยะเวลาของรอบการดําเนินงาน เปนการพิจารณาถึงระยะเวลาของรอบการดําเนินงานท่ีเกิดจากจํานวนวันท่ีถือสินคาและจํานวนวันท่ีเรียกเก็บหนี ้ซ่ึงแสดงถึงประสิทธิภาพในการเรียกเก็บหนี ้ 1.2.5 อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวร (Fixed assets turnover) อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวรเปนอัตราสวนท่ีแสดงถึง ประสิทธิภาพการใชสินทรัพยถาวรในการดําเนินงานเพื่อกอใหเกดิรายได อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวรยิ่งมีจํานวนคร้ังของการหมุนเวียนมากเทาไรจะแสดงถึงความสามารถในการใชสินทรัพยเพือ่กอใหเกดิประโยชนมากข้ึนเทานั้น หากอัตราการหมุนเวยีนตํ่า ผูบริหารจึงควรพิจารณาตัดสินใจในสินทรัพยถาวรท่ีไมกอใหเกิดประโยชนนั้น โดยการจําหนายหรือใหเชาสินทรัพยดังกลาวเพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพในการใชสินทรัพยท่ีสูงข้ึน

Page 21: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

109

1.3 อัตราการสวนความสามารถในการกอหนี้ (Debt or leverage ratio) อัตราการสวนการจัดหาเงินทุนจากการกูยมืเปนอัตราสวนท่ีแสดงถึง ความสามารถในการกอหนี้ระยะยาวของธุรกจิโดยผูใหกูจะพจิารณาทางดานการเงินของธุรกิจ และพิจารณาจากสัดสวนหนี้สินตอโครงสรางของเงินทุนวาธุรกิจมีความสามารถในการจายชําระดอกเบ้ีย และเงินกองทุนในระยะยาวหรือไมเพื่อตัดสินใจใหธุรกิจกูยมืเงินอัตราสวนความสามารถในการกอหนี้มี 3 ประเภท ดังน้ี 1.3.1 อัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพย (Debt to assets ratio) อัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพย เปนอัตราสวนแสดงโครงสรางเงินทุนของธุรกิจมาจากหนี้สิน และนําสินทรัพยมาลงทุนเปนจํานวนเทาใด เพื่อพจิารณาวาธุรกิจมีความสามารถในการกอหนี้เพ่ิมหรือไม อัตราสวนหน้ีสินตอสินทรัพย ผูบริหารควรพยายามทําใหอัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพยต่ําท่ีสุดเทาท่ีจะทําได ถาอัตราสวนหน้ีสินตอสินทรัพยสูงเกินไปจะเปนการยากท่ีธุรกิจจะกูเงินเพิ่มจากผูใหกู อัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพยสูงธุรกิจสามารถลดได เชน จํากดัวงเงินกูยมืเงินท้ังระยะส้ันและระยะยาว การเพิ่มทุนจากผูถือหุน เปนตน 1.3.2 อัตราสวนหนี้สินตอสวนของเจาของ (Debt-to-equity ratio) อัตราสวนหนี้สินตอสวนของเจาของ เปนอัตราสวนท่ีแสดงโครงสรางเงินทุนของธุรกิจจากการจัดหาเงินทุนมาจากหนี้สินถาธุรกิจมีความสามารถในการจายชําระหนี้สูงธุรกิจก็มีความสามารถในการกอหนี้สูง แตถาอัตราสวนหนี้สินตอสวนของเจาของสูงแสดงวาธุรกิจอยูในสภาพท่ีมีความเส่ียง ดังนั้นแนวทางในการแกไข คือ การลดอัตราสวนดังกลาวใหต่ําลงโดยจายชําระหนี้สินท้ังหมด การเพิ่มเงินลงทุนจากสวนของผูเปนเจาของในธุรกิจ เปนตน 1.4 อัตราสวนความสามารถในการทํากําไร (Profitability ratios) อัตราสวนความสามารถในการหากําไรเปนอัตราสวนท่ีใชวัดความสามารถในการหารายไดจากการดําเนินงานและจากการลงทุนในสินทรัพย ตัวช้ีความสามารถในการทํากาํไร คือกําไรสุทธิหลังหักภาษแีละการใชทรัพยากรทางธุรกจิอยางมีประสิทธิภาพ สําหรับอัตราสวนความสามารถในการทํากําไรมี 4 ประเภท ดังนี้ 1.4.1 อัตรากําไรสุทธิ (Net profit margin) อัตรากําไรสุทธิ คือ อัตราสวนทางการเงินที่แสดงถึงความสามารถของธุรกิจในการขายท่ีกอใหเกิดผลกําไร อัตราสวนกําไรสุทธิสูงดีกวาอัตราสวนท่ีต่ํา ถาอัตราสวนกําไรสุทธิต่ําธุรกิจสามารถเพิ่มใหอัตราสวนสูงข้ึนได เชน การเพ่ิมยอดขาย การลดคาใชจาย เปนตน 1.4.2 อัตราผลตอบแทนตอสินทรัพยรวม (Return on assets) อัตราผลตอบแทนตอสินทรัพยรวม เปนอัตราสวนทางการเงินท่ีใชวัดความสามารถในการทํากําไรจากการลงทุนในสินทรัพยรวมหรืออาจเรียกวา อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน ธุรกิจสามารถเพ่ิมใหอัตราผลตอบแทนดงักลาวใหสูงข้ึน เชน การเพ่ิมยอดขาย การลดคาใชจาย เปนตน

Page 22: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

110

1.4.3 ความสามารถในการจายดอกเบีย้ (Times interest earned) ความสามารถในการจายดอกเบ้ีย เปนอัตราสวนทางการเงินท่ีใชวัดความสามารถในการจายดอกเบ้ียหรือวัดความสามารถในการทํากําไรของธุรกิจเพื่อนําเงินมาชําระดอกเบี้ย อัตราสวนความสามารถในการจายดอกเบ้ียยิ่งมีคาสูงเทาไรยิ่งทําใหธุรกจินั้นมีความสามารถในการกอหนี้เพิ่มไดมากข้ึน 1.4.4 อัตราผลตอบแทนสวนของเจาของ (Return on equity) อัตราผลตอบแทนสวนของเจาของ คือ อัตราผลตอบแทนสวนของเจาของเปนอัตราสวนใชวัดความสามารถในการทํากําไรของผูถือหุน อัตราผลตอบแทนสวนของเจาของสูงดีกวาตํ่า ถาอัตราผลตอบแทนสวนของเจาของธุรกิจสามารถเพ่ิมใหสูงไดโดยการลดคาใชจาย 1.5 อัตราแสดงความเจริญเติบโตของธุรกิจ อัตราแสดงความเจริญเติบโตของธุรกิจ พิจารณาไดจากกําไรตอหุน (Earning per share) เปนอัตราสวนท่ีแสดงถึงธุรกิจวามีความเจริญเติบโตเพียงใดสามารถ กําไรตอหุนเปนผลการดําเนนิงานท่ีแสดงใหเห็นถึงความสําเร็จของธุรกิจ กําไรตอหุนเปนการวัดผลตอบแทนหลังหักภาษีตอหนึ่งหุนสามัญ สําหรับกําไรตอหุนธุรกิจอาจจะไมจําเปนตองวัดกับคาเฉล่ียอุตสาหกรรม เนื่องจากจํานวนหุนสามัญท่ีออกจําหนายอาจมีการเปล่ียนแปลง เชน การแบงแยกหุน การออกหุนปนผล เปนตน โดยท่ัวไปกําไรตอหุนท่ีเพิ่มข้ึนเปนสัญญาณท่ีแสดงถึงความมั่งค่ังของธุรกิจทางหนึ่ง สําหรับผูถือหุนกําไรตอหุนท่ีเพิ่มข้ึนอาจหมายถึง การเพ่ิมหุนสามัญปนผลหรือราคาตลาดของหุนสามัญท่ีเพิ่มข้ึน การหากําไรตอหุน 1.6 อัตราสวนแสดงการวัดมูลคาของธุรกิจ อัตราสวนแสดงการวดัมูลคาของธุรกจิเปนการวัดคาของธุรกิจจากหุนสามัญท่ีมีมูลคาตามบัญชี ตลอดจนความสามารถในการทํากําไร ไดแก มูลคาตามบัญชีตอหุน ราคาตอกําไร เปนตน 2. งบประมาณเงินสด งบประมาณเปนปจจัยท่ีมีความสําคัญตอความสําเร็จของโครงการ โดยงบประมาณแรกสุดในการตัดสินใจในโครงการ คือ การพยากรณงบประมาณรายไดหรืองบประมาณขายข้ึนมากอน เนื่องจากรายไดหรือยอดขายจะเปนแหลง หรือรายการที่ใชในการวางแผนงบประมาณดานคาใชจายตางๆ ท่ีจะเกิดข้ึนตามมา ดังนั้นผูบริหารจะตองนาํงบประมาณดานรายไดและดานรายจายมากําหนดแผนเพื่อท่ีจะสามารถประมาณการถึงการแสวงหาแหลงเงินทุน การจดัสรรเงินทุน การบริหารเงินสดรับ การกําหนดนโยบายการจายเงินสด เปนตน นอกจากนี้โดยเฉพาะอยางยิ่งผูบริหารยังสามารถวิเคราะหถึงสภาพคลองทางการเงินของโครงการวาจะมีเพยีงพอในการดําเนินงานหรือไม หากจําเปนจะตองจดัหาแหลงเงินทุนเพิ่มเติมควรดาํเนินการในชวงเวลาใดจึงจะเหมาะสม เปนตน

Page 23: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

111

3. การวิเคราะหการใชสินทรัพยและเงินทุนในการดําเนินงาน การตัดสินใจในสินทรัพยหมุนเวียนหรือเงินทุนหมุนเวียน ไดแก เงินสด หลักทรัพยในความตองการของตลาด ลูกหนี้หรือสินเช่ือ สินคาคงคลัง เปนตน เปนสินทรัพยท่ีไมกอใหเกิดรายได ผูบริหารสามารถบริหารสินทรัพยหมุนเวียนหรือเงินทุนหมุนเวียนใหเกิดประสิทธิภาพได (ธนิดา จิตรนอมรัตน, 2538, หนา 123-175) ดังน้ี 3.1 การบริหารเงินสด ผูบริหารควรใชหลักการในการบริหารเงินสด คือ การจัดจังหวะเวลาเงินสดรับและเงินสดจายใหสอดคลองกัน พยายามรับเงินสดใหเร็ว พยายามจายเงินสดใหชา กําหนดระเบียบการรับและจายเงินสดของธุรกิจไวใหบุคลากรปฏิบัติ 3.2 การบริหารหลักทรัพยในความตองการของตลาด หลักทรัพยในความตองการของตลาดเปนหลักทรัพยท่ีสามารถเปล่ียนเปนเงินสดไดงายและมีความเส่ียงต่ํา ไดแก ตั๋วเงินคลัง พันธบัตรรัฐบาล ตั๋วเงินระยะส้ันของสถาบันการเงิน เปนตน วิธีการบริหารหลักทรัพยในความตองการของตลาด คือ ธุรกิจควรถือหลักทรัพยท่ีมีความเส่ียงตํ่า อายุส้ันและสามารถเปล่ียนเปนเงินสดไดงาย 3.3 การบริหารลูกหนี้หรือการบริหารสินเชื่อ ในการบริหารลูกหนีห้รือการบริหารสินเช่ือนัน้ ผูบริหารจะตองพิจารณาถึง ผลกําไรกับความเส่ียงท่ีธุรกิจไดรับกับระดับลูกหนี้ท่ีเหมาะสมท่ีธุรกิจควรมี ผูบริหารสามารถกําหนดแนวทางในการบริหารลูกหนีห้รือการบริหารสินเช่ือ ไดแก นโยบายในการกําหนดเง่ือนไขการใหสินเชื่อ ไดแก การกําหนดระยะเวลาของสินเช่ือ นโยบายในการพจิารณาใหสินเช่ือแกลูกคา เปนการวเิคราะหขอมูลของลูกคาแตละรายเพื่อพิจารณาการใหสินเช่ือ นโยบายในการจดัการกบัลูกหนี้ท่ีคางชําระ โดยธุรกจิจะตองเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดเก็บหนี ้แตตองคํานึงถึงความคุมคาใชจายในการจดัเก็บหนีด้วย 3.4 การบริหารสินคาคงคลัง เปนการตัดสินใจของผูบริหารในการควบคุมสินคาคงคลังเพื่อใหมีสินคาในระดับท่ีพอเหมาะและเกิดคาใชจายตํ่าท่ีสุด สําหรับการตัดสินใจ ไดแก ปริมาณการสั่งซ้ือที่เหมาะสม จุดส่ังซ้ือใหม สินคาท่ีมีไวเผ่ือเหลือเผ่ือขาด เปนตน 4. การวิเคราะหงบลงทุน ผูบริหารมีบทบาทท่ีสําคัญในการจัดสรรงบประมาณจายลงทุน เปนหนาท่ีการตัดสินใจของผูบริหารในการลงทุนในสินทรัพย ไดแก สินทรัพยหมุนเวียนหรือเงินทุนหมุนเวียน ซ่ึงเปนการพิจารณาและตัดสินใจเกี่ยวกับระดับเงินทุนหมุนเวียนท่ีเหมาะสมท่ีธุรกิจวาควรจะมี และแหลงเงินทุนท่ีจะจัดหามาใชและสินทรัพยถาวรหรืองบประมาณจายลงทุน ซ่ึงเปนการพิจารณาและตัดสินใจเกี่ยวกับการซ้ือสินทรัพยถาวรท่ีตองใชจายเงินจาํนวนมาก ดงันั้นผูบริหารจะตองพจิารณาถึงความคุมคาในการลงทุนในสินทรัพยถาวรหรืองบประมาณจายลงทุนท่ีเปนสินทรัพยท่ีมีอายุการใชงานเกินกวา 1 ป เนื่องจากเปนสินทรัพยท่ีกอใหเกิดรายได เชน โรงงาน ท่ีดิน เคร่ืองจักร เปนตน

Page 24: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

112

สรุป การตัดสินใจเกี่ยวกบัการจัดลําดับความสําคัญของโครงการบทบาทท่ีสําคัญของผูบริหารระดับสูง เนื่องจากการบรรลุวัตถุประสงคอาจจําเปนจะตองมีหลายโครงการเขามาดําเนินการ ซ่ึงบางโครงการอาจจะมีความสําคัญมากและบางโครงการอาจจะมีความสําคัญนอย รวมท้ังการเปล่ียนแปลงของสภาวะแวดลอมอาจทําใหโครงการท่ีดีอาจไมไดรับการตัดสินใจเลือกกไ็ด ซ่ึงผูบริหารจําเปนตองทําการตดัสินใจวาควรจะเลือกโครงการใด เนือ่งจากองคการมีขอจํากดัดานทรัพยากรตางๆ อยางไรกต็ามผูบริหารควรจะมีหลักเกณฑท่ีใชในการตัดสินใจคัดเลือกโครงการหรือจัดลําดับความสําคัญของโครงการ การคัดเลือกโครงการเปนกระบวนการในการกล่ันกรองโครงการท่ีมีความเหมาะสม เพื่อใชดําเนินการ โดยผูบริหารระดับสูงจะพิจารณาถึงโครงการท่ีเปนทางเลือกและมีความเปนไปไดในทางปฏิบัติท่ีมีการกําหนดเกณฑหรือเง่ือนไขในการประเมินโครงการ ดังนั้นการคัดเลือกโครงการควรใชเทคนิควิธีท่ีสามารถใชงานงาย คาใชจายตํ่าและมีความคุมคาเม่ือเปรียบเทียบกับประโยชนท่ีไดรับ การคัดเลือกโครงการเปนภารกิจท่ีสําคัญท่ีผูบริหารระดับสูงจะตองทําการตัดสินใจ โดยใชเทคนิคหรือตัวแบบเขามาชวยในการประเมินโครงการและตัดสินใจคัดเลือกโครงการท่ีเหมาะสม ซ่ึงในการคัดเลือกขอเสนอโครงการผูบริหารจําเปนตองอาศัยขอมูลจากภายในและภายนอกองคการ รวมท้ังขอมูลเกี่ยวกับความสามารถในดานการเงิน ดานการบริหาร เปนตน นอกจากน้ีผูบริหารและผูบริหารโครงการที่เหมาะสมนั้นควรมีคุณสมบัติท่ีสําคัญ คือ การมีวิสัยทัศนท่ีดีและสามารถบรรลุวัตถุประสงคจากการดําเนินโครงการอยางมีประสิทธิภาพ สําหรับหลักเกณฑในการจัดลําดับความสําคัญของโครงการ ไดแก หลักการตอบสนองนโยบาย หลักการวิเคราะหตนทุนและผลประโยชน หลักการวิเคราะหประสิทธิภาพ หลักการวิเคราะหการนําผลที่ไดไปใชประโยชน เปนตน โดยท่ัวไปปญหาท่ีเกิดข้ึนจากการจัดเตรียมโครงการ เชน ขาดการวิเคราะหถึงปญหาและความตองการของผูรับบริการอยางแทจริง การกําหนดวัตถุประสงคท่ีมีหลายดานเกินไป เปนตน สวนปจจัยแหงความสําเร็จของโครงการ ไดแก ผูบริหารโครงการจะตองมีความรูและความเขาใจในดานภารกิจของโครงการอยางชัดเจน การไดรับการสนบัสนุนและการยอมรับจากผูบริหารระดับสูงและจากผูรับบริการท่ีชัดเจน มีการวิเคราะหถึงสภาวะแวดลอมของโครงการอยางท่ัวถึง เปนตน การวิเคราะหจุดคุมทุนเปนเทคนคิการคัดเลือกและตัดสินใจโครงการ เร่ิมจากผูบริหารโครงการจะทําการประเมินตนทุน หรือคาใชจายในกระบวนการผลิตท่ีสามารถผลิตสินคาออกมาไดตอหนวยของเวลา ซ่ึงการปฏิบัติการหรือดําเนินการผลิตนี้จะเกดิตนทุนคงท่ี (Fixed Cost) ท่ีเปนตนทุนท่ีองคการหรือโครงการจะตองจายในจํานวนท่ีแนนอนตลอดเวลาของการดําเนินโครงการ หรือการผลิต ดังนั้นผูบริหารจึงควรตัดสินใจผลิตในปริมาณท่ีเหมาะสมและเพียงพอเพ่ือใหเกิดตนทุนท่ีต่ําท่ีสุด

Page 25: การคัืดเลอกโครงการfms.vru.ac.th/research/vorapot/text/n4.pdf · บทที่ 4 . การคัืดเลอกโครงการ. การคัดเลือกโครงการเป

113

แบบฝกหัดทายบท

1. การคัดเลือกโครงการมีความสําคัญตอองคการอยางไร จงอธิบาย 2. หลักเกณฑในการจดัลําดบัความสําคัญของโครงการคืออะไร มีข้ันตอนอยางไร จงอธิบาย 3. การประเมินคาโครงการลงทุนนั้นเราสามารถแบงออกไดกีว่ิธี อะไรบาง จงอธิบาย 4. ตัวแบบการคัดเลือกโครงการออก คืออะไร มีแนวทางอยางไรบางจงอธิบาย 5. ตัวแบบดัชนีทางเศรษฐศาสตร คืออะไร มีแนวทางในการคัดเลือกโครงการอยางไร 6. ใหนกัศึกษาการเลือกโครงการ 2 โครงการท่ีมีวัตถุประสงคท่ีคลายกันแลวทําการวเิคราะห โครงการแบบการใหคะแนน 7. การวิเคราะหดานสภาพทางการเงินของโครงการคืออะไร มีการวเิคราะหดานใดบาง จงอธิบาย