gapและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง...

31
เอกสารประกอบการฝกอบรม โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตลําไยปลอดภัยGAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู ณ หองประชุมใหญองคการบริหารสวนจังหวัดลําพูน อ.เมือง จ.ลําพูน วันที่ 27 พฤษภาคม 2555 กลุมสงเสริมและพัฒนาการผลิต สํานักงานเกษตรจังหวัดลําพูน โทร.(053)511120 ตอ 17 โทรสาร .(053)561120

Upload: others

Post on 29-May-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

เอกสารประกอบการฝกอบรม

โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตลําไยปลอดภัยGAPและลําไยอินทรีย ป 2555

เรือ่ง การผลิตลาํไยนอกฤด ูณ หองประชุมใหญองคการบริหารสวนจังหวัดลําพูน อ.เมือง จ.ลําพูน

วันที่ 27 พฤษภาคม 2555

กลุมสงเสริมและพัฒนาการผลิต

สํานักงานเกษตรจังหวัดลําพูน

โทร.(053)511120 ตอ 17 โทรสาร .(053)561120

Page 2: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

สารบัญ

หนา

การผลิตลําไยนอกฤดู 1

การผลิตลําไยจัมโบ 10

ระเบียบปฏิบัติ GAP (Good Agricultural Practice) 13

รายละเอียดแนวทางปฏบัิติ GAP 20

ภาคผนวก 24

แบบคํารองขอใบรับรองฟารมตามระบบการจัดการคุณภาพGAP

แบบบันทึกขอมูลท่ัวไปของเกษตรกร

Page 3: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

การผลิตลําไยนอกฤด ู

ลําไยจัดเปนไมผลท่ีมีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายไดจาก

การสงออกปละไมต่ํากวา 5,000 ลานบาท แหลงผลิตลําไยท่ีสําคัญอยูในภาคเหนือตอนบน ไดแก จังหวัด

เชียงใหม ลําพูน เชียงราย และพะเยา การผลิตลําไยในอดีตเกษตรกรตองรับภาระความเสี่ยงเก่ียวกับการให

ผลผลิตของลําไยเนื่องจากการออกดอกติดผลข้ึนอยูกับความหนาวเย็น หากปใดท่ีมีอุณหภูมิต่ําและหนาวเย็น

ยาวนานลําไยจะออกดอกติดผลมาก ในขณะท่ีบางปอากาศไมหนาวเย็นพอตนลําไยจะออกดอกติดผลนอยทํา

ใหลําไยถูกจัดอยูในกลุมไมผลท่ีมีนิสัยการออกดอกติดผลเวนป ( alternate bearing ) นับตั้งแตป พ.ศ.2541

การคนพบสารโพแทสเซียมคลอเรตดวยความบังเอิญของคนทําดอกไมไฟวามีคุณสมบัติสามารถชักนําการ

ออกดอกของลําไยโดยไมตองพ่ึงพาความหนาวเย็น ทําใหปญหาการออกดอกเวนปลดความสําคัญลง

ในชวงเวลานั้น เกษตรกรสามารถจําหนายผลผลิตไดในราคาสูง จึงมีการขยายพ้ืนท่ีปลูกเพ่ิมข้ึนอยางรวดเร็ว

จาก พ้ืนท่ีปลูก 4 แสนกวาไร ในป พ.ศ. 2541 เพ่ิมข้ึนเปนประมาณ 1 ลานไร ในป พ.ศ.2549 สงผลให

ผลผลิตมากเกินความตองการของตลาดโดยเฉพาะอยางยิ่งผลผลิตลําไยในฤดูกาล มีผลใหราคาผลผลิตตกต่ํา

เกษตรกรประสบกับการขาดทุน กระทรวงเกษตรและสหกรณจึงมีนโยบาย กระจายฤดูกาลผลิตลําไยใหมี

ผลผลิตออกสูตลาดตลอดป โดยสงเสริมใหเกษตรกรผลิตลําไยนอกฤดูมากข้ึน

ทําไมตองผลิตลําไยนอกฤด ู

1.เหตุผลดานราคา

เกษตรกรชาวสวนลําไยทราบดีวาเปาหมายการผลิตลําไยนอกฤดู คือราคาผลผลิต ซึ่งถาจะเทียบไปแลว

ชวงเวลาจําหนายผลผลิตท่ีราคาดีท่ีสุด คือ ชวงเดือน พฤศจิกายนถึงตนเดือนกุมภาพันธ เน่ืองจากตรงกับเทศกาล เชน

วันคริสมาส วันข้ึนปใหมและวันตรุษจีน ชวงท่ีผลผลิตมีราคาถูกท่ีสุด คือ ลําไยในฤดูในชวงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม

เน่ืองจากมีผลผลิตจํานวนมากเขาสูตลาดพรอมกัน ดังน้ันเกษตรกรจึงพยายามบังคับใหลําไยออกดอกใน 2 ชวง คือ ชวง

เดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม เพ่ือใหเก็บเก่ียวในเดือนพฤศจิกายนถึงตนกุมภาพันธ และชวงเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน เพ่ือเก็บ

เก่ียวกอนฤดูคือ เดือน พฤษภาคม-มิถุนายน การบังคับใหออกดอกในเดือนพฤษภาคมถึงกรกฎาคมเกิดปญหาคอนขางมาก

เพราะตรงกับฤดูฝน ตนลําไยจะตอบสนองตอสารโพแทสเซียมคลอเรตไมดีเหมือนการใหสารน้ีในฤดูหนาว ในขณะท่ีลําไยท่ี

ออกดอกในเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน จะกระทบอากาศหนาวทําใหการผสมเกสรไมสมบูรณ ผลออนมักรวงเสียหายไดงาย

ดงัน้ันจึงตองมีการเตรียมตนใหสมบูรณ การกําหนดอัตราสารใหเหมาะสมและศึกษาถึงเทคนิคการผลิตลําไยนอกฤดูในแตละ

ข้ันตอนตลอดจนการเลือกชวงเวลาการผลิตใหตรงกับความตองการของตลาดและใหเหมาะสมกับพ้ืนท่ีจึงจะประสบผลสําเร็จ

Page 4: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

2

2. ลดปญหาการขาดแคลนแรงงานเก็บเกี่ยวผลผลิต

ผลกระทบจากการพัฒนาประเทศไปสูอุตสาหกรรมหนักและการพัฒนาการทองเท่ียวทําใหเกิดการ

เคลื่อนยายของแรงงานจํานวนมากออกจากภาคเกษตรเขาสูในเมือง ทําใหการเกษตรท้ังระบบขาดแคลน

แรงงาน สงผลกระทบตอการผลิตลําไยโดยเฉพาะแรงงานดานเก็บเก่ียว ซ่ึงมีข้ันตอนตั้งแตเก็บเก่ียวผลผลิต

จากตน การลําเลียงผลผลิตสูโรงเรือนหรือท่ีรม การคัดเกรด การบรรจุตะกราซ่ึงแตละข้ันตอนตองอาศัย

แรงงานท่ีมีความชํานาญจํานวนมาก ปญหาการขาดแคลนแรงงานจะรุนแรงมากในชวงการผลิตลําไยในฤดู

3. แนวโนมการแขงขันในตลาดนานาชาติ

เปนท่ีทราบกันดีวาลําไยจากประเทศไทยมีคูแขงท่ีสําคัญในตลาดโลก ไดแก ประเทศ

สาธารณรัฐประชาชนจีนและเวียดนาม ซ่ึงจีนเปนท้ังประเทศคูคาและคูแขง ในระยะเวลา 10 ปท่ีผานมาจีน

เพ่ิมพ้ืนท่ีการผลิตถึง 3 ลานไร ผลผลิตลําไยของจีนออกสูตลาดในชวงเดียวกับของไทย คือ กรกฎาคมถึง

กันยายน ทําใหประสบปญหาคลายกับไทย คือ ผลผลิตในฤดูลนตลาด ราคาตกต่ํา ดวยเหตุนี้แนวทางการ

พัฒนาลําไยของไทยจึงควรมุงเนนท่ีการกระจายตัวของชวงฤดูการผลิตตลอดป การลดตนทุนการผลิตและ

ปรับปรุงผลผลิตใหไดคุณภาพ ในขณะท่ีการปลูกลําไยของจีนยังไมประสบผลสําเร็จในการกระจายฤดูกาลผลิต

หรือการผลิตลําไยนอกฤดู เนื่องจากมีความหนาวเย็นเกินไปในบางชวงของป ทําใหไมสามารถผลิตลําไยตลอด

ปเหมือนไทยได นอกจากนี้เวียดนามซ่ึงเปนคูแขงสําคัญอีกประเทศหนึ่งยังขาดพันธุท่ีมีคุณภาพดี ประเทศไทย

จึงควรพัฒนาลําไยนอกฤดูบนจุดออนเหลานี้ของคูแขง

เง่ือนไขการกําหนดความสําเร็จในการคงความเปนผูนําในดานผูผลิตและผูสงออกในตลาดโลก คือ

การควบคุมผลผลิตใหออกสูตลาดในชวงเวลาท่ีตลาดมีความตองการสูงโดยเฉพาะอยางย่ิงในตลาดโลก

การควบคุมคุณภาพใหดีสมํ่าเสมอและการควบคุมตนทุนการผลิตใหต่ําท้ัง 3 ประการนี้ เปนความทาทายท่ี

ไมใชเรื่องงายแตก็ไมยากเกินไปถามีความเปน “มืออาชีพ” เพียงพอ มืออาชีพท่ีวาคือ

1. สามารถใชสารโพแทสเซียมคลอเรตบังคับไดสําเร็จตลอดปตามชวงจังหวะท่ีตองการโดยไมใชสารในอัตราท่ีสูงเกินไป

2. มีวิธีการควบคุมทรงพุมใหสามารถใชสารเคมีเกษตรไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถลดตนทุนการจัดการและการเก็บเก่ียว

3. มีการวิเคราะหดินและการจัดการธาตุอาหารอยางถูกตองและเหมาะสม 4. มีวิธีการปรับปรุงคุณภาพผลในดานขนาดผลและสีผิวเปลือกใหมีสีเหลืองทอง 5. มีวิธีการจัดการใหผลในชอมีขนาดใหญและสมํ่าเสมอกันท้ังชอเพ่ือลดตนทุนแรงงานคัดบรรจุและ

ลดสัดสวนของผลท่ีตกเกรด

Page 5: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

3

ข้ันตอนการผลิตลําไยนอกฤดูแบง มี ดังนี้

1. ข้ันตอนการเตรียมตน โดยเฉพาะอยางยิ่งการตัดแตงก่ิงและการดูแลยอดใหมใหมีใบสมบูรณ การ ตัดแตงท่ีดีจะมีผลตอปริมาณและคุณภาพผลผลิตตลอดจนตนทุนการผลิต

2. ข้ันตอนการบังคับการออกดอกดวยสารโพแทสเซียมคลอเรต 3. ข้ันตอนการดูแลรักษาเพ่ือใหผลผลิตลําไยไดคุณภาพ 4. ข้ันตอนการเก็บเก่ียวและการปฎิบัติหลังการเก็บเก่ียว

1. การเตรียมตน

การเตรียมความพรอมใหตนลําไยเปนการจัดการเพ่ือกระตุนใหเกิดการแตกใบและก่ิงท่ีสมบูรณให

พรอมสําหรับการออกดอก และไดผลผลิตท่ีมีคุณภาพ การดําเนินงานข้ันตอนนี้จะตองปฏิบัติทันทีภายหลังเก็บ

เก่ียว โดยมีข้ันตอนดังนี้

1.1 การตัดแตงกิ่ง ควรตัดแตงใหไดเร็วท่ีสุดภายหลังการเก็บเก่ียวผลผลิต เพ่ือชักนําใหเกิดการแตก

ก่ิงใหมท่ีสมบูรณ รูปทรงท่ีแนะนํา 2 รูปทรงไดแก

ทรงเปดกลางทรงพุม โดยตัดก่ิงหลักท่ีอยูกลางทรงพุมออก 2 – 5 ก่ิง เพ่ือใหไดรับแสงมาก

ข้ึน จากนั้นตัดก่ิงกระโดงหรือก่ิงน้ําคาง ก่ิงท่ีไมไดรับแสง ก่ิงท่ีไมสมบูรณ และก่ิงท่ีถูกโรคหรือแมลงทําลาย

โดยควรตัดแตงก่ิงใหเหลืออยูประมาณรอยละ 60 ของทรงพุม (ภาพท่ี 1และ 2) ขอดีของทรงเปดกลางพุม

คือ ชวยชะลอความสูงโดยท่ีผลผลิตไมลดลง

ภาพท่ี 1 กอนตัดแตงก่ิง ภาพท่ี 2 ตัดก่ิงกลางทรงพุมออก 2 – 5 ก่ิง

Page 6: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

4

ทรงฝาชีหงาย วิธีตัดแตงก่ิง คือ ตัดก่ิงกลางทรงพุมออกใหหมดเหลือเฉพาะก่ิงท่ีเจริญในแนวนอน

ความสูง 2-3 เมตร (ภาพท่ี 3, 4 และ 5)จากนั้นจะเกิดก่ิงกระโดงข้ึนตามก่ิงจํานวนมาก (ภาพท่ี 6)ภายหลัง

ตัดแตงก่ิงไดประมาณ 5 เดือนสามารถบังคับใหออกดอก(ภาพท่ี 6,7,8 )และเก็บเก่ียวผลผลิตไดภายในปท่ีตัด

แตงก่ิงภายหลังเก็บเก่ียวใหตัดก่ิงกระโดงออกเหลือตอยาวประมาณ 2-5 นิ้ว เพ่ือใหเกิดก่ิงใหม รูปทรงนี้มีขอดี

คือ สามารถควบคุมความสูงใหอยูในระดับเดิมทุกป ผลผลิตท่ีไดมีคุณภาพ ขอควรระวังสําหรับรูปทรงนี้ คือ

ถาลดความสูงลงมากผลผลิตจะลดลงและอาการแตกของเปลือกท่ีก่ิงและลําตน ดังนั้นในปแรกท่ีตัดแตงก่ิงควร

ทําในฤดูฝนและควรลดความสูงไมเกินรอยละ 30 ของความสูงของตนเดิม

ภาพท่ี 3 กอนตัดแตง ภาพท่ี 4 หลังตัดแตง

ภาพท่ี 5 ตัดแตงกิ่งกลางพุมออกใหหมด ภาพท่ี 6 เกิดกิ่งกระโดงในทรงพุมหลังตดัแตง

ภาพท่ี 7 ตนลําไยพรอมท่ีจะชกันําการออกดอก ภาพท่ี 8 การออกดอกของลําไยท่ีตัดแตงทรงฝาชีหงาย

Page 7: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

5

1.2 การใหปุย ควรใหปุยอินทรีย ไดแก ปุยคอก ปุยหมัก อัตรา 10 – 20 กิโลกรัมตอตน

ควบคูกับปุยเคมี ซ่ึงในระยะนี้ตนลําไยตองการธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม คิดเปนสัดสวน

ประมาณ 4:1:3 ดังนั้น สูตรปุยท่ีใชจะเนนหนักธาตุไนโตรเจนและโพแทสเซียมเพ่ือใหงายตอการใชจึงแนะนํา

ปุยเคมีท่ีเกษตรกรนิยมใช คือ สูตร 46-0-0, 15-15-15 และ 0-0-60 อัตราการใชข้ึนอยูกับขนาดทรงพุม

ขอสําคัญควรงดการใหปุยท่ีมีธาตุไนโตรเจนกอนการใหสารโพแทสเซียมคลอเรตอยางนอยหนึ่งเดือนเพราะถา

ไนโตรเจนในใบสูงมีรายงานวาทําใหการออกดอกลดลง

1.3 การปองกันกําจัดโรคและแมลง เพ่ือรักษายอดใหมใหสมบูรณพรอมท่ีจะผลิดอกออก

ผลในฤดูตอไปควรมีการปองกันโรคและแมลงอยางเหมาะสม โดยเฉพาะอยางยิ่งชวงแตกใบออนเนื่องจากตนท่ี

จะชักนําการออกดอกควรแตกใบออนอยางนอย 2 ชุด ใบมีความสมบูรณเปนมันและสีเขียวเขม ปลายยอดตั้ง

แข็ง ดังนั้นในชวงแตกใบออนควรสํารวจการระบาดของโรคและแมลงในแปลงอยางสมํ่าเสมอเพ่ือปองกันกําจัด

ไดอยางมีประสิทธิภาพ หากใบลําไยไดรับความเสียหายมากจะทําใหลําไยฟนตัวไดชาทําใหมีการแตกใบออน

ครั้งท่ีสองชาไปดวย สําหรับแมลงสําคัญท่ีระบาดในชวงแตกใบออนไดแก หนอนคืบกินใบและแมลงคอมทอง

ถาพบการระบาดมากควรพนดวยสารเคมี เชน แลมปดาไซฮาโลทรินหรือคารบาริล สวนไรสี่ขาท่ีเปนสาเหตุทํา

ใหเกิดอาการพุมไมกวาดใหตัดชอท่ีแสดงอาการพุมไมกวาดไปเผาทําลายหรือพนดวยกํามะถันผงหรือ

อามิทราช

2. การบังคับการออกดอกดวยสารโพแทสเซียมคลอเรต

การชักนําการออกดอกเปนข้ันตอนสําคัญ จะตองทําใหตนลําไยออกดอกมากกวารอยละ 70 ของ

ทรงพุมจึงจะไดผลผลิตตอไรสูง การชักนําใหตนลําไยออกดอกโดยสารโพแทสเซียมคลอเรตอยางมี

ประสิทธิภาพ ควรปฏิบัติดังนี้

2.1 เลือกสวนลําไยท่ีตนสมบูรณแตกใบออนอยางนอย 2 ครั้งและอยูในระยะใบโตเต็มท่ี (อายุใบ

25 – 35 วัน) ตนลําไยควรมีการพักตัวหลังการเก็บเก่ียวอยางนอย 4 เดือน ในกรณีท่ีมีการผลิตนอกฤดูมา

กอนควรเลื่อนเวลาการใหสารในปถัดไปออกไปอยางนอย 1 เดือน เชน ปแรกใหสารเดือนมิถุนายน ปถัดไป

ควรใหสารในเดือนกรกฎาคมหรือ สิงหาคม ท้ังนี้เพ่ือใหรากและตนมีระยะเวลาพักฟนนานข้ึน

2.2 ทําความสะอาดบริเวณทรงพุมโดยการกําจัดวัชพืช นําใบลําไยแหงและวัสดุคลุมดินออกจาก

บริเวณทรงพุมหากดินแหงเกินไปควรรดน้ําเล็กนอยในบริเวณทรงพุมกอนราดสารเพ่ือใหการดูดซึมสาร

โพแทสเซียมคลอเรตดีข้ึน แตถาหากดินชุมมากเกินไปตองระบายน้ําออกและปลอยใหดินแหงพอควร

Page 8: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

6

2.3 ตรวจเช็คความบริสุทธิ์ของสารโพแทสเซียมคลอเรต กอนการใหสารควรตรวจเช็คหาความ

เขมขนของสารวามีก่ีเปอรเซ็นตเพ่ือนําไปประกอบการพิจารณากําหนดอัตราการใหสารอยางเหมาะสมเพราะ

ถาใหในปริมาณนอยหรือมากเกินไปจะทําใหการออกดอกลดลงสําหรับอัตราของสารโพแทสเซียมท่ีแนะนําตาม

ขนาดทรงพุม

อัตราการใชสารโพแทสเซียมคลอเรตกับตนลําไยท่ีมีเสนผาศูนยกลางของทรงพุมขนาดตาง ๆ

เสนผาศูนยกลางทรงพุม (เมตร) อัตราการใช (กรัมตอตน) 3 50 – 150 4 100 – 250 5 150 – 400 6 250 – 500 7 300 – 750 8 400 – 1,000 9 500 – 1,250

10 600 – 1,500 (ท่ีมา : พาวินและคณะ 2549)

2.4 วิธีการใหสาร นิยมทํา 2 แบบ คือผสมน้ํารดและแบบหวาน การผสมน้ํารดจะตองละลายสาร

คลอเรตในน้ําใหหมดกอนแลวจึงราด สวนการใหแบบหวาน ควรทําใหสารละเอียดเปนผงกอน การใหแบบ

หวานหรือผสมน้ํารด ควรใหท่ัวบริเวณทรงพุม เพ่ือใหสารกระจายท่ัวทรงพุมและปองกันรากเสียหาย

2.5 การใหน้ํา ควรรดน้ําตามเพ่ือใหสารโพแทสเซียมคลอเรตละลายใหมากท่ีสุด หลังจากนั้นรักษาความชื้น

โดยใหน้ําทุก 3 – 5 วัน เพ่ือใหรากดูดสารเขาสูตนใหมากท่ีสุด ประมาณ 3 – 6 สัปดาหหลังใชสารลําไยจะ

เริ่มแทงชอดอก

2.6 ชวงเวลาท่ีควรหลีกเล่ียงการใชสารคลอเรต ไดแก ฝนตกชุกและระยะท่ีตนลําไยแตกใบออน

3. การดูแลรักษาเพ่ือใหผลผลิตลําไยไดคุณภาพ

3.1 การใหน้ํา ความตองการน้ําหรือปริมาณของน้ําท่ีใหแตละครั้งข้ึนอยูกับปจจัยหลายอยาง เชน

สภาพภูมิอากาศ คุณสมบัติของดิน วิธีการใหน้ําและระยะการเจริญเติบโตของพืช เปนตน ปริมาณการใหน้ํา

ลําไยนั้นอาจคํานวณปริมาณการใชน้ําของลําไยแตละตนตอวัน โดยคํานวณไดจากพ้ืนท่ีทรงพุมคูณกับคาการใช

น้ําจริงตอวัน ซ่ึงความตองการน้ํารายวันแสดงในตารางท่ี 2 เชน ตนลําไยขนาดทรงพุม 3 เมตร ในเดือน

มกราคม ควรใชน้ํา 26 ลิตรตอวัน เปนตน ท้ังนี้การใหน้ําตองคํานึงถึงความสามารถในการอุมน้ําของดิน

ดวย เพราะหากใหน้ํากับดินท่ีอุมน้ําไดนอย เชน ดิน ทราย ในปริมาณท่ีมากกวาดินจะอุมน้ําได น้ําก็จะซึมเลย

เขตรากลําไย ทําใหสิ้นเปลืองและธาตุอาหารอาจถูกชะลางไปอีกดวย

Page 9: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

7

ความตองการน้ํารายวัน (ลิตร) ของลําไยทรงพุมขนาดตาง ๆ (เมตร)

เดือน ความตองการน้ํารายวัน (ลิตร) ตอขนาดทรงพุมลําไย (เมตร)

3 4 5 6 7 8 มกราคม 26 46 71 102 139 182 กุมภาพันธ 36 61 96 108 188 245 มีนาคม 42 74 115 166 226 295 เมษายน 49 86 135 194 264 345 พฤษภาคม 42 74 115 166 226 295 มิถุนายน 34 61 96 138 188 245 กรกฎาคม – ตุลาคม ไมตองใหน้ํา ยกเวนฝนท้ิงชวงยาว พฤศจิกายน 26 46 71 102 139 182 ธันวาคม 23 41 64 92 125 163 ท่ีมา : สมชายและคณะ(2549)

3.2 การใหปุยเคมี อัตราการใหปุยเคมีข้ึนอยูกับปริมาณผลผลิตตอตน เชน ถาตนลําไยติดผลดก

ควรใสปุยปริมาณมากแตถาติดผลนอยควรลดปริมาณลง ปจจุบันนักวิชาการพยายามสงเสริมใหเกษตรกรใหปุย

ตามปริมาณธาตุอาหารท่ีสูญเสียไปกับผลผลิต ดังแสดงในตารางท่ี 5 โดยแบงใส 2 – 3 ครั้งตอฤดูกาลผลิต ใน

ปริมาณเทา ๆ กัน

แสดงปริมาณปุยเคมีท่ีควรใหแกลําไยในระยะติดผลถึงเก็บเก่ียว (กรัมตอตน)

ปริมาณผลผลิตท่ีคาดวาจะได (กิโลกรัมตอตน)

สูตรปุย 46-0-0 15-15-15 0-0-60

50 450 480 440 100 900 960 880 200 1,800 1,920 1,760

ท่ีมา: ยุทธนาและคณะ(2549)

3.3 การปรับปรุงคุณภาพผล ในกรณีท่ีตนลําไยติดผลดกมากกวา 80 ผลตอชอจะเปนสาเหตุ

สําคัญ ทําใหอาหารไมพอเพียงท่ีจะสงไปเลี้ยงผลทําใหผลผลิตดอยคุณภาพ แนวทางการจัดการท่ีไดผลดีคือการ

ตัดชอผลใหเหลือไมเกิน 60 ผลตอชอ การจะตัดชอผลออกมากนอยเพียงใดข้ึนอยูกับความสมบูรณของตน ถา

ตนสมบูรณสามารถไวผลตอชอไดมาก แตถาตนไมสมบูรณควรไวผลตอชอนอย การตัดชอผลควรตัดเม่ือผลมี

ขนาดเทากับเมล็ดถ่ัวเขียว โดยใชกรรไกรตัดตรงกลางชอผล การตัดชอผลชวยทําใหผลลําไยมีขนาดเพ่ิมข้ึน

สามารถจําหนายในราคาสูง ทําใหมีรายไดตอตนมากกวาตนท่ีติดผลดก

Page 10: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

8

ภาพ วิธีการตัดชอผลลําไย

น้ําหนักผล เกรดผลและรายไดตอตนของลําไยท่ีไวจํานวนผลตอชอตางกัน

การไวผลตอชอ

ปริมาณผลผลิต

(กิโลกรัมตอตน)

เกรดผล (รอยละ) รายไดตอตน

(บาท) ใหญ เล็ก

ไมปลิดผล (ไวผล 99 ผล) 61.4 0.0 100.0 350

ไวผล 30 ผลตอชอ 36.6 72.0 28.0 945

ไวผล 60 ผลตอชอ 62.8 82.7 17.3 1,803

ท่ีมา : พาวินและคณะ(2548)

3.4 การปองกันกําจัดโรคและแมลงในชวงติดผล เกษตรกรควรหม่ันสํารวจการระบาดของแมลงในสวนลําไย แมลงท่ีสําคัญพบในชวงออกดอก ไดแก เพลี้ยไฟและไรสี่ขา ถาระบาดอยางรุนแรงควรพนสารฆาแมลงไดเมทโธเอท ในระยะท่ีดอกยังไมบาน แตไมควรพนสารฆาแมลงในชวงดอกบานเนื่องจากอาจจะเปนอันตรายตอแมลงท่ีชวยผสมเกสร ชวงติดผลใหระมัดระวังแมลงปากดูด เชน เพลี้ยหอย เพลี้ยแปง ควรดูแลตั้งแตผลยังเล็กอยู โดยการฉีดพนดวยน้ํามันปโตรเลียมหรือไวทออยล

กอนตดัชอผลชอ หลังตัดชอผล

บริเวณท่ีตดั

Page 11: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

9 3.5 การหอชอผลเพ่ือพัฒนาสีผิว สามารถทําไดถาเกษตรกรมีแรงงานเพียงพอ ตนลําไยไมสูง

จนเกินไป การหอชอผลควรหอหลังจากลําไยตัดชอผลได ประมาณ 3- 4 เดือนหรือมีขนาดเทากับปลายนิ้วกอยและควรหอไวอยางนอย 5-8 สัปดาหกอนการเก็บเก่ียว กอนหอชอผลควรฉีดพนยาปองกันกําจัดศัตรูพืชกอน วัสดุหอท่ีเหมาะสมคือกระดาษหนังสือพิมพหรือวัสดุทึบแสง แตตองไมใชถุงพลาสติก เพราะความรอนท่ีสะสมในถุงจะทําผลรวงได

4. การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว

4.1 วิธีการเก็บเกี่ยว การเก็บเก่ียวควรทําดวยความระมัดระวังโดยใชกรรไกรคมและสะอาด ตัดชอ

ผลหรือใชมือหักชอผลจากตน ควรตัดใหมีใบแรกติดชอผลไปดวย หลังจากนั้นรวบรวมชอผลลําไยใสตะกรา

พลาสติกหรือเขงไมไผท่ีกรุภายในดวยกระดาษหรือกระสอบปุยท่ีสะอาดหรือมีฟองน้ํารองกนตะกราหรือเขง

เพ่ือปองกันมิใหผลกระแทกช้ํา จากนั้นขนยายไปยังโรงเรือนหรือท่ีรมภายในสวนเพ่ือเตรียมบรรจุตะกราเพ่ือ

จําหนาย

4.2 การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว กอนทําการเตรียมผลบรรจุตะกรา เพ่ือการสงออกควรคัดแยกชอ

ผลท่ีเสียหายจากการเก็บเก่ียวหรือมีตําหนิจากโรคและแมลงหรือผลเล็กเกินไปออกกอน จากนั้นตัดแตงชอผล

ใหกานชอยาวไมเกิน 15 เซนติเมตร การคัดเกรดโดยแยกผลท่ีมีขนาดเล็กหรือใหญกวาขนาดผลเฉลี่ยในชอนํา

ผลแตละเกรดมาจัดเรียงในตะกราพลาสติกสีขาว การบรรจุตองอาศัยแรงงานท่ีมีความชํานาญจึงจะจัดเรียง

ตะกราไดสวยและมีขนาดผลในตะกราสมํ่าเสมอ การบรรจุตะกราจะบรรจุประมาณ 11.5 กิโลกรัม ซ่ึงจะ

สงผลตอราคาท่ีจําหนาย ซ่ึงพอคาหรือผูประกอบการจะใชเกณฑตัดสินราคา คือ ขนาดของผล สีผิวและการ

จัดเรียงตะกรา ดังนั้นเกษตรกรจึงควรใหความสําคัญในเรื่องของการคัดเกรดและการจัดเรียงตะกราดวย

หลังจากนั้นจึงจะลําเลียงผลผลิตไปยังจุดรับซ้ือ

ชวงเวลาการใหสารโพแทสเซียมคลอเรตเพ่ือใหเก็บเก่ียวผลผลิตตรงกับเทศกาลท่ีสําคัญของ

ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

เดือนท่ีราด เดือนท่ีเก็บเก่ียว เทศกาล

ปลายกุมภาพันธ-มีนาคม

พฤษภาคม-มิถุนายน

10-30 มิถุนายน

ปลายกรกฎาคมตนสิงหาคม

พฤศจกิายน

กันยายน

ธันวาคม

ปลายมกราคม-ตนกุมภาพันธ

มีนาคม

มิถุนายน

วันชาติจีน

คริสมาส/ปใหม.

ตรุษจีน

เชงเมง

กอนฤดู

ท่ีมา : ศูนยวิจัยและพัฒนาลําไยแมโจและสํานักสงเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตท่ี 6 (ข)(2550)

Page 12: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

10

การผลิตลําไยจัมโบ

ลําไยจัดเปนไมผลเศรษฐกิจท่ีทําการเพาะปลูกแลวท่ัวประเทศ เนื่องจากสามารถบังคับใหออกดอกติด

ผลไดดวยสารโปแตสเซียมคลอเรต แตปญหาท่ีสําคัญประการหนึ่งก็คือ คุณภาพของผลลําไยยังไมไดมาตรฐาน

โดยเฉพาะลําไยท่ีทําการผลิตนอกฤดู หรือผลิตในพ้ืนท่ีท่ีภูมิอากาศไมเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของผลลําไย

ขนาดของผลลําไยเปนปจจัยทางคุณภาพประการหนึ่งท่ีใชในการกําหนดราคาของลําไย ลําไยท่ีมีขนาด

ใหญ (AA หรือ A) จะมีราคาสูงกวาลําไยท่ีมีขนาดเล็ก (B และ C) ประมาณ 10 – 15 บาทตอกิโลกรัม ดังนั้น

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม จึงไดคนควาหาวิธีการในการเพ่ิมขนาดผลของ

ลําไย เพ่ือเพ่ิมมูลคาของผลผลิตลําไยใหแกพ่ีนองเกษตรกรชาวสวนลําไย

บราสซิน เปนกลุมฮอรโมนพืชท่ีมีผลในการกระตุนการทํางานของฮอรโมนออกซิน (สารกระตุนการ

แบงเซลลพืช) ฮอรโมนจิบเบอเรลลิน (สารกระตุนในการยืดตัวของเซลลพืช) และฮอรโมนไซโตไคนิน

(สารกระตุนในการพัฒนาของเซลลพืช) นอกจากนั้นยังมีผลในการยับยั้งการทํางานของฮอรโมนเอทธิลีน

(สารกระตุนการเสื่อมชราของเซลลพืช) ปจจุบันไดมีการนําเอาบราสซินมาใชในการเพ่ิมผลผลิตในพืชหลาย

ชนิด เชน แตงโม (Wang et al., 1993) องุน (Xu et al., 1994) ขาว ขาวโพด ถ่ัวเหลือง ถ่ัวลิสง ฝายและ

พืชน้ํามัน (Chengdu Newsun Biochemistry Co., Ltd., 2003) ชรัสนันทและธนะชัย (2548) พบวาบรา

สซินมีผลในการเพ่ิมขนาดผลของลําไยได ตอมาโครงการสรางฐานขอมูลและพัฒนาบุคลากรดานนาโน

เทคโนโลยีทางการเกษตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม จึงไดพัฒนาสารคลายบราสซินข้ึนมา เพ่ือ

เพ่ิมขนาดผลของลําไยเปนผลสําเร็จในป พ.ศ. 2549

ผลของสารคลายบราสซินตอขนาดของผลลําไยพันธุดอเม่ือผลอายุ 14 สัปดาห หลังติดผล

กรรมวิธี ผลขนาด AA ผลขนาด A ผลขนาด B

(%) (%) (%)

นํ้าเปลา 0.00 c 64.22 b 35.78 a

สารบราสซิน 0.86 b 95.39 a 3.57 b

สารคลายบราสซิน 92.89 a 7.11 c 0.00 c

abc ตัวอักษรท่ีตามหลังคาเฉลี่ยในแถวตั้งเดียวกันท่ีแตกตางกันแสดงวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับความ

เช่ือมั่น 95 % โดยวิธี LSD

Page 13: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

11

วิธีการทําลําไยจัมโบ

ทําไดโดยการฉีดพนสารคลายบราสซินความเขมขน 10 นาโนกรัมตอลิตร จํานวน 2 ครั้ง การฉีดพน

ครั้งท่ี 1 ทําโดยการฉีดพนสารคลายบราสซินใหท่ัวท้ังตน ในระยะท่ีเมล็ดเริ่มเปลี่ยนสี จากนั้นใหฉีดพนครั้งท่ี 2

เชนเดียวกับครั้งท่ี 1 โดยฉีดพนหลังจากการฉีดพนครั้งท่ี 1 แลว 7 – 10 วัน สําหรับการดูแลรักษาผลลําไยให

ดูแลตามปกติท่ีเคยปฏิบัติ และควรดูแลเรื่องการใหน้ําแกตนลําไยเปนพิเศษ เนื่องจากผลลําไยตองการน้ําใน

ปริมาณมากเพ่ือขยายขนาดของผล หากผลมีอาการเปลือกแดงแสดงวาตนลําไยไดรับน้ําไมเพียงพอตอการ

เจริญเติบโตของผล

การเพ่ิมข้ึนของขนาดผลลําไยนี้ จะไมทําใหผลลําไยแตก สีผิวของผลลําไยสวยข้ึน ความหนาของ

เปลือกและเนื้อผลเพ่ิมข้ึน ตลอดจนรสชาติของเนื้อผลไมเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้สารคลายบราสซินในระดับ

นาโนสเกลยังสามารถใชไดในการเพ่ิมผลผลิตของพืชชนิดอ่ืนได เชน มะมวง มะนาว แกวมังกร และ ขาวได

อีกดวย

รูปท่ี 1 ขนาดของผลลําไยท่ีไดรับการฉีดพนดวย

น้ําเปลา

รูปท่ี 2 ขนาดของผลลําไยที่ไดรับการฉีดพนดวยสาร บราสซิน

Page 14: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

12

รูปท่ี 3 ขนาดของผลลําไยที่ไดรับการฉีดพนดวยสาร คลายบราสซิน

หากสนใจขอมูลเพ่ิมเติม ติดตอไดท่ี

ดร.ธนะชัย พันธเกษมสุข

หัวหนาโครงการนาโนเทคโนโลยีทางเกษตร

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม

โทร. 053-944040 ตอ 107

หรือ โทร. 089-8507090

e-mail [email protected]

Page 15: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

13

ระเบียบปฏิบัต ิGAP (Good Agricultural Practice)

ระบบการผลิตลําไยระดับเกษตรกร

Page 16: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

14

Page 17: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

15

Page 18: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

16

Page 19: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

17

Page 20: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

18

Page 21: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

19

Page 22: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได
Page 23: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

ระเบียบปฏิบัติ GAP (Good Agricultural Practice)

ระบบการผลิตลําไยระดับเกษตรกร

1. ขอบขาย

ระเบียบปฏิบัติฉบับน้ี ครอบคลุมระบบการผลิตลําไยในทุกขั้นตอนการผลิตที่ดําเนินการในระดับ

เกษตรกร เพื่อใหไดผลิตผลลําไยที่มีคุณภาพและไดมาตรฐานเปนที่พึงพอใจของคูคาและผูบริโภค

2. นิยาม

-

3. ขอกําหนด เกณฑท่ีกําหนด และวิธีการตรวจประเมิน

ขอกําหนด เกณฑที่กําหนด และวิธีการตรวจประเมินวาเปนไปตามระบบการผลิตลําไยใหเปนไป

ตามตารางที ่3.1

ตารางท่ี 3.1 ขอกําหนด เกณฑที่กําหนด และวิธีการตรวจประเมิน

ลําดับขอกําหนด เกณฑท่ีกําหนด วิธีการตรวจประเมนิ

1. แหลงนํ้า • นํ้าท่ีใช ตองไดจากแหลงท่ีไมมี

สภาพแวดลอมซึ่งกอใหเกิดการปนเปอน

จุลินทรีย สารเคมี และโลหะหนัก

• ตรวจพินิจสภาพแวดลอม หากอยูในสภาวะ

เสี่ยง ใหตรวจสอบและวิเคราะหคุณภาพนํ้า

1. แหลงนํ้าไมอยูใกล หรือไหลผานชุมชน

หรือคอกสัตว หรือโรงเก็บสารเคมี หรือสถานท่ี

ผสมสารเคมีสําหรับพนในสวน หรือโรงงาน

อุตสาหกรรม

2. ไมเปนนํ้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม

หรือกิจกรรมอ่ืน ๆ หากจําเปนตองใช ตองมี

หลักฐานประกอบวาไดผานการบําบัดนํ้าเสีย

มาแลวตามมาตรฐาน

3. หากเปนแหลงนํ้าท่ีจัดทําขึ้นใหม บริเวณท่ี

เปนแหลงนํ้าน้ัน ตองไมมีประวัติเคยเปน

โรงพยาบาล หรือคอกสัตว หรือโรงงาน

อุตสาหกรรมมากอน

4. ใชแผนภูมิ 1 และ 2 Decision tree ความ

เสี่ ยงในการปนเปอนจุลินทรีย ในนํ้าใช ใน

ระหวางกระบวนการผลิต และนํ้าใชในการ

ปฏิบัติหลังการเก็บเก่ียว (หนา 5/8 และ 6/8)

และเอกสารสนับสนุน การประเมินความเสี่ยง

เน่ืองจากการปนเปอน ประกอบการตัดสินใจ

20

Page 24: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

ลําดับขอกําหนด เกณฑท่ีกําหนด วิธีการตรวจประเมนิ

2. พื้นที่ปลูก • ตองเปนพื้นท่ีท่ีไมมีความเสี่ยง เน่ืองจาก

สารเคมี จุลินทรีย และโลหะหนัก ท่ีจะทําใหเกิด

การตกคางหรือปนเปอนในผลิตผล

• ตรวจพินิจสภาพแวดลอม หากอยูในสภาวะ

เสี่ยง ใหตรวจสอบ และวิเคราะหคุณภาพดิน

1. พื้ น ท่ี ป ลู ก ต อ ง ไ ม มี ป ร ะ วั ติ เ ค ย เ ป น

โรงพยาบาล หรือโรงงานอุตสาหกรรม

หรือคอกสัตว หรือโรงเก็บสารเคมี หรือ

สถานท่ีท้ิงขยะมากอน

2. ตองไมใชพื้นท่ีท่ีมีการตรวจพบสารปองกัน

กําจัดศัตรูพืชกลุมออรแกโนคลอรีน (OC)

และ/หรือ กลุมออรแกโนฟอสเฟต(OP)

ในดิน หรือในผลิตผลมากอน

3. ใชแผนภูมิ 3 Decision tree ความเสี่ยง

เน่ืองจากสารพิษตกคางในดิน (หนา 7/8)

ประกอบการตัดสินใจ

4. ปุยเคมีและปุยอินทรียท่ีใชทางดินไมมีธาตุ

โลหะหนัก ปนเปอนอยู เชน แคดเมียม ตะก่ัว

และปรอท เปนตน

5. มีการนําสวนตาง ๆ ของสัตวท่ีไมไดผาน

การหมัก (compost) หรือบม (aging) มาใชเปน

ปุย ใชแผนภูมิ 4 Decision tree ความเสี่ยงในการ

ปนเปอนจุลินทรียเน่ืองจากปุย และสารเสริม

ประสิท ธิภาพปุ ย (หน า 8 /8 ) และ เอกสา ร

สนับสนุน การประเมินความเสี่ยงเน่ืองจากการ

ปนเปอน ประกอบการตัดสินใจ

3. การใชวัตถุอันตราย

ทางการเกษตร

• การใชวัตถุอันตราย ใหใชตามคําแนะนํา

หรืออางอิงคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร

กระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือตาม

คําแนะนําในฉลากท่ีขึ้นทะเบียนกับกรมวิชาการ

เกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ

• ตองใชสารเคมีใหสอดคลองกับรายการ

สารเคมีท่ีประเทศคูคาอนุญาตใหใช

• หามใชวัตถุอันตรายท่ีระบุในทะเบียนวัตถุ

อันตรายทางการเกษตรท่ีหามใช

• ตรวจสอบสถานท่ีเก็บรักษาวัตถุอันตรายทาง

การเกษตร (รายละเอียดภาคผนวก ก ขอ 1.3)

• ตรวจบันทึกขอมูลการใชวัตถุอันตรายทาง

การเกษตร เปรียบเทียบกับเอกสารสนับสนุน

วัตถุอันตรายทางการเกษตรท่ีประเทศคูค า

อนุญาตใหใชไดสําหรับลําไย และสุมตัวอยาง

วิเคราะหสารพิษตกคางในผลิตผลกรณีมีขอ

สงสัย

21

Page 25: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

ลําดับขอกําหนด เกณฑท่ีกําหนด วิธีการตรวจประเมนิ

4. การเก็บรักษาและ

การขนยายผลิตผลใน

ฟารม

• สถานท่ีเก็บรักษาตองสะอาด มีอากาศถายเท

ไดดี สามารถปองกันการปนเปอนจากวัตถุ

แปลกปลอม วัตถุอันตราย และสัตวพาหะนําโรค

• อุปกรณและพาหนะในการขนยายตอง

สะอาดปราศจากการปนเปอนสิ่งอันตรายท่ีมีผล

ตอความปลอดภัยในการบริโภค

• ตองขนยายผลิตผลอยางระมัดระวัง มิใหเกิด

รอยช้ํา

• ตรวจพินิจสถานท่ี อุปกรณ ภาชนะบรรจุ

ขั้นตอน และวิธีการขนยายผลิตผล

5. การบันทึกขอมูล • ตองมีการบันทึกขอมูลท่ีเก่ียวกับการใชวัตถุ-

อันตราย

• ตองมีการบันทึกขอมูลการสํารวจศัตรูพืช

และการปองกันกําจัด

• ตองบันทึกแหลงท่ีมาของปจจัยการผลิต

• ตองมีการบันทึกการจัดการใหไดคุณภาพ

• ตรวจบันทึกขอมูลของเกษตรกรตามแบบ

บันทึกขอมูล

6. ผลิตผลผิวสวย

ปลอดจากศัตรูพืช

• สํารวจการเขาทําลายของศัตรูลําไย เพื่อ

ปองกันกําจัดศัตรูพืชไมใหเกินคากําหนดดังน้ี

เพลี้ยหอยและเพลี้ยแปง ชอผลถูกทําลาย

เกิน 10%

ผีเส้ือมวนหวาน ชอผลถูกทําลายเกิน 10%

โรคผลเนา พบอาการโรคผลเนา 1 ชอผล

• ผลผลิตท่ีเก็บเก่ียวตองปราศจากรองรอยการ

เขาทําลายของศัตรูพืช และ/หรือมีศัตรูพืชติดอยู

กับผลิตผล ถาพบตองคัดแยกออก

• ตรวจบันทึกขอมูลการสํารวจศัตรูลําไยและ

การปองกันกําจัด

• ตรวจพินิจผลการคัดแยก

7. การจัดการกระ-

บวนการผลิตเพื่อให

ไดผลผลิตคุณภาพ

• ทําการผลิตภายใตระบบการจัดการคุณภาพ :

GAP ลําไย และปฏิบัติตามแผนควบคุมการผลิต

อยางเครงครัด

• ตรวจบันทึกตามแผนควบคุมการผลิต

8. การเก็บเกี่ยวและ

การปฏิบัติหลังการ

เก็บเกี่ยว

• เก็บเก่ียวลําไยในระยะเก็บเก่ียวท่ีเหมาะสม

ของแตละพันธุ

• อุปกรณท่ีใชในการเก็บเก่ียว ภาชนะบรรจุ

และวิธีการเก็บเก่ียวจะตองไมกอใหเกิดอันตราย

ตอคุณภาพ และปนเปอนสิ่งอันตรายท่ีมีผลตอการ

บริโภค

• คัดแยกผลท่ีมีอายุออนเกินไปแยกไว

ตางหาก คัดแยกลําไยท่ีเสียหายจากการเก็บเก่ียว

หรือมีตําหนิจากการเขาทําลายของสัตรูพืช หรือ

มีศัตรูพืชติดมาดวย หรือท่ีไมไดคุณภาพตาม

ความตองการของตลาด แยกไวตางหาก

• ตรวจพินิจสถานท่ี อุปกรณ ภาชนะบรรจุ

ขั้นตอน และวิธีการขนยายผลิตผล

• ตรวจพินิจอุปกรณ ภาชนะบรรจุ และวิธีการ

เก็บเก่ียว

22

Page 26: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

ลําดับขอกําหนด เกณฑท่ีกําหนด วิธีการตรวจประเมนิ

• สถานท่ีเก็บรักษาตองสะอาด มีอากาศถายเท

ไดดี สามารถปองกันการปนเปอนจากวัตถุ

แปลกปลอม วัตถุอันตราย และสัตวพาหะนําโรค

• อุปกรณและพาหนะในการขนยายตอง

สะอาดปราศจากการปนเปอนสิ่งอันตรายท่ีมีผล

ตอความปลอดภัยในการบริโภค

• ตองขนยายผลิตผลอยางระมัดระวัง มิใหเกิด

รอยช้ํา

• ตรวจพินิจผลิตผลหลังเก็บเก่ียว และผลการ

คัดแยก

23

Page 27: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

ภาคผนวก

24

Page 28: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

แบบ GAP-01

แบบคํา รองขอใบรบัรองฟารมตามระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช

เกษตรกรเจาของแปลง ช่ือ (นาย/นาง/นางสาว)…………………………นามสกุล……………................................

ที่อยู (บานเกษตรกร) เลขที…่…………หมูที…่………….ถนน……………………ตํา บล………………………….

อํา เภอ…………………จังหวัด………………รหัสไปรษณีย……………………….โทรศัพท…………................

ที่ตั้งแปลง เลขที…่……….หมูที…่…………ถนน…………………………ตํา บล………………………………...

อํา เภอ…………………จังหวัด………………รหัสไปรษณีย……………………….โทรศัพท…………................

ช่ือพืช……………………………………………………พ้ืนที…่……………………………………………….ไร

จํา นวนตน (เฉพาะอายุยาวหรือไมผล)…………………ตน อายุพืช (เฉพาะอายุยาว)…………………………….ป

ระยะเวลาการใสปุย (เดือน)……… การออกดอก (เดือน)………. การเก็บเก่ียว (เดือน)………. การขาย (เดือน)………..

แผนท่ีตั้งแปลง แสดงเสนทางคมนาคมและสถานท่ีสํา คัญในบริเวณใกลเคียงเพื่ออํา นวยความสะดวกในการเดินทาง

ไปยังแปลง

(สํา หรับเจาหนาท่ี)

เลขประจาํ ตัวเกษตรกร ��� �����

เลขประจาํ แปลง ��� ��� �����

หมายเหตุ 1. แบบฟอรมใชสํา หรับ 1 พืช 1แปลง

2. แนบ - สํา เนาบัตรประจํา ตัวประชาชน

- สํา เนาทะเบียนบาน

สํา นักวิจัยและพฒันาการเกษตร เขตท่ี 1

ทิศเหนือ

Page 29: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

ขอมูลท่ัวไปของเกษตรกร

เจาของแปลงชื่อ นาย / นาง / นางสาว..........................................นามสกุล.......................................................

หมายเลขบัตรประชาชน.....................................................................รหัสแปลง.......................................................

บานเลขท่ี................หมูท่ี....................ตําบล...............................อําเภอ...............................จังหวัด.........................

รหัสไปรษณีย...............................โทรศัพทบาน........................................โทรสาร....................................................

โทรศัพทมือถือ.............................................

ท่ีตั้งแปลงเลขท่ี...............หมูท่ี................ตาํบล..............................อําเภอ...........................จังหวัด..........................

รหัสไปรษณีย..........................

ขอมูลแปลง

ชนิดพืชท่ีปลูก...............................พันธุ................................ระยะปลกู..........................จํานวนตน.........................

ตอพ้ืนท่ีปลูก........................ไร

ชนิดพืชท่ีปลูก...............................พันธุ................................ระยะปลกู..........................จํานวนตน.........................

ตอพ้ืนท่ีปลูก........................ไร

ชนิดพืชท่ีปลูก...............................พันธุ................................ระยะปลกู..........................จํานวนตน.........................

ตอพ้ืนท่ีปลูก........................ไร

ชนิดพืชท่ีปลูก...............................พันธุ................................ระยะปลกู..........................จํานวนตน.........................

ตอพ้ืนท่ีปลูก........................ไร

ระบบนํ้าท่ีใช............................................................................................................................................................

ประเภทดิน ..............................................................................................................................................................

ประวัติการแพรระบาดของศัตรูพืช

ชื่อศัตรูพืช................................ปท่ีระบาด....................การกําจัด............................................................................

ชื่อศัตรูพืช................................ปท่ีระบาด....................การกําจัด...........................................................................

ขอมูลอ่ืนๆ.................................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................................................

Page 30: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได
Page 31: GAPและลําไยอินทรีย ป 2555 เรื่อง การผลิตลําไยนอกฤดู · ลําไยจัดเป นไม ผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศสามารถทํารายได

แบบบันทึกของเกษตรกร ช่ือ...............................................................พืช...............................................พ้ืนท่ีปลูก................................................รหัสแปลง.......................................................

วัน/เดือน/ป งานท่ีปฏิบัติ ปุย, ฮอรโมน, สารบํารุงดิน สารปองกันกําจัดศัตรูพืช

หมายเหต ุชื่อสาร อัตราท่ีใช ชื่อสาร อัตราท่ีใช