golden tulip28nov2555

27
แนวทางการศึกษา และ พัฒนาระบบ โรงไฟฟาชุมชน พลังงานความรอนแสงอาทิตย แบบยั่งยืน สําหรับราชอาณาจักรไทย เรื่อง แนวทางการศึกษา และ การพัฒนา Solar Collector System, Low Pressure Turbine, Multifunction Tank โดย นายสุรวุฒิ สนิทวงศ ณ อยุธยา ที่ปรึกษา อนุกรรมาธิการ พิจารณาศึกษาศักยภาพ และ ความคุมคาของพลังงานแสงอาทิตย ของราชอาณาจักรไทย, คณะกรรมาธิการ การพลังงาน วุฒิสภา รวมกับ กระทรวงพลังงาน, กระทรวงวิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี, กระทรวงอุตสาหกรรม วันพุธที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรมโกลเดน ทิวลิป ซอฟเฟอริน กรุงเทพมหานคร

Upload: jack-wong

Post on 20-Jun-2015

91 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Golden tulip28nov2555

แนวทางการศึกษา และ พัฒนาระบบ โรงไฟฟาชุมชน

พลังงานความรอนแสงอาทิตย แบบยั่งยืน

สําหรับราชอาณาจักรไทย

เรื่อง แนวทางการศึกษา และ การพัฒนาSolar Collector System, Low Pressure Turbine, Multifunction Tank

โดย

นายสุรวุฒิ สนิทวงศ ณ อยุธยา

ที่ปรึกษา อนุกรรมาธิการ พิจารณาศึกษาศักยภาพ และ ความคุมคาของพลังงานแสงอาทิตย

ของราชอาณาจักรไทย, คณะกรรมาธิการ การพลังงาน วุฒิสภา

รวมกับ

กระทรวงพลังงาน, กระทรวงวิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี, กระทรวงอุตสาหกรรมวันพุธที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๕

ณ โรงแรมโกลเดน ทิวลิป ซอฟเฟอริน กรุงเทพมหานคร

Page 2: Golden tulip28nov2555

ความเปนมา

ราชอาณาจักรไทย ตั้งอยูใกลเสนศูนยสูตร ในเขตรอนชื้น ซึ่งดเูสมอืนวามีคาพลังงานแสงอาทิตยอยูมาก แตเนื่องจากมคีวามชื้นในอากาศสูง และ ความชื้นเหลานัน้ ไดดดูซับพลังงานแสงอาทิตยไปเปนจํานวนมาก ทําใหราชอาณาจักรไทย มคีาความเขมของรังสีตรงแสงอาทิตยเพียง 500-550 w/m2 (ความเขมแสงปานกลาง) แทนที่จะเปน 900 – 1,000 w/m2 (ความเขมแสงสูง) อยางในประเทศที่อยูในเขตทะเลทราย

การออกแบบระบบพลังงานความรอนแสงอาทิตย สําหรบัราชอาณาจักรไทยใหทํางานไดอยางมปีระสิทธิภาพสูงสุด มคีวามจําเปนตองออกแบบระบบ ใหเหมาะสมตอสภาพแวดลอม, คาพลังงานแสงอาทิตย และ วตัถดุิบ ที่มีอยูในทองที่จะนําอุปกรณ และ เครื่องจักร ที่ถูกออกแบบสําหรับสภาพแวดลอม, คาพลังงานแสงอาทิตย และ วัตถุดิบ ของทองที่อื่นมาใชไมได

จึงไดมกีารศึกษา และ การพฒันา Solar Collector System, LowPressure Turbine, Multifunction Tank ขึ้นเพื่อใหเหมาะสมตอสภาพแวดลอม, คาพลังงานแสงอาทิตย และ วัตถุดบิ ในราชอาณาจักรไทย

Page 3: Golden tulip28nov2555

ภาระกิจ

พัฒนา แกไข ปรับปรงุ และ จัดสราง เทคโนโลยโีรงไฟฟาพลังงานความรอนจากแสงอาทิตย เพื่อใหเหมาะสมตอสภาวะแวดลอมของลูกคาแตละประเทศ ในเขตรอนชืน้ที่มีความเขมรังสีตรงจากดวงอาทิตย ปานกลาง, ดินออนนุม เพื่อใหไดระบบที่มีความเสถียร สามารถแขงขันในเชิง ราคาตนทุน, ราคาคาไฟฟา, ราคาคาบํารุงรักษา และ เปนมติรตอสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน

Page 4: Golden tulip28nov2555

วัตถุประสงค

๑. โรงไฟฟาชุมชนที่มีเสถียรภาพ สามารถใชงานรวมกบัเชื้อเพลิงชุมชนได๒. ใชเทอรไบรขนาดเล็ก ที่สามารถผลิตไดในประเทศ ใชกับอุณหภูมิ และ แรงดันไอน้ําต่ํา สามารถขยายกาํลังการผลิตไดโดยระบบโมดูล๓. สามารถทํางานดวยความรอนจากแสงอาทิตยไดไมต่ํากวา ๑๒ ชั่วโมง๔. ใชวิศวกรไทย และ ชิ้นสวน ภายในประเทศไมต่ํากวา ๘๕ %๕. ใชอินดักชัน่มอเตอร แทนการใชซินโครนสัเจนเนอเรเตอร เพื่อใหการตอ เขากับระบบของการไฟฟา ทําไดงายขึ้น๖. ระบบโครงสราง ระบบสะทอนพลังงาน และ ตัวรับพลังงาน ผลิตขึ้นใน ราชอาณาจักรไทย

Page 5: Golden tulip28nov2555

ปญหา และ อุปสรรคระบบพลังงานแสงอาทิตย ที่ผานมาในอดีตมีปญหา และ อุปสรรค ดังนี้

๑. มีระยะเวลาทํางานที่สั้น ประมาณ ๔ – ๕ ชั่วโมง ทั้งที่มีระยะเวลาแสงแดดคอนขางมาก

๒. ไมสามารถทํางานได ๒๔ ชั่วโมง ดวยพลังงานแสงอาทิตยเพียงอยางเดียว

๓. พลังงานทดแทนบางตัวกอใหเกิดมลภาวะ

๔. ตองพึ่งพาองคความรูจากตางประเทศ

๕. ตองนําเขาอุปกรณ และ เครื่องจักร ที่มีราคาแพงจากตางประเทศ ทําใหไมคุมคาตอการ

ลงทุน

๖. คาพลังงานแสงอาทิตยต่ํากวามาตรฐาน เพราะมีความชื้น และ เมฆมาก

๗. การออกแบบที่ใชคาการออกแบบไมเหมาะสมทําใหระบบมีประสิทธิภาพต่ํา

๘. ควรเลือกประเภทของระบบใหเหมาะตอภูมิประเทศ Solar Dish, Solar Trough,

Solar Tower, Compact Linear Fresnel Reflector (CLFR)

๙. ระเบียบ, กฎเกณฑ และ การสงเสริม ของรัฐ ที่ไมเหมาะสม และ เอื้ออํานวยตอโครงการ

๑๐. ตองขอรับเงินสนับสนุนจากทางรัฐบาล เปนการเพิ่มราคาของคาไฟฟา

Page 6: Golden tulip28nov2555

ขอเปรียบเทียบ ใชเนื้อที่ไดประสิทธิผลสูงสุด, เปนระบบพลังงานความ

รอนแสงอาทิตยที่มีราคาต่ําที่สุด

ราคาคาที่ดินต่ํา และ คาปรับปรุงพื้นที่นอยกวา

สามารถติดตั้งไดในพื้นที่ราบ และ ลาดเอียงไมเกิน 3 %

เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เพราะไมใชน้ํามันถายเทความ

รอนในระบบ และ มีเงานบังระบบนอยกวา

งายตอการติดตั้ง, งายตอการควบคุม, งายตอการซอม

บํารุง คาบํารุงรักษาต่ํา

สามารถขยายกําลังผลิตไดงาย โดยการเพิ่มเทอรไบร

และ เครื่องกําเนิดไอน้ํา

CSP Reference Plant @ 1,000 w/m2

1 MW = 12,800 Sqm = 8 Rai= 1.3 Hectares

Rais SqmSolar Cell 16 25,600Thin Film 24 38,400Solar Trough 12 19,200CLFR 8 12,800 Solar Tower 16 25,600

Page 7: Golden tulip28nov2555

ขอเปรียบเทียบระบบพลังงานแสงอาทิตย

Technology Owner USD/m2 Overalleff

Effectivecost

Seasonalvariation

Photovoltaic 80 10 800 1:2.5 Trough SEGSVI 250 14 1430 1:5 Trough EURO 206 12 1470 1:5 CLFR AUSRA 110 10 1100 1:5

Jack Wong 100 15 1500 1:5Redressable Trough

Xiao50 20 250 1:2.5

Tower DPT1200 150 24 350 1:7Dish Stirling SOLO 150 29.5 200 1:8Dish Turbine Jack Wong 80 35 180 1:8

Page 8: Golden tulip28nov2555

CLFR Trough

Area 1 1.5

Solar Receiver Linear Multi Tube

Method HTF Direct Steam

Tracking Power Lowest Medium

Structure Lightest Medium

Pipe Length Shortest Long

Insulator Min Moderate

Heat Losses Lowest Medium

Universal Joint Leakage None Yes

Receiver Glass Break None Yes

Reflector Twisting None Yes

Operation Time hrs 12 6

Minimum Working Insolation

500 650

Price Lowest Medium

CLFR Chonburi, Thailand

Karnchanaburi, Thailand

การเปรียบเทียบ CLFR VS Trough

Page 9: Golden tulip28nov2555

การแกไขการแกไขระบบพลังงานแสงอาทิตยในราชอาณาจักรไทยเพื่อความยั่งยืน

๑. เพิ่มพื้นที่รับพลังงานใหมากขึ้น

๒. ใชถังที่สามารถทําหนาที่ไดหลายหนาที่ (Multifunction Tank)

๒.๑ เก็บพลังงานความรอน เพิ่อยืดระยะเวลาการทํางานของระบบใหยาวนานขึ้น

๒.๒ ทําใหกระแสไฟฟาไมกระโชค เมื่อมีเมฆบังระบบ

๒.๓ เปนเครื่องกําเนิดไอน้ํา

๒.๔ สามารถใชเชื้อเพลิงชุมชนไดเพื่อใหสามารถทํางานได ๒๔ ชั่วโมง โดยมีมลภาวะต่ําที่สุด

๓. ลดความยาวทอลงใหไดมากที่สุด เพื่อลดการสูญเสียพลังงาน (ความรอน, แรงเสียดทาน)

๔. ใชระบบรางสะทอนพลังงานแสงอาทติยหลายราง เขาสูหัวรับพลังงานเดี่ยว (CLFR) แทนการใชราง

สะทอนพลังงานแสงอาทติยรางเดี่ยว เขาสูหัวรับพลังงานเดี่ยว (Parabolic Trough) เพื่อลดการ

สูญเสียพลังงาน และ ใชพลังงานในการติดตามดวงอาทิตยต่ํา

Page 10: Golden tulip28nov2555

การแกไข

๕. มีระบบควบคุมที่ฉลาด และ วองไวในการทํางาน สามารถสื่อสารกับโลกภายนอกได

๖. ออกแบบ และ พัฒนา ระบบดวยคนไทย

๗. พยายามจัดหา และ สราง อุปกรณ, เครื่องจักร และ ชิ้นสวน ในประเทศใหไดมากที่สุด

๘. ใชคาการออกแบบใหเหมาะสมตอสภาพภูมิอากาศของทองที่นั้นๆ

๙. แกไข ระเบียบ, กฎเกณฑ และ การสงเสริม ของรัฐ ที่เหมาะสม และ เอื้ออํานวยตอโครงการ

๑๐. หากเปนไปได ถาตนทนุการผลิตลดลง อาจไมจําเปนตอง ขอรับเงินชดเชย จากทางรัฐบาล ทาํให

ไมตองขึ้นราคาคาไฟฟา

Page 11: Golden tulip28nov2555

ไดอะแกรมพื้นฐาน

Page 12: Golden tulip28nov2555
Page 13: Golden tulip28nov2555

15

16

1. สายพานแยกขยะ2. เครื่องบดขยะ3. ประตูรับขยะ4. ยอเก็บขยะ5. หองควบคุม6. เครนปอนขยะ7. เตาเผาขยะระบบ VCI8. ระบบนําเถาออกอัตโนมัติ

9. หมอไอน้ํา10. เครื่องผลิตไฟฟา11. เครื่องควบแนน12. หอระบายความรอน13. ถังพักน้ํา14. เครื่องบําบัดกาซแบบเปยก15. เครื่องผลิตกาซไฮโดรเจน16. Compact Linear Fresnel Reflector

CLFR, Water (H2), ระบบเตาเผาขยะ

Page 14: Golden tulip28nov2555

การศึกษา และ พัฒนา

๑. ระบบดูดรับพลังงาน Solar Collector System

๒. เทอรไบร แรงดันต่ํา Low Pressure Turbine

๓. ระบบถังอเนกประสงค Multifunction Tank System

๔. การออกแบบโครงสราง Structure

Page 15: Golden tulip28nov2555

ระบบดูดรับพลังงาน Solar Collector

ในอดีตหลอดรับพลังงานแสงอาทิตย (Solar Collector Tube) ตัวสะทอนพลังงานแสงอาทิตย(Solar Reflector) ตองนําเขาจากตางประเทศ เพราะ ไมสามารถผลิตไดเองในประเทศ

ในปจจุบันหลอดรับพลังงานแสงอาทิตย (Solar Collector Tube) บางประเภท, ตัวสะทอน

พลังงานแสงอาทติย (Solar Reflector) ทัง้โครงสราง และ แผนกระจก สามารถผลิตไดเองในประเทศ ถึง

จะมีประสิทธิภาพไมสูงมาก แตก็คุมคาตอการลงทุน เพราะมีราคาต่ํา และ อายุการใชงานคงทน สามารถ

ทําอุณหภูมิ และ ความดัน ไดเฉลี่ย 450 C 450 PSI

Page 16: Golden tulip28nov2555

Solar Linear Receiver SpecificationSurface Emittance ε 0.03Surface Absorption αr

0.87Specular Reflectance ρ 0.95Transmittance of Glass Cover τg 0.90Max. Temperature C 600Max. Working Pressure PSI 400Insulation Thermal Conductivity W/mK 0.05Min. Direct Insolation 400 W/m2

Max. Direct Insolation 1,100 W/m2

Max. Wind Speed 160 Km/hrOverall Efficiency 80 %

Page 17: Golden tulip28nov2555

เทอรไบร แรงดันต่ํา Low Pressure Turbine

เนื่องจากคาพลังงานแสงอาทิตยของราชอาณาจักรไทยมคีาปานกลาง 550 w/m2 จึงไม

สามารถผลิตความรอนไดสูงมาก หากเลือกใชเทอรไบร ที่ใชแรงดนัไอน้ําสูง จะทําไดยาก จึงมี

ความจําเปนที่จะตองใช เทอรไบร ที่ใชแรงดนัไอน้ําต่ํา แทน (180 C @ 150 PSI) อกีทั้งเทอรไบร ขนาดเล็กสวนมากจะมีราคาสูงมาก ไมคุมคาตอการลงทุน และ ตองนําเขาจากตางประเทศ

ปจจุบันไดมีการศึกษา และ พัฒนา เทอรไบร ที่ใชแรงดันไอน้ําต่ํา ขนาดเล็ก 10, 50, 100,

250, 350 kW ซึ่งมีราคา และ อายุการใชงาน ที่คุมคาตอการลงทุน

Page 18: Golden tulip28nov2555

Low Pressure Turbine Version 1

Page 19: Golden tulip28nov2555

Low Pressure Turbine Version 2

Page 20: Golden tulip28nov2555

Low Pressure Turbine Version 3

Page 21: Golden tulip28nov2555

Low Pressure Turbine Version 4

Page 22: Golden tulip28nov2555

ระบบถังอเนกประสงค Multifunction Tank

การที่ใชถังที่สามารถทําหนาที่ไดหลายหนาที่ มีขอดีดังตอไปนี้

๑. ลดตนทุนการผลิต

๒. สูญเสียพลังงานนอยมาก

๓. สามารถเก็บพลังงานความรอนไวไดนาน

๔. ใชงานรวมกับเชื้อเพลิงชุมชนได

๕. ประสิทธิภาพโดยรวมของระบบสูงขึ้น

๖. ประหยัดเนื้อที่

๗. งายตอการควบคุม

๘. งายตอการบํารุงรักษา

Page 23: Golden tulip28nov2555

การออกแบบโครงสราง• Delta Truss

• Software Analysis

- Linear First Order

- Linear Second Order

- Non-linear First Order

- Non-linear Second Order

- Dynamic Harmonic

- Dynamic Seismic

- Dynamic Modal

- Bucking

- Stiffness

- Own weight

- Shell Stress

- Torsion

- Thermal expansion

- Moment

• Antirust treatment

• Easy to transport and erection

Page 24: Golden tulip28nov2555

ระบบถูกออกแบบตามความตองการของทองถิ่น

Solar Steam Performance @ 1 MWTemperature Up to 750 F (180 C)

Up to 900 F (200 C)Pressure Up to 150 PSIa (10 BARa)

Up to 230 PSIa (16 BARa)Annual Energy per8 Rais (12,800 Sq.m)

1,500 MWh@ 1,000 W/m2

สมรรถนะสูงงายตอการกอสรางมีความเสถียรสูงงายตอการเพิ่มกําลังผลิตงายตอการใชงานใชรวมกับน้ํา (Hydrogen)ใชรวมกับเชื้อเพลิงชุมชน

ไรมลภาวะ System Efficiency 15 % 1,500 MWhr/300 = 5 MWhr/day = 1 MW for 5 hr 12,800 m2 @ 1 kW/m2 = 12.8 MWhrThermal = 2 MWhrelectric Equivalent to 1 MWhrelectric for 10 hours With Hydrogen Feed could increase fuel consumption 30 % At Night Time Thermal Energy will use as fuel economizer to

preheat feed water from 80 C to 120 C Use Back Up fuel 25 % for 8 hours 120 C to 180 C Use Back Up fuel 100 % for 6 hours 120 C to 180 C

Page 25: Golden tulip28nov2555

รูปแบบของการออกแบบ และ พัฒนา ระบบไดถูกออกแบบดงันี้

ใชเนื้อที่ใหมีประสิทธิภาพสูงสุด

มีการสูญเสียพลังงานในระบบต่ํา

เปนระบบที่มีความเสถียรสูง

เปนระบบโมดลู สามารถติดตั้ง และ ขยายกําลังการผลิตไดงาย

สามารถใชงานไดคงทน โดยมีการบาํรงุรกัษาอยางสม่ําเสมอ

ใชงาน และ ซอมบํารงุไดงาย

คาบํารงุรกัษา และ คาดําเนินการ ต่ํา

เก็บพลังงานดวยเกลือรอน

ไอน้ําเปยก หรือ ไอน้ําอิ่มตัว

ใชพลังงานในการติดตามดวงอาทิตยต่ํา

โครงสรางมีน้ําหนกัเบา แตแข็งแรงมั่นคง

โครงสรางถูกออกแบบใหรับแรงลม และ แผนดินไหว

หัวรับพลังงานประสิทธิภาพสูง

สามารถใชงานรวมกับเชื้อเพลิงเสรมิ Biomass, Biogas, LPG, CNG, Hydrogen (Water)สามารถทํางานได 24/7 365 วัน/ป

ลดตนทุนการผลิต และ อาจไมจะเปนตองขอรบัเงนิสนับสนนุจากรัฐบาล

ออกแบบเพื่อภูมิอากาศแบบรอนชืน้ มีความเขมรังสีตรงจาดดวงอาทิตย 500 – 1,000 w/m2 และ มีพื้นที่ออนนุม

Page 26: Golden tulip28nov2555

ประสิทธิภาพของระบบ

Efficiency %

Reflector 90

Receiver 80

Multifunction Tank 85

Turbine 30

Generator 85

Thermal to Electrical 15

Page 27: Golden tulip28nov2555

แสดงความคิดเห็น