gulf war

1
ชื่อ นาย ภัทรกานต์ กลิ่นกุหลาบ ม.5/3 เลขที12 สงครามอ่าวเปอร์เซีย หรืออาจเรียกสั้น ว่า สงครามอ่าว (อังกฤษ: Gulf War) หรือที่รู้จักกันว่า สงครามอ่าว เปอร์เซียครั้งที่หนึ่ง, สงครามอิรักก่อนที่จะใช้เรียกการบุกครองอิรักเมื่อ .. 2546 และเรียกกันด้วยความเข้าใจผิดว่า ปฏิบัติการพายุทะเลทราย ซึ่งเป็นชื่อของปฏิบัติการเพื่อการรับมือทางทหาร เป็นความขัดแย้งทางทหารที่เริ่มโดยกองกาลังผสม จาก 34 ประเทศโดยมีสหประชาชาติเป็นผู้ดูแล กับอิรักและรัฐบาลร่วมที่ต้องการขับไล่กองกาลังอิรักออกจากคูเวตหลังจากทีอิรักเข้ายึดครองคูเวต ในเดือนสิงหาคม .. 2533 การรุกรานคูเวตโดยกองทัพอิรักที่เริ่มขึ้นตั้งแต่วันที2 สิงหาคม .. 2533 ได้รับการประณามจากนานาชาติ และ นาไปสู่การลงโทษทางเศรษฐกิจทันทีโดยสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ประธานาธิบดีสหรัฐ จอร์จ เอช. ดับเบิลยู . บุช ส่งกาลังอเมริกันไปยังซาอุดิอาระเบียเกือบ 6 เดือนหลังจากนั้น และกระตุ้นให้ประเทศอื่นส่งกาลังของตนเข้า มายังสถานที่ดังกล่าวด้วย มีหลายประเทศเข้าร่วมกาลังผสมด้วย โดยมีกาลังทหารส่วนใหญ่มาจากสหรัฐอเมริกา ซาอุดิอาระเบีย สหราชอาณาจักรและอียิปต์เป็นผู้ให้ความร่วมมือหลัก ซาอุดิอาระเบียระดมทุนให้ประมาณ 3.6 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ จาก ทั้งมหด 6 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐในสงครามครั้งนีความขัดแย้งระยะแรกเพื่อขับไล่กองทัพอิรักออกจากคูเวตเริ่มต้นขึ้นจากการทิ้งระเบิดทางอากาศเมื่อวันที17 มกราคม .. 2534 ตามมาด้วยการโจมตีภาคพื้นดินเมื่อวันที23 กุมภาพันธ์ สงครามดังกล่าวสิ้นสุดลงด้วยชัยชนะอย่างเด็ดขาดของ กองกาลังผสม ผู้ซึ่งปลดปล่อยคูเวตและรุกเข้าไปในพรมแดนอิรัก กองกาลังผสมยุติการรุกคืบ และประกาศหยุดหยิง 100 ชั่วโมงหลังจากการทัพภาคพื้นดินเริ่มต้นขึ้น การรบทางอากาศและพื้นดินจากัดอยู่ภายในอิรัก คูเวต และพื้นที่บริเวณพรมแดน ของซาอุดิอาระเบีย อย่างไรก็ตาม อิรักได้ปล่อยขีปนาวุธสกั๊ดต่อเป้าหมายทางทหารของกองกาลังผสมในซาอุดิอาระเบียและต่อ อิสราเอล

Upload: phattharakan-klinkulab

Post on 12-Jan-2017

164 views

Category:

Education


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Gulf war

ชอ นาย ภทรกานต กลนกหลาบ ม.5/3 เลขท 12

สงครามอาวเปอรเซย หรออาจเรยกสน ๆ วา สงครามอาว (องกฤษ: Gulf War) หรอทรจกกนวา สงครามอาวเปอรเซยครงทหนง, สงครามอรกกอนทจะใชเรยกการบกครองอรกเมอ พ.ศ. 2546 และเรยกกนดวยความเขาใจผดวาปฏบตการพายทะเลทราย ซงเปนชอของปฏบตการเพอการรบมอทางทหาร เปนความขดแยงทางทหารทเรมโดยกองก าลงผสมจาก 34 ประเทศโดยมสหประชาชาตเปนผดแล กบอรกและรฐบาลรวมทตองการขบไลกองก าลงอรกออกจากคเวตหลงจากทอรกเขายดครองคเวต ในเดอนสงหาคม พ.ศ. 2533

การรกรานคเวตโดยกองทพอรกทเรมขนตงแตวนท 2 สงหาคม พ.ศ. 2533 ไดรบการประณามจากนานาชาต และน าไปสการลงโทษทางเศรษฐกจทนทโดยสมาชกคณะมนตรความมนคงแหงสหประชาชาต ประธานาธบดสหรฐ จอรจ เอช. ดบเบลย. บช สงก าลงอเมรกนไปยงซาอดอาระเบยเกอบ 6 เดอนหลงจากนน และกระตนใหประเทศอนสงก าลงของตนเขามายงสถานทดงกลาวดวย มหลายประเทศเขารวมก าลงผสมดวย โดยมก าลงทหารสวนใหญมาจากสหรฐอเมรกา ซาอดอาระเบย สหราชอาณาจกรและอยปตเปนผใหความรวมมอหลก ซาอดอาระเบยระดมทนใหประมาณ 3.6 หมนลานดอลลารสหรฐ จากทงมหด 6 หมนลานดอลลารสหรฐในสงครามครงน

ความขดแยงระยะแรกเพอขบไลกองทพอรกออกจากคเวตเรมตนขนจากการทงระเบดทางอากาศเมอวนท 17 มกราคม

พ.ศ. 2534 ตามมาดวยการโจมตภาคพนดนเมอวนท 23 กมภาพนธ สงครามดงกลาวสนสดลงดวยชยชนะอยางเดดขาดของกองก าลงผสม ผซงปลดปลอยคเวตและรกเขาไปในพรมแดนอรก กองก าลงผสมยตการรกคบ และประกาศหยดหยง 100

ชวโมงหลงจากการทพภาคพนดนเรมตนขน การรบทางอากาศและพนดนจ ากดอยภายในอรก คเวต และพนทบรเวณพรมแดนของซาอดอาระเบย อยางไรกตาม อรกไดปลอยขปนาวธสกดตอเปาหมายทางทหารของกองก าลงผสมในซาอดอาระเบยและตออสราเอล