health planning system using concept of food ontology

6
บทคัดยอ การบริโภคอาหารที่ถูกตองตามหลักโภชนาการ และ เหมาะสมกับสภาพรางกาย ชวยลดผลเสียจากการเจ็บปวยและ ทําใหรางกายฟนตัวเร็วขึ้น แตผูปวยสวนใหญไมไดบริโภค อาหารอยางถูกตองตามหลักโภชนาการ ครบถวนและเหมาะสม กับสภาพรางกาย ซึ่งอาจทําใหเกิดผลเสียตอสุขภาพของ ผูปวยได โดยระบบวางแผนสุขภาพสําหรับผูปวยในมี วัตถุประสงคเพื่อใหผูปวยที่มาทําการพักรักษากับโรงพยาบาล ไดบริโภคอาหารอยางถูกตองตามหลักโภชนาการ และ เหมาะสมกับสภาพรางกาย โดยในงานวิจัยนี้ไดนําหลักการ ออนโทโลยีมาใชสําหรับจัดการองคความรูเกี่ยวกับอาหาร และ โภชนาการและทํางานรวมกับทฤษฎีระบบผูเชี่ยวชาญ ในการ วางแผนมื้ออาหารใหถูกตองและเหมาะสมกับสภาพรางกาย ของผูปวย ซึ่งผลการประเมินหาความพึงพอใจของระบบ พบวาผลการประเมินจากนักโภชนาการไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.33 และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.35 ผลการประเมินจาก ผูเชี่ยวชาญไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.28 และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.42 และผลการประเมินจากผูใชงานทั่วไปไดคาเฉลี่ย เทากับ 4.34 และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.48 ซึ่งสามารถ สรุปไดวาระบบที่พัฒนาขึ้นมีความพึงพอใจอยูในระดับดี คําสําคัญ: การวางแผนสุขภาพ ผูปวยใน อาหารและโภชนาการ ออนโทโลยี ระบบผูเชี่ยวชาญ Abstract Eating proper nutrition and appropriately regarding physical condition can help mitigate diseases and recover from illness faster. But most patients do not follow good practices improving their physical condition. This can have negative effects on the patients' health. The inpatient health planning system aims at supporting patients in hospitals to have proper nutrition and appropriately regarding their physical condition. In this paper, we used an ontology for food management and nutrition knowledge with an expert system to derive meal plans with appropriate nutrition suitable for the patients' physical condition. The results of the satisfactory evaluation by the nutritionists give the mean of 4.33 and the standard deviation of 0.35. The results of the evaluation by the experts give the mean of 4.28 and the standard deviation of 0.42. The results of the evaluation by the general users give the mean of 4.34 and the standard deviation of 0.48. There results show that the satisfactory toward the proposed system is at good level. Keyword: Health planning, Inpatient, Food and Nutrition Ontology, Expert System. 1. บทนํา ปจจุบันไดมีการนําหลักการทางโภชนาการ มาชวยในการ ปองกัน บรรเทา และรักษาอาการของโรคมากขึ้น โดยเฉพาะ อยางยิ่งผูปวยที่มีโรคประจําตัว จําเปนที่จะตองใหความสําคัญ กับการบริโภคอาหาร ที่ถูกตองครบถวนตามหลักโภชนาการ เปนอยางมาก ซึ่งการมีโภชนาการที่ดีและเหมาะสมกับสภาพ รางกายของผูปวยจะชวยลดผลเสียจากการเจ็บปวย และทําให รางกายฟนตัวเร็วขึ้น ในทางกลับกันหากผูปวยบริโภคอาหาร ที่ไมเหมาะสมกับสภาพรางกาย อาจทําใหเกิดผลเสียตอผูปวย ไดเชนกัน โดยทั่วไปแลวผูปวยมีความแตกตางกันทั้งทางดาน เพศ อายุ สภาพรางกาย และโรคประจําตัว ซึ่งมีความตองการ พลังงานและสารอาหารที่แตกตางกันไปดวย โดยผูปวยสวน ใหญอาจไมไดบริโภคอาหารอยางถูกตอง ครบถวนตามหลัก ระบบวางแผนสุขภาพสําหรับผูปวยในดวยหลักการออนโทโลยีอาหาร Inpatient Health Planning System using Concept of Food Ontology เสกสรรค ศิวิลัย (Sakesan Sivilai) 1 และจักรกฤษณ เสนห นมะหุต (Chakkrit Snae Namahoot) 2 1,2 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร [email protected], [email protected]

Upload: sakesan-sivilai

Post on 07-Mar-2016

214 views

Category:

Documents


1 download

DESCRIPTION

ORAL presentation at the NCCIT2012, 9-10 May 2012 at NCCIT2012, Dusit Thani Hotel, Pattaya City, Thailand.

TRANSCRIPT

Page 1: Health Planning System using Concept of Food Ontology

บทคัดยอ การบริโภคอาหารที่ถูกตองตามหลักโภชนาการ และ

เหมาะสมกับสภาพรางกาย ชวยลดผลเสียจากการเจ็บปวยและทําใหรางกายฟนตัวเร็วขึ้น แตผูปวยสวนใหญไมไดบริโภคอาหารอยางถูกตองตามหลักโภชนาการ ครบถวนและเหมาะสมกับสภาพรางกาย ซึ่งอาจทําใหเกิดผลเสียตอสุขภาพของผูปวยได โดยระบบวางแผนสุขภาพสําหรับผูปวยในมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูปวยที่มาทําการพักรักษากับโรงพยาบาลไดบริโภคอาหารอยางถูกตองตามหลักโภชนาการ และเหมาะสมกับสภาพรางกาย โดยในงานวิจัยนี้ไดนําหลักการออนโทโลยีมาใชสําหรับจัดการองคความรูเกี่ยวกับอาหาร และโภชนาการและทํางานรวมกับทฤษฎีระบบผูเช่ียวชาญ ในการวางแผนมื้ออาหารใหถูกตองและเหมาะสมกับสภาพรางกายของผูปวย ซึ่งผลการประเมินหาความพึงพอใจของระบบพบวาผลการประเมินจากนักโภชนาการไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.33 และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.35 ผลการประเมินจากผูเช่ียวชาญไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.28 และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.42 และผลการประเมินจากผูใชงานทั่วไปไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.34 และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.48 ซึ่งสามารถสรุปไดวาระบบที่พัฒนาขึ้นมีความพึงพอใจอยูในระดับดี คําสําคัญ: การวางแผนสุขภาพ ผูปวยใน อาหารและโภชนาการ ออนโทโลยี ระบบผูเช่ียวชาญ

Abstract Eating proper nutrition and appropriately regarding

physical condition can help mitigate diseases and recover

from illness faster. But most patients do not follow good

practices improving their physical condition. This can

have negative effects on the patients' health. The inpatient

health planning system aims at supporting patients in

hospitals to have proper nutrition and appropriately

regarding their physical condition. In this paper, we used

an ontology for food management and nutrition

knowledge with an expert system to derive meal plans

with appropriate nutrition suitable for the patients'

physical condition. The results of the satisfactory

evaluation by the nutritionists give the mean of 4.33 and

the standard deviation of 0.35. The results of the

evaluation by the experts give the mean of 4.28 and the

standard deviation of 0.42. The results of the evaluation

by the general users give the mean of 4.34 and the

standard deviation of 0.48. There results show that the

satisfactory toward the proposed system is at good level.

Keyword: Health planning, Inpatient, Food and Nutrition

Ontology, Expert System.

1. บทนํา ปจจุบันไดมีการนําหลักการทางโภชนาการ มาชวยในการ

ปองกัน บรรเทา และรักษาอาการของโรคมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งผูปวยที่มีโรคประจําตัว จําเปนที่จะตองใหความสําคัญกับการบริโภคอาหาร ที่ถูกตองครบถวนตามหลักโภชนาการเปนอยางมาก ซึ่งการมีโภชนาการที่ดีและเหมาะสมกับสภาพรางกายของผูปวยจะชวยลดผลเสียจากการเจ็บปวย และทําใหรางกายฟนตัวเร็วขึ้น ในทางกลับกันหากผูปวยบริโภคอาหารที่ไมเหมาะสมกับสภาพรางกาย อาจทําใหเกิดผลเสียตอผูปวยไดเชนกัน โดยทั่วไปแลวผูปวยมีความแตกตางกันทั้งทางดาน เพศ อายุ สภาพรางกาย และโรคประจําตัว ซึ่งมีความตองการพลังงานและสารอาหารที่แตกตางกันไปดวย โดยผูปวยสวนใหญอาจไมไดบริโภคอาหารอยางถูกตอง ครบถวนตามหลัก

ระบบวางแผนสุขภาพสําหรับผูปวยในดวยหลักการออนโทโลยีอาหาร Inpatient Health Planning System using Concept of Food Ontology

เสกสรรค ศิวิลัย (Sakesan Sivilai)1 และจักรกฤษณ เสนห นมะหุต (Chakkrit Snae Namahoot)2 1,2ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

[email protected], [email protected]

Page 2: Health Planning System using Concept of Food Ontology

โภชนาการและเหมาะสมกับสภาพรางกาย เนื่องจากผูปวยที่เขาพักรักษาตัวกับทางโรงพยาบาลมีจํานวนมาก การจัดอาหารใหถูกตองครบถวนตามหลักโภชนาการ และเหมาะสมกับสภาพรางกายของผูปวยแตละคน ถือวาเปนเรื่องยากและใชเวลาคอนขางมาก

จากปญหาที่กลาวมาขางตน ผูวิจัยจึงไดมีแนวคิดในการพัฒนาระบบวางแผนสุขภาพสําหรับผูปวยใน ดวยหลักการออนโทโลยีอาหาร เพื่อใหผูปวยที่มาทําการพักรักษากับโรงพยาบาลไดบริโภคอาหารอยางถูกตองครบถวน ตามหลักโภชนาการและเหมาะสมกับสภาพรางกาย เพื่อชวยฟนฟูสภาพรางกายจากอาการเจ็บปวยไดเร็วยิ่งขึ้น อีกทั้งยังชวยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการใหบริการและการจัดการของโรงพยาบาลใหดีขึ้นไดอีกดวย โดยในงานวิจัยนี้ไดนําหลักการออนโทโลยีมาใชสําหรับจัดการองคความรูเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการ และทํางานรวมกับทฤษฎีระบบผูเช่ียวชาญในการวางแผนมื้ออาหาร ใหถูกตองและเหมาะสมกับสภาพรางกายของผูปวย พรอมทั้งใหคําแนะนําในการดูและสุขภาพไดอยางถูกตองแมนยํา และมีประสิทธิภาพ

2. วรรณกรรมที่เก่ียวของ ในการออกแบบและพัฒนาระบบ ผูวิจัยไดทําการศึกษา

ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของดังตอไปนี้ 2.1 ออนโทโลยี ออนโทโลยี หมายถึง การใหรายละเอียดที่ชัดเจนแนนอน

ของแนวความคิด [1] หรือกลุมของคําที่มีโครงสรางแบบลําดับช้ัน สําหรับอธิบายขอบเขตเนื้อหาที่สนใจที่สามารถนํามาใชเปนโครงรางพื้นฐานสําหรับฐานความรูได [2] โดยออนโทโลยีมีองคประกอบดังตอไปนี้

2.1.1 แนวความคิด (Concepts) หมายถึง ขอบเขตของความรูที่สามารถทําการอธิบายรายละเอียดได

2.1.2 คุณสมบัติ (Properties) หมายถึง คุณสมบัติตางๆ ที่นํามาอธิบายรายละเอียดของแนวความคิด

2.1.3 ความสัมพันธ (Relationships) หมายถึง รูปแบบการแสดงความสัมพันธระหวางแนวความคิด

2.1.4 ขอกําหนดในการสรางความสัมพันธ (Axioms) หมายถึง เงื่อนไขหรือตรรกะในการสรางความสัมพันธระหวาง

แนวความคิดกับแนวความคิด หรือแนวความคิดกับคุณสมบัติเพื่อใหไดความหมายที่ถูกตอง

2.1.5 ตัวอยางขอมูล (Instances) หมายถึง คําศัพทที่มีการกําหนดความหมายไวในออนโทโลยีเรื่องนั้นๆ

โดยรูปแบบของการอธิบายออนโทโลยี จะขึ้นอยูกับภาษาที่ใช เชน RDF หรือ OWL เปนตน [3]

2.2 ระบบผูเชี่ยวชาญ ระบบผูเช่ียวชาญ (Expert System) เปนระบบสารสนเทศที่

ออกแบบมาเพื่อใหสามารถคิด วิเคราะห เปรียบเทียบ หรือหาคําตอบ โดยไดจําลองมาจากวิธีคิดวิเคราะหของมนุษยหรือผูเช่ียวชาญในสาขานั้นๆ ซึ่งมีความเกี่ยวของกับการจัดการองคความรู และออกแบบใหชวยในการแสดงขอมูลความจริงจากองคความรูที่มี โดยระบบผูเช่ียวชาญประกอบดวยโครงสรางพ้ืนฐานดังตอไปนี้

2.2.1 ฐานความรู (Knowledge Base) เปนสวนที่ทําหนาที่ในการเก็บองคความรูที่เกี่ยวของกับระบบ

2.2.2 กลไกอนุมาน (Inference Engine) เปนสวนที่ทําหนาที่นําองคความรูที่เก็บไวในฐานความรู (Knowledge Base) มาใชงานเพื่อหาขอสรุปหรือคาความจริงจากความรูที่มี ซึ่งในงานวิจัยนี้ใชวิธีการอนุมานแบบเดินหนา (Forward Chaining) โดยจะเริ่มตรวจสอบขอมูลกับกฎเกณฑจนกวาจะหากฎเกณฑที่สอดคลองกับสถานการณแลวจึงดําเนินการตามความเหมาะสม

2.2.3 สวนดึงองคความรู (Knowledge Acquisition Subsystem) เปนสวนที่ทําหนาที่ในการดึงองคความรูจากตํารา หรือผูเช่ียวชาญ

2.2.4 สวนอธิบาย (Explanation Subsystem) เปนสวนที่ทําหนาที่ในการอธิบายรายละเอียดตอผูใชวาขอสรุป หรือคําตอบนั้นไดมาอยางไร

2.2.5 สวนเช่ือมตอกับผูใช (User Interface) เปนสวนที่ทําหนาที่เปนตัวกลางระหวางผูใชกับระบบเพื่อใหการสื่อสารเปนไปอยางราบรื่น [4]

2.3 งานวิจัยท่ีเก่ียวของ จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของกับการวางแผนสุขภาพ

ดานการบริโภคอาหารสามารถสรุปไดดังนี้ ระบบขับเคลื่อนออนโทโลยีอาหาร เปนงานวิจัยที่ทําการ

ออกแบบและพัฒนาระบบแนะนํารายการอาหาร ในรานอาหาร

Page 3: Health Planning System using Concept of Food Ontology

คลินิก โรงพยาบาล หรือที่บาน โดยระบบนี้นําระบบผูเช่ียวชาญ (Expert System) มาทํางานรวมกับออนโทโลยีอาหาร (Food Ontology) และองคความรูอื่นๆ ที่เกี่ยวของ โดยในการแนะนํารายการอาหารจะคํานึงถึงความเหมาะสมตอสภาพรางกาย และความชื่นชอบทางดานอาหารของแตละบุคคล ในการออกแบบและพัฒนาออนโทโลยีอาหารนี้ มีการแบงแนวคิดของอาหารออกเปน 9 สวนประกอบดวย วัตถุดิบ แหลงวัตถุดิบ สารอาหาร อุปกรณที่ใชในการปรุงอาหาร วิธีการปรุงอาหาร อาหารประจําชาติ ราคา ประเภทอาหาร และสารอาหารที่เหมาะสมกับโรค ดังภาพที่ 1 [5] โดยระบบนี้ยังขาดสวนของการวางแผนมื้ออาหารในแตละวัน และยังไมไดคํานึงถึงขอมูลดานสุขภาพของผูปวยมากนัก

ภาพที่ 1: แนวคิดดานอาหาร

ระบบออนโทโลยีอัจฉริยะสําหรับแนะนําอาหาร สําหรับ

ผูปวยโรคเบาหวาน เปนงานวิจัยที่ออกแบบและพัฒนาระบบแนะนํารายการอาหารไตหวันสําหรับผูปวยโรคเบาหวาน โดยนําออนโทโลยีมาใชในการพัฒนาระบบ ซึ่งประกอบไปดวย 2 สวน คือ ออนโทโลยีอาหารซึ่งมีแนวคิดในการแบงอาหารออกเปน 6 กลุม คือ ธัญพืชและแปง ผัก ผลไม นม เนื้อสัตวและโปรตีน และไขมัน สวนที่ 2 ออนโทโลยีอาหารเฉพาะบุคคล ซึ่งมีแนวคิดในการแบงออกเปน 3 กลุม คือ ประวัติสวนตัว เปาหมายการบริโภคอาหาร และอาหารที่ช่ืนชอบ และใชกลไกอนุมานฟซซี่ (Fuzzy Inference Mechanism) เพื่อแนะนํารายการอาหารใหตรงตอความตองการ และเหมาะสมกับผูปวย [6] แตระบบนี้สามารถแนะนําไดแตอาหารไตหวันเทานั้น

อีกทั้งยังไมสามารถแนะนําอาหารสําหรับผูปวยโรคอื่นๆ ไดอีกดวย

ระบบวางแผนสุขภาพดานโภชนาการ สําหรับผูปวยสูงอายุ เปนงานวิจัยที่ออกแบบ และพัฒนาระบบวางแผนสุขภาพสําหรับผูปวยสูงอายุ โดยนําออนโทโลยีมาใชในการจัดการองคความรูเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการ เพื่อชวยในการวางแผนการบริโภคอาหารใหเหมาะสมกับความตองการ และสภาพรางกายของผูปวยสูงอายุ [7] แตระบบนี้พัฒนามาเพื่อผูปวยสูงอายุเทานั้น ไมสามารถวางแผนโภชนาการไดครอบคลุมผูปวยทุกวัย อีกทั้งระบบอาจจะแนะนํารายการอาหารไมถูกตอง ครบถวน เหมาะสมกับผูปวยสูงอายุ เนื่องจากผูสูงอายุเปนผูเลือกรายละเอียดในการแนะนํารายการอาหารเอง

จากการทบทวนงานวิจัยที่กลาวมาขางตน ผูวิจัยไดนําแนวคิดในการออกแบบออนโทโลยีอาหาร มาทําการประยุกตใหเหมาะสมกับงานวิจัย อีกทั้งยังไดนําแนวคิดในการแนะนําอาหารสําหรับผูปวยโรคเบาหวาน มาทําการเพิ่มเติมใหสามารถครอบคลุมกับโรคตางๆ ไดมากขึ้น และไดนําหลักการวางแผนการบริโภคอาหารสําหรับผูสูงอายุ มาทําการพัฒนาใหครอบคลุมกับผูปวยทุกวัย รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3. วิธีดําเนินการวิจัย

3.1 กระบวนการทํางานของระบบ ในภาพที่ 2 แสดงถึงกระบวนการทํางานของระบบ โดยมี

ขั้นตอนดังตอไปนี้ 3.1.1 ผูใชทําการปอนขอมูลผูปวย เชน รหัสหรือช่ือ

ของผูปวย เพื่อทําการวางแผนสุขภาพ 3.1.2 ระบบทําการตรวจสอบขอมูลสุขภาพผูปวย ถา

ยังไมมีขอมูล ใหทําการลงทะเบียนขอมูลสุขภาพผูปวยใหม 3.1.3 ระบบจะทําการดึงขอมูลสุขภาพผูปวย ขึ้นมา

เพื่อเตรียมวางแผนสุขภาพ ซึ่งขอมูลบันทึกสุขภาพผูปวยเปนสวนที่ทําการเก็บบันทึกขอมูลสุขภาพของผูปวย เชน รหัส ช่ือ-นามสกุล เพศ อายุ สวนสูง น้ําหนัก อุณหภูมิรางกาย ความดันโลหิต อัตราการเตนชีพจร อาการ โรคประจําตัว ฯลฯ โดยขอมูลเหลานี้ไดมาจากการตรวจวัดของเจาหนาที่ พยาบาลและแพทยผูตรวจ

Page 4: Health Planning System using Concept of Food Ontology

3.1.4 จากนั้นผูใชทําการระบุจํานวนวันที่ผูปวยจะเขา พักรักษาในโรงพยาบาล 3.1.5 เสร็จแลวระบบจะทําการ จัดการวางแผนสุขภาพโดยใชทฤษฎีระบบผูเช่ียวชาญ และใชกลไกอนุมานแบบเดินหนา โดยเริ่มจากนํากฎตางๆ มาทําการวิเคราะหกับขอมูลบันทึกสุขภาพของผูปวยรวมกับออนโทโลยีอาหาร แลวทําการสรุปผลวารายการอาหารใดที่เหมาะสมกับผูปวย จากนั้นทําการวางแผนมื้ออาหารใหเหมาะสมกับความตองการในการบริโภคอาหารของผูปวยในแตละวัน รวมถึงใหคําแนะนําในการดูแลสุขภาพใหเหมาะสมกับผูปวยอีกดวย 3.1.6 จากนั้นทําการแสดงแผนสุขภาพใหผูใชไดทราบเปนอันเสร็จสิ้นกระบวนการทํางานของระบบ

ภาพที่ 2: กระบวนการทํางานของระบบ

3.2 การออกแบบและพัฒนาออนโทโลยี ในสวนนี้แสดงผลการออกแบบออนโทโลยีอาหาร โดย

ในงานวิจัยนี้ไดนําแนวคิดทางดานอาหารจาก [5] มาประยุกต ใชในการออกแบบและใช Protégé 4.1 มาเปนเครื่องมือในการพัฒนาออนโทโลยี

สําหรับออนโทโลยีอาหาร ประกอบไปดวยคลาสหลักๆ เชน รายการอาหาร (Menu) วิธีการปรุงอาหาร (Preparation methods) วัตถุดิบ (Ingredient) สารอาหาร (Nutrient) และคลาสอื่นๆ ที่เกี่ยวของดังภาพที่ 3 โดยขอมูลเหลานี้สามารถนําไปใชในการแนะนําอาหารไดอย างถูกตองตามหลักโภชนาการ

ภาพที่ 3: แสดงตัวอยางการออกแบบออนโทโลยีอาหาร

3.3 ฐานกฎ ในสวนนี้แสดงกฎสําหรับการแนะนํารายการอาหาร ที่

เหมาะสมกับสภาพรางกายของผูปวย ซึ่งไดมาจากผูเช่ียวชาญ หนังสือและเอกสารที่เกี่ยวของกับการบริโภคอาหาร โดยกฎจะทํางานรวมกับออนโทโลยีอาหาร สําหรับกฎที่สรางขึ้นจะอยูในรูปแบบของ IF-THEN ดังนี้ IF (antecedent) THEN (Consequent) สําหรับในงานวิจัยนี้ใชรูปแบบของกฎประเภท Strategy โดยมีลักษณะการทํางานดังตารางที่ 1

Page 5: Health Planning System using Concept of Food Ontology

ตารางที่ 1: แสดงตัวอยางการนํากฎมาใชในการแนะนํารายการอาหารสําหรับผูปวยโรคความดันโลหิตสูง 3.4 การวางแผนสุขภาพ

ในสวนนี้เปนกระบวนการวางแผนสุขภาพ สําหรับผูปวย ซึ่งไดนําทฤษฎีระบบผูเช่ียวชาญมาใชในการวางแผน โดยใชกลไกอนุมานแบบเดินหนา เริ่มจากนํากฎตางๆ มาทําการวิเคราะหกับขอมูลบันทึกสุขภาพของผูปวย รวมกับออนโทโลยีอาหาร แลวทําการสรุปผลวารายการอาหารใดที่เหมาะสมกับผูปวย จากนั้นทําการคํานวณหาพลังงานที่เหมาะสมกับความตองการในการบริโภคอาหารของผูปวยในแตละวัน โดยอาศัยขอมูล เพศ อายุ น้ําหนัก สวนสูงและกิจกรรมที่ทําในแตละวัน โดยใชสูตร Harris-Benedict equation ในการคํานวณ ดังนี้

เพศชาย: ((66 + (13.7 x น้ําหนัก กก.) + (5 x สวนสูง ซม.)) - (6.8 xอายุ ป)) x ระดับกิจกรรม

เพศหญิง: ((655 + (9.6 x น้ําหนัก กก.) + (1.8 x สวนสูง ซม.)) - (4.7 x อายุ ป)) x ระดับกิจกรรม

ซึ่งในที่นี้ยกตัวอยางผูปวยเพศชาย อายุ 54 ป สวนสูง 170 ซม. น้ําหนัก 82 กก. และระดับกิจกรรมนั่งนอนเปนสวนใหญ(1.2) เมื่อทําการคํานวณแลวจะไดผลความตองการพลังงานเทากับ 2,007 กิโลแคลอรี่ตอวัน เสร็จแลวทําการจัดการวางแผนรายการอาหารใหไดพลังงานที่เหมาะสมในแตละมื้อ รวมถึงใหคําแนะนําในการดูแลสุขภาพใหเหมาะสมกับผูปวยอีกดวย 4. ผลการดําเนนิงาน

ในสวนนี้เปนการนําเสนอผลการดําเนินงาน ในการพัฒนาระบบ โดยแบงออกเปนหัวขอดังตอไปนี้

4.1 ผลการพัฒนาระบบ ในสวนนี้แสดงผลของการพัฒนาระบบวางแผนสุขภาพ

สําหรับผูปวยในดวยหลักการออนโทโลยีอาหาร ซึ่งพัฒนาดวย

ภาษา PHP และใช Protégé และ MySQL ในการเก็บขอมูลอาหารและขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของ โดยในภาพที่ 4 แสดงหนาจอขั้นตอนและผลการวางแผนสุขภาพ ในที่นี้ยกตัวอยางผูปวยที่ปวยเปนโรคความดันโลหิตสูง จากนั้นเลือกจํานวนวันที่จะเขาพักรักษาตัว เสร็จแลวเลือกที่ปุม “วางแผนสุขภาพ” จากนั้นระบบจะแสดงหนาวางแผนสุขภาพซึ่งประกอบดวยขอมูลมื้ออาหารที่เหมาะสมตอวัน รายการอาหารที่ควรหลีกเลี่ยง และคําแนะนําในการดูแลสุขภาพสําหรับผูปวย

ภาพที่ 4: แสดงหนาจอขั้นตอนและผลการวางแผนสุขภาพ

จากภาพที่ 5 จะเห็นไดวาหลังจากที่ผูปวยไดปฏิบัติตามแผนสุขภาพที่ระบบไดแนะนําหลังจากผานไป 4 วัน ผูปวยมีอาการดีขึ้น ซึ่งดูไดจากขอมูลสุขภาพของผูปวย เชน ความดันโลหิตลดลง อาการปวดหัวหายไปและน้ําหนักตัวลดลง เปนตน

ภาพที่ 5: แสดงหนาจอขอมูลผูปวยและขอมูลสุขภาพผูปวย

Page 6: Health Planning System using Concept of Food Ontology

นอกจากนั้นแลวผูใชยังสามารถดูรายละเอียดตางๆ ของรายการอาหารได เชน พลังงานที่ไดรับ วัตถุดิบ คุณคาทางโภชนาการ สรรพคุณทางสมุนไพร ฯลฯ ดังภาพที่ 6

ภาพที่ 6: แสดงหนาจอแสดงรายละเอียดรายการอาหาร

4.2 ผลการประเมินความพึงพอใจ ในสวนนี้แสดงผลการประเมินความพึงพอใจ จากการใช

งานระบบโดยนักโภชนาการจํานวน 3 คน ผูเช่ียวชาญจํานวน 5 คน และผูใชทั่วไป จํานวน 10 คน ดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2: แสดงผลการประเมินความพึงพอใจของระบบ

จากตารางที่ 2 ผลการวิเคราะหขอมูลความพึงพอใจจาก นักโภชนาการไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.33 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.35 ผูเช่ียวชาญไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.28 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.42 และผูใชทั่วไปไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.34 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.48 ดังนั้นสามารถสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ของระบบวางแผนสุขภาพสําหรับผูปวยในดวยหลักการออนโทโลยีอาหารไดวา ผูประเมินมีความพึงพอใจอยูในระดับดี

5. สรุป ในงานวิจัยนี้ ผูวิจัยไดนําเสนอผลของการพัฒนาระบบ

วางแผนสุขภาพสําหรับผูปวยใน ดวยหลักการออนโทโลยีอาหาร โดยไดนําหลักการออนโทโลยีมาใชสําหรับจัดการองคความรูเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการ และทํางานรวมกับทฤษฎีระบบผู เช่ียวชาญ ในการวางแผนมื้ออาหารใหถูกตองและเหมาะสมกับสภาพรางกายของผูปวย เพื่อใหผูปวยที่มาทําการพักรักษากับโรงพยาบาล ไดบริโภคอาหารอยางถูกตองตามหลักโภชนาการและเหมาะสมกับสภาพรางกายอยางตอเนื่อง

สําหรับงานในอนาคต ผูวิจัยจะทําการพัฒนาระบบจัดซื้อและการบริหารสินคาคงคลังดานอาหาร สําหรับผูปวยที่มาทําการพักรักษาตัวกับโรงพยาบาล เพื่อชวยในการแกปญหาและเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงานภายในโรงพยาบาลเปนตน

เอกสารอางอิง [1] T. Gruber, “Ontology”, Retrieved Nov 2, 2010, from

http://tomgruber.org/writing/ontology-definition-

2007.htm.

[2] B. Swartout, P. Ramesh, K. Knight, T. Russ, “Toward

Distributed Use of Large-Scale Ontologies” Ontological

Engineering. AAAI-97 Spring Symposium Series, pp.138-

148, 1997.

[3] A. G. Perez and V. R. Benjamins, “Applications of

Ontologies and Problem-Solving Methods” AI-Magazine,

20(1):119-122, 1999.

[4] กิตติ ภัคดีวัฒนะกุล, คัมภีรระบบสนับสนุนการตัดสินใจและระบบผูเชี่ยวชาญ, กรุงเทพฯ : เคทพีี แอนดคอนซัลท, 2546.

[5] C. Snae and M. Brueckner, “FOODS: A Food-Oriented

Ontology-Driven System” 2nd IEEE International

Conference on Digital Ecosystems and Technologies, pp.

168-176, 2008.

[6] C. S. Lee, M. H. Wang, H. C. Li, and W. H. Chen,

“Intelligent ontological agent for diabetic food

recommendation” IEEE World Congress on

Computational Intelligence, 2008.

[7] S. Sivilai, C. Snae and M. Brueckner, “Ontology-Driven

Personalized Food and Nutrition Planning System for the

Elderly” the2nd International Conference in Business

Management and Information Sciences, Phitsanulok,

Thailand, Jan 19-20, 2012.