hia flowchart

1
แผนภาพแสดงกรอบการทบทวนและปรับปรุง หลักเกณฑ์การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (เอชไอเอ) พิจารณาโดยยึดหลักสิทธิชุมชน ตามมาตรา 67 วรรค 2 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ซึ่งปจจุบัน มีการกำหนดประเภทกิจกรรมหรือโครงการที่เขาขายอาจ รุนแรงฯ ไวทั้งสิ้น ๑๑ ประเภทโครงการ พิจารณากลั่นกรอง โดยอาศัยอาศัยอำนาจ ศาลรัฐธรรมนูญ การกลั่นกรอง โครงการแผนงาน นโยบาย กิจกรรมการวางแผนพัฒนา ที่สมควรทำเอชไอเอ (Screening) บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิรองขอและรวมทำเอชไอเอ ตามมาตรา 11 ของ พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ โดยคณะกรรมการพัฒนา ระบบและกลไกเอชไอเอ เปนผูกลั่นกรองฯ หากสมควรทำเอชไอเอ สช. จะเปนผูดำเนินการประสานทีมและสนับสนุนการดำเนินงาน กำหนดขอบเขต และประเด็นสำคัญ ที่ควรศึกษาและประเมิน โดยภาคีสาธารณะ (Public Scoping) ทำเอชไอเอในมิติทั้ง 4 โดยเปดให ภาคีสาธารณะ มีสวนรวม (Appraisal) ทบทวนผลลัพธ ที่ไดจากการ ทำเอชไอเอ โดยภาคีสาธารณะ (Public Reviewing) นำเสนอผล การทำเอชไอเอ เขาสูกระบวนการตัดสินใจเพื่อ กำหนดขอบเขตการดำเนินการ (Decision Making) จัดการติดตามและประเมิน ผลการดำเนินการตามขอบเขต และประเด็นที่เปนขอหวงกังวลที่อาจเกิดขึ้น จากการดำเนินโครงการ (Monitoring) มีผูรับผิดชอบ การประมวล ความเห็น(?) สามารถประเมิน ผลกระทบไดครอบคลุม ตามหัวขอ ไดหัวขอหรือประเด็น ที่ควรทำการประเมิน หาผูที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมชวยทำ การประเมิน(?) มีผูรับผิดชอบ การประมวล ความเห็น(?) สามารถรวบรวมความเห็น และขอเสนอ รวมทั้งกรอบ การติดตามผลกระทบและ ประเมินผลการดำเนินงาน ใครควรเปน ผูมีอำนาจใน การตัดสินใจ(?) พิจารณา อนุมัติหรือไมอนุมัติ พรอมทั้งใหเหตุผลประกอบ หากอนุมัติจัดทรัพยากร ติดตามผล มีผูมีบทบาท ในการดูแล กลไกรวมระหวาง ผูลงทุนและ กลุมประชาคม (?) เพื่อเปนกลไกสนับสนุน ทรัพยากรการติดตาม ประเมินผล ปรับปรุงกลไก โดยใชองคกรหรือ ประชาคมใด อยางไร(?) พิจารณากิจกรรมหรือ โครงการที่ควรเขารับ การประเมิน ไมเขาขาย มาตรา67 วรรค 2 เขาขาย มาตรา67 วรรค 2 ไมเขาขาย ที่ตองทำ เอชไอเอ ใหประสานงาน และทำความเขาใจ กับผูรองขอใชสิทธิ ศาล พิจารณาวา ไมเขาขาย ศาล พิจารณาวา เขาขาย ภาครัฐสวนกลาง สวนภูมิภาค สวนทองถิ่น ภาคธุรกิจ เอกชน ชุมชน องคกรสาธารณะ ประโยชน 2 2 2 พิจารณา เห็นสมควร ทำเอชไอเอ 3 3 4 4 5 5 6 6 2 1 1 เพิ่มกลไกหรือชองทางการกลั่นกรองสำหรับการพิจารณาโครงการอาจรุนแรงฯ เสนอใหมีการสรรหาบุคคล หนวยงานองคกร คณะกรรมการอิสระ ฯลฯ เพื่อกำหนด ทิศทาง ติดตามตรวจสอบ หรือชี้แนะแนวทางที่จะเปนไปเพื่อใหเกิดประสิทธิผลตอ การดำเนินการของผูศึกษาและประเมินผลกระทบ เสนอใหทบทวนและปรับปรุงรายละเอียดในแตละขั้นตอนของกระบวนการศึกษาและ ประเมินผลกระทบทางสุขภาพ โดยใหความสำคัญตอการนำเสนอความมุงหมายหลัก และผลลัพธที่ไดจากการดำเนินการแตละขั้นตอน เพื่อใหผูดำเนินการศึกษาและ ประเมินผล สามารถเขาใจและเขาถึงความมุงหมายนั้น และดำเนินการใหเกิด ประสิทธิผลตามวัตถุประสงค เอกสารประกอบการรับฟงความคิดเห็นกรอบการทบทวนหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลกระทบดานสุขภาพที่เกิดจากนโยบายสาธารณะ วันจันทรที่ 30 เมษายน 2555 เวลา 08.30-17.00 น. ณ ศูนยประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ (หลักสี่) กรุงเทพฯ จัดทำโดย ศูนยประสานงานการพัฒนาระบบและกลไกการประเมินผลกระทบดานสุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ (สช.) 1 ประเด็นที่ ::: ประเด็นปัญหาและข้อเสนอ ::: ประเด็นที่ 2 กระบวนการศึกษาและประเมินผลกระทบสุขภาพยังขาดรายละเอียดและกลไกที่สนับสนุนใหการดำเนินการศึกษา และประเมินผลกระทบแตละขั้นตอนเกิดประสิทธิผลตามวัตถุประสงคที่แทจริง กลาวคือ ปจจุบันผูดำเนินการ ศึกษาและประเมินผลกระทบ มุงดำเนินการเพื่อใหเปนไปตามระเบียบปฏิบัติที่วางไว แตไมสามารถดำเนินการ ใหบรรลุผลตามวัตถุประสงคที่มุงหมายใหเกิดในขั้นตอนตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ เสนอใหการเขียนหลักเกณฑการศึกษาและการประเมินผลกระทบมุงเนนวัตถุประสงคหรือความมุงหมายหลัก รวมถึงคำนึงถึงผลลัพธที่จะไดจากการดำเนินงานในแตละขั้นตอน นอกจากนี้ ใหระบุผูรับผิดชอบดำเนินงานและ กลไกกำกับในการทำเอชไอเอของแตละขั้นตอนอยางชัดเจน กลไกการกลั่นกรองยังมีจุดออนที่ทำใหชุมชนหรือประชาคมไมสามารถเขาถึงสิทธิการรองขอใหพิจารณาเพื่อให กิจกรรมหรือโครงการที่ไมเขาขายโครงการอาจรุนแรงฯ ตามมาตรา 67 วรรค 2 ซึ่งชุมชนและสังคมเห็นวาเปน กิจกรรมหรือโครงการที่อาจสงผลกระทบรุนแรงตอชุมชนทั้งดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และ สุขภาพ ตองดำเนินการศึกษาและประเมินผลกระทบทางสุขภาพ เสนอใหเพิ่มกลไกการกลั่นกรองอีกหนึ่งชองทาง โดยให “ศาลรัฐธรรมนูญ” มีอำนาจในการพิจารณาโครงการฯ ที่ไมเขาขายโครงการอาจรุนแรงฯ ตามมาตรา 67 วรรค 2 และสั่งใหมีการศึกษาและประเมินผลกระทบทาง สุขภาพ หากพิจารณาแลววา กิจกรรมหรือโครงการดังกลาวอาจสงผลกระทบรุนแรงตอชุมชน ทั้งดานคุณภาพ สิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ในกรณีที่มีผูรองขอใชสิทธิดังกลาว หนวยงานที่รับผิดชอบการทำเอชไอเอ ใหสิทธิชุมชนในการรองขอตอศาล พิจารณากลั่นกรองโครงการอีกครั้ง

Upload: healthstation-

Post on 03-Sep-2014

90 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: HIA Flowchart

แผนภาพแสดงกรอบการทบทวนและปร ับปรุงหลักเกณฑ์การประเม ินผลกระทบด้านสุขภาพ (เอชไอเอ)

พิจารณาโดยยึดหลักสิทธิชุมชน ตามมาตรา 67 วรรค 2 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ซึ่งปจจุบันมีการกำหนดประเภทกิจกรรมหรือโครงการที่เขาขายอาจรุนแรงฯ ไวทั้งสิ้น ๑๑ ประเภทโครงการ

พิจารณากลั่นกรองโดยอาศัยอาศัยอำนาจ

ศาลรัฐธรรมนูญ

การกลั ่นกรองโครงการแผนงาน นโยบาย กิจกรรมการวางแผนพัฒนาที่สมควรทำเอชไอเอ(Screening)

บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิรองขอและรวมทำเอชไอเอ ตามมาตรา 11 ของ พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ โดยคณะกรรมการพัฒนาระบบและกลไกเอชไอเอ เปนผูกลั่นกรองฯ หากสมควรทำเอชไอเอสช. จะเปนผูดำเนินการประสานทีมและสนับสนุนการดำเนินงาน

กำหนดขอบเขตและประเด็นสำคัญ

ที่ควรศึกษาและประเมินโดยภาคีสาธารณะ

(Public Scoping)

ทำเอชไอเอในมิติทั ้ง 4โดยเปดให

ภาคีสาธารณะมีสวนรวม

(Appraisal)

ทบทวนผลลัพธที ่ไดจากการทำเอชไอเอ

โดยภาคีสาธารณะ(Public Reviewing)

นำเสนอผลการทำเอชไอเอ

เขาสู กระบวนการตัดสินใจเพื ่อกำหนดขอบเขตการดำเนินการ(Decision Making)

จัดการติดตามและประเมินผลการดำเนินการตามขอบเขต

และประเด็นที ่เปนขอหวงกังวลที ่อาจเกิดขึ ้นจากการดำเนินโครงการ(Monitoring)

มีผูรับผิดชอบการประมวลความเห็น(?)

สามารถประเมินผลกระทบไดครอบคลุม

ตามหัวขอ

ไดหัวขอหรือประเด็นที ่ควรทำการประเมิน

หาผูที่มีคุณสมบัติเหมาะสมชวยทำการประเมิน(?)

มีผูรับผิดชอบการประมวลความเห็น(?)

สามารถรวบรวมความเห็นและขอเสนอ รวมทั้งกรอบการติดตามผลกระทบและประเมินผลการดำเนินงาน

ใครควรเปนผูมีอำนาจใน

การตัดสินใจ(?)

พิจารณาอนุมัติหรือไมอนุมัติ

พรอมทั ้งใหเหตุผลประกอบหากอนุมัติจัดทรัพยากร

ติดตามผล

มีผูมีบทบาทในการดูแล

กลไกรวมระหวางผูลงทุนและ

กลุมประชาคม (?)

เพื ่อเปนกลไกสนับสนุนทรัพยากรการติดตาม

ประเมินผล

ปรับปรุงกลไกโดยใชองคกรหรือ

ประชาคมใดอยางไร(?)

พิจารณากิจกรรมหรือโครงการที ่ควรเขารับ

การประเมิน

ไมเขาขายมาตรา67วรรค 2

เขาขายมาตรา67วรรค 2

ไมเขาขายที ่ตองทำเอชไอเอ

ใหประสานงานและทำความเขาใจกับผูรองขอใชสิทธิ

ศาลพิจารณาวาไมเขาขาย

ศาลพิจารณาวาเขาขาย

ภาครัฐสวนกลางสวนภูมิภาคสวนทองถิ่น

ภาคธุรกิจเอกชน

ชุมชนองคกรสาธารณะ

ประโยชน2

2

2

พิจารณาเห็นสมควรทำเอชไอเอ

3

3

4

4

5

5

6

6

2

1

1

เพิ่มกลไกหรือชองทางการกลั่นกรองสำหรับการพิจารณาโครงการอาจรุนแรงฯ

เสนอใหมีการสรรหาบุคคล หนวยงานองคกร คณะกรรมการอิสระ ฯลฯ เพื่อกำหนดทิศทาง ติดตามตรวจสอบ หรือชี้แนะแนวทางที่จะเปนไปเพื่อใหเกิดประสิทธิผลตอการดำเนินการของผูศึกษาและประเมินผลกระทบ

เสนอใหทบทวนและปรับปรุงรายละเอียดในแตละขั้นตอนของกระบวนการศึกษาและประเมินผลกระทบทางสุขภาพ โดยใหความสำคัญตอการนำเสนอความมุงหมายหลักและผลลัพธที ่ไดจากการดำเนินการแตละขั ้นตอน เพื ่อใหผู ดำเนินการศึกษาและประเมินผล สามารถเขาใจและเขาถึงความมุ งหมายนั ้น และดำเนินการใหเกิดประสิทธิผลตามวัตถุประสงค

เอกสารประกอบการรับฟงความคิดเห็นกรอบการทบทวนหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลกระทบดานสุขภาพที่เกิดจากนโยบายสาธารณะวันจันทรที่ 30 เมษายน 2555 เวลา 08.30-17.00 น. ณ ศูนยประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ (หลักสี่) กรุงเทพฯจัดทำโดย ศูนยประสานงานการพัฒนาระบบและกลไกการประเมินผลกระทบดานสุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ (สช.)

1ประเด็นที่

: : : ประเด ็นป ัญหาและข ้อเสนอ : : :

ประเด็นที่

2กระบวนการศึกษาและประเมินผลกระทบสุขภาพยังขาดรายละเอียดและกลไกที่สนับสนุนใหการดำเนินการศึกษาและประเมินผลกระทบแตละขั้นตอนเกิดประสิทธิผลตามวัตถุประสงคที่แทจริง กลาวคือ ปจจุบันผูดำเนินการศึกษาและประเมินผลกระทบ มุงดำเนินการเพื่อใหเปนไปตามระเบียบปฏิบัติที่วางไว แตไมสามารถดำเนินการใหบรรลุผลตามวัตถุประสงคที่มุงหมายใหเกิดในขั้นตอนตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ

เสนอใหการเขียนหลักเกณฑการศึกษาและการประเมินผลกระทบมุงเนนวัตถุประสงคหรือความมุงหมายหลักรวมถึงคำนึงถึงผลลัพธที่จะไดจากการดำเนินงานในแตละขั้นตอน นอกจากนี้ ใหระบุผูรับผิดชอบดำเนินงานและกลไกกำกับในการทำเอชไอเอของแตละขั้นตอนอยางชัดเจน

กลไกการกลั่นกรองยังมีจุดออนที่ทำใหชุมชนหรือประชาคมไมสามารถเขาถึงสิทธิการรองขอใหพิจารณาเพื่อใหกิจกรรมหรือโครงการที่ไมเขาขายโครงการอาจรุนแรงฯ ตามมาตรา 67 วรรค 2 ซึ่งชุมชนและสังคมเห็นวาเปนกิจกรรมหรือโครงการที่อาจสงผลกระทบรุนแรงตอชุมชนทั้งดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ตองดำเนินการศึกษาและประเมินผลกระทบทางสุขภาพ

เสนอใหเพิ่มกลไกการกลั่นกรองอีกหนึ่งชองทาง โดยให “ศาลรัฐธรรมนูญ” มีอำนาจในการพิจารณาโครงการฯ ที่ไมเขาขายโครงการอาจรุนแรงฯ ตามมาตรา 67 วรรค 2 และสั่งใหมีการศึกษาและประเมินผลกระทบทางสุขภาพ หากพิจารณาแลววา กิจกรรมหรือโครงการดังกลาวอาจสงผลกระทบรุนแรงตอชุมชน ทั้งดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ในกรณีที่มีผูรองขอใชสิทธิดังกลาว

หนวยงานที่รับผิดชอบการทำเอชไอเอ

ใหสิทธิชุมชนในการรองขอตอศาลพิจารณากลั ่นกรองโครงการอีกครั ้ง