ict trends 2010

70
ICT Technology Trends ศาสตราจารย ดร.ไพรัช ธัชยพงษ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ 19 มีนาคม 2553

Category:

Technology


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: ICT Trends 2010

ICT Technology Trends

ศาสตราจารย ดร.ไพรัช ธัชยพงษสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ

19 มีนาคม 2553

Page 2: ICT Trends 2010

เคาโครงการบรรยาย

1. เทคโนโลยีในปค.ศ. 20102. วิวัฒนาการของเทคโนโลยีไอซีที3. เว็บ 2.0 คืออะไร ?4. คุณสมบัติของเว็บ 2.05. ตัวอยางเว็บ 2.06. หองสมุด 2.0: วิวัฒนาการของ

หองสมุด

Page 3: ICT Trends 2010

1. เทคโนโลยีในปค.ศ. 2010

Page 4: ICT Trends 2010

1. Cloud Computing2. Advanced Analytics3. Client Computing4. IT for Green5. Reshaping Data Center6. Social Computing7. Security – Activity Monitoring8. Flash Memory9. Virtualization for Availability10. Mobile Applications

Page 5: ICT Trends 2010

1.Cloud Computing

•SaaS, PaaS, IaaS, HaaS

Page 6: ICT Trends 2010

2. Advanced Analytics

•Data warehouse•Business Intelligence•Advanced Analytics

Page 7: ICT Trends 2010

A Zero Client moves all software off the desktop to the server, the device has no CPU, no memory, no operating system and no drivers, using functionality enabled by server virtualization.

3. Client Computing

Thin Clients only need to run the operating system software locally, and have no hard drives or floppy drives.

Page 8: ICT Trends 2010

4. IT for Green•smart grids, sustainable network, energy efficient data centers, teleworking, intelligence transport system, smart buildings and energy-efficient workspaces

Page 9: ICT Trends 2010

•They are customized 20-foot or 40-foot shipping containers that vendors fill with servers and storage gear before shipping them out. •Customers plug in a cooling supply, power supply and a network connection, and the mini-data centers are ready to use.

5. Reshaping Data Center

Page 10: ICT Trends 2010

“Social Computing" refers to systems that support the gathering, representation, processing, use, and dissemination of information that is distributed across social collectivities such as teams, communities, organizations, and markets. (wikipedia)

6. Social Computing

Page 11: ICT Trends 2010

IT Security Monitoring•IT Security Monitoring is based on the implementation of a highly scalable security monitoring infrastructure that allows rapid identification of malicious network activity. •Your enterprise is alerted — often before vital services are impacted or compromised.

7. Security – Activity Monitoring

Page 12: ICT Trends 2010

8. Flash Memory

•Faster than rotating disk•Price per megabyte declines

$/MB: Solid State vs. HDD

Page 13: ICT Trends 2010

9. Virtualization for Availability

Page 14: ICT Trends 2010

10. Mobile Applications

By year end 2010, 1.2 billion people will carry mobile handsets

Page 15: ICT Trends 2010

2. วิวัฒนาการของเทคโนโลยีไอซทีี

Page 16: ICT Trends 2010

•อักขระปรากฏบนแผนอิฐเปนสูตรในการหมกัเบียร•หลักฐานทีแ่สดงวาชนชาติสุมาเรียนที่อาศัยในประเทศเมโซโปเตเมีย(ปจจุบันเปนสวนหนึ่งของอิรัก)เมื่อ 3200ปกอนคริสตกาลเปนชนชาติแรกที่รูจักการเขยีน

Source:Who Began Writing? Many Theories, Few AnswersBy JOHN NOBLE WILFORD,The New York Times -- April 6, 1999

http://www.virtual-egypt.com

ยุคเริ่มตนของการเขียน

ชิ้นสวนกระดาษปาปรัสในคริสศตวรรษที่4 ซึ่งมีขอความอักขระยวิเปนบทสวดที่89:4-7ในคัมภีรไบเบลิฉบับเกา

Page 17: ICT Trends 2010

•คัมภรีไบเบิลที่พิมพดวยเครื่องพิมพกเูต็นเบิรกระหวางค.ศ.1454-1455เปนสัญลกัษณที่บงถึงการเริ่มตน “ยุคแหงการพิมพหนงัสอื” (ตนฉบับยังเกบ็ไวที่Library of Congress, US)

ยุคแหงการพิมพหนังสอื

คัมภีรไบเบิลพิมพดวยเครื่องพิมพกูเต็นเบิรก แทนพิมพเปลี่ยนตัวอักษรไดของกูเต็นเบิรก

โยฮัน กูเต็นเบิร(ค.ศ.1400 -1468), ชาวเยอรมันผูประดิษฐเครื่องพิมพ

Page 18: ICT Trends 2010

หนังสืออิเล็กทรอนิกส(eBook): Kindle DX (6 May 2009)

Amazon today unveiled a new,larger version of its Kindle ebookreader, which is aimed atstudents – and heralded as a potential saviour by some partsof the newspaper industry.

(guardian.co.uk, Wednesday 6 May 2009 )

วางขายราว•วางตลาดฤดูรอนของสหรัฐอเมริกาในราคา $489•ใชแสดงตําราและขาวหนังสือพิมพ•จอขนาด 9.7 นิ้วใหญกวารุนเดิม(ซึ่งแสดงนวนยิาย paperback) ราว 2 เทา•สามารถบรรจุหนงัสือ 3,500 เลม•แสดงไฟลและสารคดีที่เคยแสดงบนPCไดดวย

•ผูซื้อสามารถเขาถึง 60%ของตําราเรียนของสํานักพิมพ Pearson, Wiley และ Cangage•ตอนเปดตัวบริษัทอเมซอนจะลดราคาผูประสงคสมัครเปนสมาชิกระยะยาวของNew York Times, Washington Post และBoston Globe (ซึ่งกําลังมีปญหาดานธุรกิจที่ใชกระดาษ)

ปริมาณการขายAmazon e-book สูงกวาหนังสือธรรมดาเปนครั้งแรกเมื่อปลายปค.ศ.2009 (guardian.co.uk, 28 Dec 2009)

Page 19: ICT Trends 2010

•บริษัมLG Displayของเกาหลีแถลงผลการพัฒนากระดาษอิเล็กทรอนิกสขนาดแผนหนังสือพิมพ •ความกวาง 19 (250x400 มม.)ทําใหขนาดเกือบเทากระดาษ A3 ของหนังสือพิมพ •ความหนา 0.3 มิลลิเมตรและหนัก 130 กรัม•กระดาษอิเล็กทรอนิกสนี้สามาราถใหความรูสึกคลายการอานหนังสือพิมพจากกระดาษธรรมดา•เทคโนโลยีเปน TFT (Thin Film Transistor) สรางบนแผนโลหะบางบิดได(metal foil)แทนที่จะอยูบนแผนกระจกตามปกติ

บริษทั LG Display เปดเผยผลงานกระดาษอิเล็กทรอนิกสบิดไดขนาดเทาหนาหนังสือพิมพ(15 มกราคม 2553)

http://www.digitimes.com/news/a20100115PR201.html

Page 20: ICT Trends 2010

http://www.nytimes.com/2009/10/27/business/media/27audit.htmlhttp://barrdear.com/john/2009/10/28/the-death-throes-of-us-newspapers/ยอดขายหนงัสือพิมพใน

สหรัฐอเมริกาลดลงอยางตอเนือ่ง•ตลอด 2 ทศวรรษที่ผานมายอดขายหนงัสือลดลงอยางถลมทะลาย(avalanche)•ตัวเลขที่เปดเผยเมื่อวันจนัทรลดลง10%จากปที่แลว•สาเหตุเพราะผูอานหันไปอานทางอินเทอรเน็ตมากขึ้น ราคาหนังสือพิมพที่เพิ่มขึน้ เศรษฐกิจที่ถดถอย

Page 21: ICT Trends 2010

Internetclient/server

world wide web(web 1.0)

Page 22: ICT Trends 2010

Web 2.0 เว็บ 1.0•เจาของเว็บสรางเว็บขึ้นมา•การเพิ่มสาระใหมลงไปบนเว็บไซตของตนตองกระทําโดยตนเองเพื่อเชื่อมโยงกับเว็บผูอื่น•ผูอื่นสามารถเชื่อมโยงเขามาไดเชนกัน

เว็บ2.0•Wikipedia ซึ่งเปนสารานุกรมออนไลนเกิดจากสมมติฐานที่ไมนาเชื่อวาการเติมสาระลงไปในสารานุกรมนั้นสามารถกระทําไดโดยผูใชเว็บคนใดก็ได•เว็บสังคม(social web)ผูใชเติมสาระดวยผูใชเองเชน Hi5, MySpace, Facebook, Friendster Twitter, etc.

Page 23: ICT Trends 2010

สถิติการใชอินเทอรเน็ตโลก

•ประชากรโลก:~6,700 ลานคน•ผูใชอินเทอรเน็ต:~1,700 ลานคน

(ณ กันยายน พ.ศ.2552)

http://www.internetworldstats.com/stats.htm

Page 24: ICT Trends 2010

3.เว็บ 2.0 คืออะไร ?

Page 25: ICT Trends 2010

นิยาม

• “เว็บ 2.0" (ค.ศ.2004–ปจจุบัน) เปนชือ่ที่ใชอธิบายลักษณะการประยุกตบนเว็บที่ผูใชมีสวนในการใหขอมูลบนเว็บ การแบงปนสารสนเทศ การทํางานเปนเครอืขายสังคม ความเขากันได(interoperability)ระหวางเว็บไซต

• ตัวอยางของเว็บ 2.0 เชน สังคมที่สังสรรกนัเปนหมูคณะบนอนิเทอรเนต็ บรกิารเจาภาพของเว็บไซต การแบงปนรูปภาพ วิกิ บล็อก การผสมขอมูล(mashups) และสังคมรวมกนักําหนดคําสําคัญ(folksonomies)ของแหลงขอมูลจากเว็บไซต

wikipedia

Page 26: ICT Trends 2010

Source:What Is Web 2.0by Tim O’Reilly, 09/03/2005

• การแตกของฟองสบูcot-com ในฤดูใบไม

รวง ของปค.ศ.2001 นับเปนจดุเปลีย่นสําคัญ

ของเว็บ

• หลายคนสรุปวาเว็บไดรับการคาดหวังจากนัก

ลงทุนมากเกินความเปนจริง(overhyped)

• ฟองสบูแตกและการปรับตัวที่ตามมานับเปน

เรื่องปกติของการปฏิวตัิเทคโนโลยี (technological revolutions)

• การปรับตัวบงบอกวาเทคโนโลยีใหมกําลัง

แจงเกิดทามกลางการปรับตวัดังกลาว

http://www.flickr.com/

Will Code HTML for Food

มันเกดิขึ้นไดอยางไร?

http://commons.wikimedia.org/

Page 27: ICT Trends 2010

•เริ่มครั้งแรก2005Web 2.0Conference,October 2005•ตอมาใน 2006Web 2.0 Summit,November 2006

การประชมุวิชาการและหนงัสอื Web 2.0การคนหาดวยคําวา “web 2.0”ใน Amazon.com ได หนังสือที่มีชื่อนี้ 1,195 รายการ

Page 28: ICT Trends 2010

การพัฒนาของเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต

• PC-based– window, local area

networks, etc.• TCP/IP

– Web 1.0– email, websites, search

engines (Google),eCommerce (Amazon), eGovernment, etc.

• Web 2.0 (social webs)– Facebook, Twitter,

YouTube, MySpace, Second Life etc.

•Languages-HTML, Java, .Net, PHP, etc

•Web servers/browsers-Apache, etc.-Nescape, IE etc.

•XML-SOA, Web services

•AJAX (asynchronous JavaScript and XML)-interactive web applications-SaaS

Page 29: ICT Trends 2010

AJAX (Asynchronous JavaScript And XML)

•การเปลี่ยนแปลงบางสวนของหนาเว็บโดยเรียกขอมูลจากเซิฟเวอรไมตองเรยีกเว็บใหมทั้งหนา

Page 30: ICT Trends 2010

4. คุณสมบัติของเว็บ 2.0

Page 31: ICT Trends 2010

คุณสมบัติของ web 2.0

1.The Web As Platform2. Harnessing Collective Intelligence3. Data is the Next Intel Inside 4. End of the Software Release Cycle5. Lightweight Programming Models6. Software Above the Level of a Single Device7. Rich User Experiences (Rich Internet Applications)

http://oreilly.com/pub/a/web2/archive/what-is-web-20.html

Page 32: ICT Trends 2010

เปรียบเทียบ Netscape กับ Google• หาก Netscapeถือวาเปนแบบอยางทางคุณสมบัติของ Web 1.0, แลวกูเกลิก็ตองนับวาเปน

แบบอยางทางคุณสมบัติของ Web 2.0• Nestcape อาจนับไดวาใช “web as a platform” ในรูปแบบของซอฟตแวรดั้งเดิม • สินคาหลักคือเบราเซอร, การประยกุตบนเครื่องพีซีตั้งบนโตะ, และกลยุทธของบริษัทคือการใชเบรา

เซอรสรางตลาดสินคาใหมีราคาสูงบนเซิฟเวอร

1.The Web As Platform(from “desktop” to “webtop”)

• กูเกิลกลบัเริ่มตนชีวิตจากเปนการประยกุตบนเว็บทันที มิไดมีวัตถุประสงคที่จะขายซอฟตแวรแพ็กเก็จแตเปนซอฟตแวรที่ขายบริการ ลกูคาสามารถจายคาบริการโดยตรงหรือโดยออมก็ได

• ธุรกิจของกูเกิลปราศจากจุดออนทางธุรกิจของอุตสาหกรรมซอฟตแวรดั้งเดิมกลาวคือ ไมมีการกําหนดวาจะประกาศซอฟตแวรรุนตางๆ มีแตการปรับปรุงอยางสม่ําเสมอ ปราศจากการขายซอฟตแวรหรือการขายสิทธการใชซอฟตแวร มีแตการใหผูรับบริการใชเทานั้น

ขณะที่เรากลาววาบริษัททั้งสองตางก็เปนบริษัทซอฟตแวร •Netscape นัน้ตองถือวาอยูในกลุมเดียวกันกับโลกของ Lotus, Microsoft, Oracle, SAP, และบรรดาบริษัทที่เริ่มตนชีวิตในชวงปฎิวัติซอฟตแวรของยุคค.ศ. 1980's •ขณะที่บรรดาเพื่อนฝูงของกูเกิลนั้นลวนแลวแตเปนซอฟตแวรประยุกตบนอินเทอรเน็ตกลาวคือ eBay, Amazon, Napster, DoubleClick และ Akamai.

Page 33: ICT Trends 2010

2. Harnessing Collective Intelligence

การที่บรรดาบริษัทยกัษใหญทั้งหลายที่เกิดในยุคเว็บ1.0ยังประสบความสําเร็จอยางตอเนื่องขามเขาสูยุคเว็บ2.0ไดนั้น วางอยูบนหลักของการใชพลังของเว็บในการเก็บเกี่ยวปญญาสวนรวม (collective intelligence)

เว็บ 1.0•Hyperlink เปนพื้นฐานของการเชื่อมโยงเว็บ เมื่อผูใชเพิ่มสาระใหมลงไปบนเว็บไซตของตนหรือสรางเว็บไซตใหม กอ็าศัยhyperlink ในการเชื่อมโยงเขากับเครือขายเว็บ

เว็บ2.0•Wikipediaซึ่งเปนสารานุกรมออนไลนเกิดจากสมมติฐานที่ไมนาเชื่อวาการเติมสาระลงไปในสารานุกรมนั้นสามารถกระทําไดโดยผูใชเว็บคนใดก็ได•Blogging ก็ทํานองเดียวกันที่อาศัยความคิดเห็นจากผูใชเว็บ•RSS ไมเพียงแตเสนอขาวหรือเนื้อหาใหมในบล็อกแตยังแจงใหทราบถึงขอมูลเกดิใหมทุกประเภททั้งหุน พยากรณอากาศอีกดวย

Page 34: ICT Trends 2010

http://www.housingmaps.com/

3. Data is the Next Intel Inside

•Google's lightweight programming modelทําใหเกิดการบริการมูลคาเพิ่มในรูปแบบของ mashups ที่เชื่อมโยง Google maps กับแหลงขอมูลอื่นในอนิเทอรเน็ต•เว็บไซตชื่อ housingmaps.com, ไดเชื่อมโยงผนวก Google Maps กับ Craigslist ที่ใหบริการขอมูลดานหองเชาและซื้อขายบานทําใหไดมาซึ่งเว็บไซตเพื่อการคนหองและบานชนิดโตตอบกับลูกคาได

•ความรูคือพลังและขอมูลทําใหแขงขันได•ปจจุบันเราสามารถผสมขอมูล(mashup)จากหลายแหลงเพื่อใหไดขอมูลที่ดีกวาจากแหลงเดียว

Page 35: ICT Trends 2010

• ซอฟตแวรเผยแพรในรูปของบริการมใิชผลิตภัณฑ• รูปแบบธุรกิจของบริษัทเปลี่ยนไป• การพัฒนาซอฟตแวรไมรูจบ

4. End of the Software Release Cycle

1.การปฏิบัติงานคือความสามารถหลัก•มีการเคลื่อนยายจาก”ซอฟตแวรเปนผลิตภัณฑ” ไปสู software as service •ซอฟตแวรจะไมมีประโยชนหากมิไดมีการบํารุงรักษาเปนประจําทุกวัน •กูเกิลตองไปเก็บ(crawl)เว็บทั้งหลายอยางตอเนื่องเพื่อปรับปรุงดัชนีการคนหาใหทันสมัย กรองสแปมและความพยายามที่จะกระทบกระเทือนผลการทํางาน ตอบสนองผูใชนับรอยลานคนพรอมกับเสนอการโฆษณาที่สอดคลองกับคําถาม

2.ผูใชกลายเปนผูรวมพัฒนาซอฟตแวรที่“ไมสมบูรณตลอดไป”•สะทอนใหเห็นถึงการทํางานของซอฟตแวรรหัสเปด •คําขวัญของการพัฒนาซอฟตแวรนี้คือ “เผยแพรใหเร็วและเผยแพรใหบอย"•บริการเชน Gmail, Google Maps, Flickr, del.icio.us, และอื่นๆก็อยูในลักษณะ"Beta" เปนปเชนกัน

Page 36: ICT Trends 2010

5. Lightweight Programming Models

• เมือเว็บเซอรวิสเริม่เปนที่รูจักกนั บริษทัขนาดใหญกระโดดเขาใชเทคโนโลยนีี้ดวยความซับซอนหลายชั้นหลายขัน้ตอน เพื่อใหไดผลิตภัณฑที่เชื่อถอืได– แตวา RSS ไดกลายเปนเว็บเซอรวิสที่นิยมแพรหลายเนื่องจากความงายไมซับซอน ขณะที่เว็บที่ซับซอนของบรรดาบริษัทยักษใหญทั้งหลายยังตองรอคอยการใชงานจากลูกคา

– เว็บเซอรวิสที่ใหบริการดานแผนที่มีมานานจากบริษัทเชน ESRI ,MapQuest และ Microsoft MapPoint แตแผนที่ของกูเกิลเปนที่นิยมทั่วโลกก็เพราะ เว็บเซอรวิสของกูเกิลที่สะดวกตอการใชนั่นเอง

• นอกจากนี้บริษัทอืน่ยังมีเงื่อนไขอยางเปนทางการกับผูใช( a formal contract ) ขณะที่แผนที่ของกูเกิลอนุญาตใหใครจะใชก็ได(data for the taking)

Page 37: ICT Trends 2010

6. Software Above the Level of a Single Device

• iTunes เปนตวัอยางที่ดีที่แสดงถึงหลักการนี้ บริการจากเซิฟเวอรจํานวนมหาศาลสามารถไปถึงผูใชที่มีอุปกรณมือถือผานพีซีที่ทําหนาที่เปนหนวยความจํากลาง(cache memory) และหนวยควบคุม( control station)•บริษัทอื่นพยายามใหบริการสาระจากเว็บไปยังอุปกรณมือถือเชนกัน แตไมประสบความสําเร็จ •สวนการทํางานรวมกันของ iPod/iTunes นับเปนความสําเร็จที่เกิดจากการใชอุปกรณรวมกันหลายชิ้น

Page 38: ICT Trends 2010

7. Rich User Experiences(Rich Internet Applications)

• เบราเซอรยคุแรกเชน Viola browser ในค.ศ. 1992 นัน้เริ่มใช "applets" ในการสงสาระไปยังผูใชได

• จาวาสคริปตทําใหเกิด DHTML เปนการเริม่ตนของการเขียนโปรแกรมแบบเบาใหไคลแอนตเริม่เปนดานที่ทํางานไดดวย ทําใหเกิดคําวา richer user experiences.

• ตอมาบริษทั Macromedia เริ่มใชคําวา“rich internet applications" เพื่อแสดงถึงความสามารถของ Flash ในการนําสงทั้งสื่อผสมและGUI-style ของการใชงาน

• เทคโนโลยสีําคัญลาสุดดานนีค้ือ AJAX (Asynchronous JavaScript and XML)ที่ทําใหผูใชเปลี่ยนแปลงขอมูลบางสวนบนจอไดโดยไมตองเปลี่ยนทั้งหนาเว็บ

Page 39: ICT Trends 2010

5. ตัวอยางเว็บ 2.0

Page 40: ICT Trends 2010

การสรางเว็บไซตยุคเว็บ1.0และเว็บ2.0

ยุคเว็บ 1.0 : (1) แสดงหนาอักษร รูปภาพ เสียงเทานั้นโดยการใช HTML เทานั้นและมีเบราเซอรในการเปดอาน สามารถเชื่อมโยงจากหนาหนึ่งไปอีกหนาหนึ่งที่อยูตางสถานที่ตั้งของเว็บได

(2) ตอมามีฐานขอมูลเก็บไฟลสามารถใช HTML ฝง CGI (Common Gateway Interface) เรียกขอมูลจากฐานขอมูล(data base)ได

ยุคเว็บ 2.0 : (1) สําหรับนักเทคโนโลยีคอมพิวเตอรนั้นจะอาศัยเครื่องมือที่เรียกวา CMS (Content Management System) ชวยในการออกแบบและจัดการสาระลักษณะเปนกรอบ(template)ไดลึกซึ้งอยางที่ตนเองตองการ

(2)สําหรับผูใช(ที่ไมประสงคจะเรียนรูภาษาคอมพิวเตอร)นั้นจะสามารถสรางเว็บไซตของตนเองไดโดยอาศัยบริการที่ไมคิดคาใชจายเชน Google, Yahoo, etc.

Page 41: ICT Trends 2010

http://sites.google.com/site/pairash2/

•ปจจุบันเราสามารถสรางเว็บไซตเพื่อเผยแพรสูสาธารณะไดโดยไมตองรูภาษาคอมพิวเตอร•ตัวอยางเชน Google Sites เปนตน

ตัวอยางที่ 1: สราง Website โดยไมตองรูภาษาคอมพิวเตอร

Main Features•No html coding is required and you do not need any web experience. •Drag and drop the objects. True WYSIWYG layout & design. •Create websites with multiple pages and easily manage your site at once. •Pre-designed website templates are included.•Preview web pages in browser with one-click.•Publish your web site with just one-click•Hundreds of functions: photo gallery,rollover image, flash slide show, audio/video,flash video, ready-to-use Java Script effects,tables, forms, iFrames and much more...

Page 42: ICT Trends 2010

ตัวอยางที่ 2 : เว็บไซตสวนตัวหรือ Start Page (1)

•Start page เปนหนาเว็บเพื่อกิจกรรมของเราเองบนอินเทอรเน็ต•เราสามารถดึงขอมูลจากที่ตางๆ(web feeds) การจําหนา(bookmarks) รับทราบอีเมลที่เชามาใหม ปฏิทิน พยากรณอากาศ รูปภาพจาก Flickr, ฯลฯ•ตัวอยางเชนบริการของกูเกิลที่เรียกวา iGoogle เปนตน

Page 43: ICT Trends 2010

Start Pages: บรกิารอื่นนอกจากของ Google(2)

http://www.pandia.com/sew/451-personalized.htmlhttp://lifehacker.com/393837/five-best-start-pages

http://web2.econsultant.com/personalized-start-pages-services.html

ตัวอยาง: iGoogle, Netvibes, Pageflakes, My Yahoo!, Lifehackers, Aboutblank

Page 44: ICT Trends 2010

ตัวอยางที่ 3: Blogs• บล็อกคือเว็บไซตที่ดูแลโดยบุคคลที่มีการ

ปอนขอความของเหตุการณเปนประจํา• ปกติมีความเหน็จากบุคคลอื่นที่สนใจเขาไป

เสนอความเห็นดวยอาจเปนขอความ ภาพหรือวิดิทัศนก็ได

ตัวอยางบล็อกของบีบีซี

Page 45: ICT Trends 2010

Blogs(ตอ) เว็บไซตยอดนิยม 10 แหงที่ใหบริการบล็อกไดแก WordPress, TypePad, Squarespace, Blogger, AOL Journal, Windows Live Spaces, Xanga, LiveJournal, Vox, MySpace

http://blog-services-review.toptenreviews.com/

Page 46: ICT Trends 2010

Microblogging•ไมโครบล็อกเปนบล็อกชนิดหนึ่ง•ไมโครบล็อกตางจากบล็อกปกตติรงที่วามันจํากัดตวอักษรไมใหเกิน 140-200 ตัว

เว็บไซตไมโครบล็อกที่รูจักกันดีคือTwitter แตฏมีไมโครบล็อกอื่นอีกเชน•Friendfeed•Tumblr.•Plurk•Jaiku•Yammer•Sweeter 2.0(http://blog.taragana.com/)

Page 47: ICT Trends 2010

RSS ยอมาจาก "Really Simple Syndication“เปนรูปแบบของการดึงขอมูลจากเว็บไซตหนึง่มายังเว็บไซตของเราเพื่อใหทราบการเปลี่ยนแปลงที่ทันสมัยตลอดเวลา ตัวอยางเชนการเปลี่ยนแปลงของบล็อก หัวขอขาวใหม เสียงและวิดีทัศนเปนตน

12

4 3

ตัวอยางที4่:RSS

Page 48: ICT Trends 2010

ตัวอยางที5่:Social Bookmarking(1) •Social bookmarking เปนวิธีการที่ผูใชอินเทอรเน็ตรวมกันทําbookmarks ของสารสนเทศจากแหลงเว็บไซตตางๆเพื่อจะไดแบงกันใช •มีการจัดทํา tags รวมกันโดยอัตโนมัตหิรอืเพิ่มเติมเองเพื่อประโยชนในการคนหา•การจัดทําtagsดวยกันนีน้ยิมเรียกกันวา social tagging, social indexing, social classification หรือนยิมเรยีกเปนภาษาเว็บวา folksonomy (folk + taxonomy)

http://webstudio13.com/2009/12/02/the-top-10-best-social-bookmarking-websites/

1. Delicious2. StumbleUpon3. Digg4. Reddit5. Yahoo! Buzz6. Slashdot7. Newsvine8. Mixx9. Diigo10. Propeller

The Top 10 Best Bookmarking Websites

Page 49: ICT Trends 2010

Delicious (เดิมชือ่ del.icio.us อานวา "delicious")

Social Book Marking(2)

Page 50: ICT Trends 2010

Bookmarks ของเราที่อยูบน delicious

ฆSocial Book Marking(3)

Page 51: ICT Trends 2010

วิธีเติม bookmarking1

4

3

2

Social Book Marking(4)

Page 52: ICT Trends 2010

ตัวอยางที่ 6 : Wiki(1)

http://www.wikimatrix.org/

•วิกิ เปนเว็บไซตใหบริการในการสรางปรับปรุงเนื้อหารวมกนัจากผูอยูบนอินเทอรเน็ต • วิกิตองอาศัยวกิซิอฟตแวรในการทํางานรวมกนั

Page 53: ICT Trends 2010

โครงการสวนพฤกษศาสตรโรงเรียนตามพระราชดาํริสมเด็จพระเทพรตันราชสุดาฯสยามบรมราชกมุารี

Wiki(2)

Page 54: ICT Trends 2010

ตัวอยางที่ 7: Social networks

•หลังจากเริ่มตน 6 ปที่แลว ปจจุบัน Facebook เปนไวตที่นิยมเปนอันดับ2รองจากกูเกลิ •มีผูใชทั่วโลกมากกวา 350 ลานคน•ซึ่งหากเปนประเทศแลวFacebookก็จะมีประชากรมากเปนอันดับ 3 ถัดจากจีนและอนิเดีย•ผูใชกวา 55 ลานคนเขาไปปรับปรุงในแตละวันและแบง(share)สาระกันดูกวา3.5 พันลานชิ้นตอสัปดาห

Page 55: ICT Trends 2010

• What's happening is that our privacy has become a kind of currency. It's what we use to pay for online services.

• Google charges nothing for Gmail; instead, it reads your e-mail and sends you advertisements based on keywords in your private messages

http://www.newsweek.com/

•Their entire business model is based on the notion of "monetizing" our privacy.•To succeed they must slowly change the notion of privacy itself—the "social norm," as Facebook puts it—so that what we're giving up doesn't seem so valuable. •Then they must gain our trust. Thus each new erosion of privacy comes delivered, paradoxically, with rhetoric about how Company X really cares about privacy. •I'm not sure whether Orwell would be appalled or impressed. •And who knew Big Brother would be not a big government agency, but a bunch of kids in Silicon Valley?

Page 56: ICT Trends 2010

Pros and Cons(1)

• “This represents a dramatic and permanent upgrade in people’s ability to communicate with one another,” says Marc Andreessen, a Silicon Valley veteran who has invested in Facebook, Twitter and Ning, an American firm that hosts almost 2m social networks for clients.

Source: economist.com, Jan 2010

•Twitter regularly scores headlines with its real-time updates on events like the Mumbai terrorist attacks and on the activities of its high-profile users, who include rap stars, writers and royalty.

•Both Twitter and Facebook played a starring role in the online campaign strategy that helped sweep Barack Obama to victory in the presidential race.

Page 57: ICT Trends 2010

• They must demonstrate that they are capable of generating the returns that justify the lofty valuations investors have given them.

• Critics also say that the networks’ advertising-driven business model is flawed.

Pros and Cons(2)

•A survey of 1,400 chief information officers conducted last year by Robert Half Technology, a recruitment firm, found that only one-tenth of them gave employees full access to such networks during the day, and that many were blocking Facebook and Twitter altogether.

•The executives’ biggest concern was that social networking would lead to social notworking, with employees using the sites to chat with friends instead of doing their jobs.

•Some bosses also fretted that the sites would be used to leak sensitive corporate information.

Source: economist.com, Jan 2010

Page 58: ICT Trends 2010

6. หองสมุด 2.0:วิวัฒนาการของหองสมุด

Page 59: ICT Trends 2010

ประวัติยอของหองสมุด

http://archaeology.about.com/od/lterms/qt/ashurbanipal.htmwikipedia

•หองสมุดของกษัตริยAshurbanipal (บางครั้งก็เขียนAssurbanipal)ยุค 668-627 กอนตริสตกาลเปนการรวบขอเขียนบนแผนอิฐราว 30,000 แผน•คนพบเมื่อกลางคริสตศตวรรษที่ 19 ทีเมืองยุคเมโซโปเตเมียชือ่นิเนเวห( Nineveh)

Library of Ashurbanipal at the British Museum

The new Library of Alexandria, Egypt

• หองสมุดอเล็กซานเดรียคงจะเปนหองสมุดที่ใหญที่สุดหและมีชื่อเสียงมากที่สุดในโลกยุคโบราณ•รุงเรืองใตการอุปถัมภของราชวงศปโตเลมี•ศูนยกลางสําคัญของการศึกษาตราบจนกระทั่งโรมเขาครองอียิปตและหลังจากนั้นอีกนับหลายศตวรรษ•เขาใจวาสรางราวศตวรรษที่3กอนครสตกาล•ปจจุบันก็ยังเปนที่รูจักกันดีทั่วโลก

Page 60: ICT Trends 2010

หองสมุดดิจิทัลโลก(World Digital Library)

• สนับสนุนโดยูเนสโก• หนังสืออเิล็กทรอนิกสที่

สามารถเรียกผานอินเทอรเน็ตไดโดยไมคิดคาใชจาย

• หลากหลายภาษาจากเอกสารตนฉบับจากประเทศและอารยธรรมตางๆทั่วโลก

• เมื่อ 22 เมษายน ค.ศ. 2009 ไดลงนามรวมมือกับ 32 สถาบันทั่วโลก

http://www.wdl.org/

Examples of Partner Institutes

Page 61: ICT Trends 2010

http://www.wdl.org/

Page 62: ICT Trends 2010

เทคโนโลยกีารถายสําเนาอิเล็กทรอนิกส(scan)หนังสือหายาก

Page 63: ICT Trends 2010

หนังสือกูเกิล(Google Books)

•กูเกิลถายสําเนาอิเล็กทรอนิกสหนังสือทั้งเลม(full text of book)และเก็บไวในฐานขอมูล•ผูใชบริการสามารถเรียกดูผานอินเทอรเน็ตได •เดิมเรียกวาGoogle Print เมื่อแนะนําครั้งแรกที่งานแสดงหนังสือเมืองแฟรงเฟรตในเดือนตุลาคมค.ศ.2004.

•Booksellers that have ordered its $100,000 Espresso Book Machine, which cranks out a 300 page gray-scale book with a color cover in about 4 minutes, at a cost to the bookstore of about $3 for materials. •The machine prints the pages, binds them together perfectly, and then cuts the book to size and then dumps a book out, literally hot off the press.

Source: nytimes.com, wired.com

Page 64: ICT Trends 2010

Library 2.0

•Library 2.0 เปนชื่อรียกรูปแบบการใหบริการของหองสมุดยุคใหม•จุดเนนอยูที่ผูใชเปนศนูยกลางและการมีสวนรวมของผูใชในรูปแบบของชุมชนอินเทอรเน็ตที่สามารถมีสวนรวมในการเสนอเนื้อหา•แนวคิดและปรัชญาของ Library 2.0 มาจาก Web 2.0

wikipedia

Page 65: ICT Trends 2010

http://librariansmatter.com/blog/2007/04/19/what-is-library20-and-library20/

The two concepts of Library 2.0

Page 66: ICT Trends 2010
Page 67: ICT Trends 2010

ตัวอยาง Library 2.0 ในประเทศไทย(1)

Page 68: ICT Trends 2010

ตัวอยาง Library 2.0ในประเทศไทย(2)

Page 69: ICT Trends 2010

สรุป

1. เทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสารยงัมีวิวัฒนาการอยางไมหยุดยัง้โดยมีอนิเทอรเน็ตเปนแกนหลักและแกนนาํที่สําคัญ

2. เว็บไซตไดวิวฒันาการจากเว็บ1.0เขาสูเว็บ 2.03. แมนจะมีคุณลักษณะหลายประการแตที่สําคัญคือการมีสวนรวม

ของผูใช การแบงปนสารสนเทศและการเกิดเครอืขายชุมชนบนอนิเทอรเนต็

4. ปจจุบันผูใชที่มิไดมึความรูเรือ่งภาษาคอมพิวเตอรสามารถสรางเว็บไซตสาธารณะและสวนตัวไดภายในไมกีน่าที

5. เว็บไซตอาจเปนรปูแบบดั้งเดิม บล็อก วิก ีเสียง รูปภาพที่สามารถใชประโยชนการดึงขอมูล(RSS) การสรางคําสําคัญรวมกนั (folksonomy)

6. หองสมุดวิวฒันาการจากแผนอิฐ กระดาษจนปจจุบันเปนดิจิทัลและกําลังเขาสูยุคเว็บ 2.0

Page 70: ICT Trends 2010

จบบริบูรณ