indy 2 : multi-purpose table

19
Multi-purpose table By Tharinee Thisana 510310094

Upload: dao-dao-thai-art

Post on 30-Mar-2016

214 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

Multi-purpose table

TRANSCRIPT

Page 1: Indy 2 : Multi-purpose table

Multi-purpose table

By

Tharinee Thisana 510310094

Page 2: Indy 2 : Multi-purpose table

วิหารวัดบุญยืน วัดบุญยืนตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 4 ตำ�บลกล�งเวียง อำ�เภอเวียงส� จังหวัด

น่�น สร้�งเมื่อปีพ.ศ. 2329 และตั้งขึ้นพร้อมกับก�รสร้�งเมืองซึ่งเรียกว่�

“เวียงป้อ” โดยพระย�องค์หนึ่งชื่อว่� พระย�ป้อ จึงเรียกชื่อเมืองต�มชื่อ

ผู้สร้�ง และวัดที่สร้�งขึ้นก็เป็นเพียงสำ�นักสงฆ์เล็กๆชื่อว่� วัดบุญนะ ตั้ง

อยู่ที่ตล�ดสดในปัจจุบันนี้ ครั้นต่อม�เมื่อ ผู้ครองนครน่�นน�มว่� เจ้�ฟ้�

อัตถวรปัญโญ เสด็จประพ�สเวียงป้อทรงเห็นว่�วัดบุญนะนั้นคับแคบไม่

อ�จขย�ยให้กว้�งขว�งได้ ประกอบกับเจ้�อ�ว�สขณะนั้น คือ พระอธิก�ร

น�ย(ครูบ�น�ย) และร�ษฎรได้เห็นพ้องต้องกันด้วย ดังนั้นเจ้�ฟ้�อัต

ถวรปัญโญจึงให้ย้�ยวัดม�สร้�งใหม่ห่�งจ�กวัดเดิมประม�ณ 100 เมตร ท�ง

ด้�นทิศเหนือบนฝั่งขว�ของลำ�น้ำ�น่�น เมื่อวันที่ ๖ กุมภ�พันธ์ พ.ศ. ๒๓๒๘

บริเวณที่ตั้งวัดนั้นมีป่�ไม้สักที่สมบูรณ์ จึงได้ใช้ไม้สักบริเวณนั้นม�สร้�งวิห�ร

กุฏิสงฆ์และศ�สนวัตถุอื่นๆเป็นจำ�นวนม�ก และพระร�ชท�นน�มวัดใหม่ว่�

วัดป่�สักง�ม ต่อม�เมื่อพ.ศ. ๒๓๔๓ ได้โปรดเกล้�ให้หมื่นสรรพช่�ง ก่อสร้�ง

พระวิห�รกว้�ง ๑๕ เมตร ย�ว ๓๐ เมตร และสร้�งพระพุทธรูปยืน ป�ง

ประทับยืน พระประธ�นในวิห�ร หันพระพักตร์ไปท�งด้�นทิศเหนือ ขน�ด

สูง ๕ ศอก ดังนั้น จึงเปลี่ยนจ�กชื่อวัดป่�สักง�มเป็น “วัดบุญยืน”

ต�มลักษณะพระพุทธรูป และทรงโปรดเกล้�ฯให้เจ้�ร�ชวงศ์เชียงของ เป็นผู้

แกะสลักบ�นประตูใหญ่พระวิห�ร พระพุทธรูปไม้สัก พระพุทธรูปจำ�ลองเจ้�

ฟ้�อัตถวรปัญโญ และศ�สนวัตถุอื่นๆอีกเป็นจำ�นวนม�ก

ง�นศิลปกรรมและสถ�ปัตยกรรมนับว่�เป็นผลผลิตของก�ร

สะสมท�งศิลปวัฒนธรรมประจำ�ท้องถิ่น จ�กอดีตได้ผ่�นยุคสมัยต่�งๆ

ของประวัติศ�สตร์ม�จนถึงยุคปัจจุบัน จ�กที่หนึ่งไปสู่อีกที่หนึ่ง ล้วน

ต้องใช้เวล�และบ�งทีอ�จจะดูเป็นคว�มบังเอิญ แต่จ�กก�รศึกษ�

ร่องรอยในอดีตส�ม�รถบ่งบอกได้ว่�ทั้งหมดนั้นไม่ใช่คว�มบังเอิญ

เนื่องจ�กก�รสืบทอดต่อเนื่องและจ�รีตขนบประเพณีแต่ละท้องถิ่น

ต่�งห�กท่ีเป็นตัวกำ�หนดง�นศิลปสถ�ปัตยกรรมและง�นช่�งฝีมือ

ทุกแขนง จึงทำ�ให้เกิดคว�มลงตัวในสัดส่วนต่�งๆของง�นศิลปกรรม

และง�นสถ�ปัตยกรรม ทำ�ให้เกิดก�รพัฒน�ก�รของคว�มคิดใน

เชิงสร้�งสรรค์ของแต่ละท้องถิ่นแต่ละพื้นที่ ซึ่งมีธรรมช�ติขิงสภ�พ

แวดล้อมเป็นตัวส่งเสริมให้เกิดและมีสภ�พที่แตกต่�งกันออกไป ต�ม

คติคว�มเชื่อและปัจจัยพื้นฐ�นที่มีอยู่ ดังเช่นวิห�รวัดบุญยืน ซึ่ง

เป็นวัดหลวงและมีก�รผสมผส�นรูปแบบในง�นศิลปกรรมและง�น

สถ�ปัตยกรรมที่ได้รับอิทธิพลม�ในแต่ละยุคละสมัยได้อย่�งลงตัว จึง

กล�ยม�เป็นรูปแบบสถ�ปัตยกรรมในแบบของเมืองน่�นเอง

Page 3: Indy 2 : Multi-purpose table

วิหารวัดบุญยืน เป็นสถาปัตยกรรมแบบน่าน ซึ่งมีรูปแบบที่ใกล้เคียง

กับวิหารวัดพระธาตุแช่แห้ง ซึ่งแสดงความเป็นปึกแผ่นด้วยการซ้อนมุขของ

หลังคาหลายมุข และชายคาซ้อนกันหลายชั้น มีลักษณะลดหลั่นกันลงไป หน้า

บันวิหารด้านหน้าตกแต่งตามแบบเมืองน่านคือ แบบหน้าแหนบ แต่หน้าบัน

ด้านหลังนั้นกลับมีลวดลายแบบภาคกลาง ในยุคลวดลายกนกเฟื่องฟู และ

ปั้นลมนั้นทำาเป็นตัวนาคทอดยาวลงมา มีช่อฟ้าหางหงส์แบบล้านนาธรรมดา

คันทวยเป็นรูปพญานาคฝีมือช่างท้องถิ่น ที่เชิงบันไดทางขึ้นวิหารด้านหน้าทำา

เป็นสิงห์แบบพม่า ด้วยเหตุที่วัดบุญยืนเป็นวัดเก่าแก่ดั้งเดิมของอำาเภอเวียงสา

ซึ่งเคยเป็นเวียงเก่ามาก่อน เรียกว่า เวียงป้อ ในสมัยเจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ เจ้าผู้

ครองนครน่านได้ร่วมกับเจ้าราชบริพารสร้างวิหารวัดบุญยืนปัจจุบัน ดังนั้น รูป

ร่างวิหารซึ่งสร้างโดยนายช่างหมื่นสรรพช่าง ชาวน่านผู้เป็นข้าราชบริพารของ

เจ้าหลวงที่สร้างตามแบบล้านช้าง

โดยดูได้จากพระพุทธรูปยืนปางเปิดโลกในวิหาร และงานแกะ

สลักไม้ทวารบาลด้านหน้าเป็นรูปเทพดาฝีมือเจ้าราชวงศ์เชียงของ ดัง

นั้นฝีมือช่างล้านช้างจึงมาปรากฏที่วัดนี้เป็นแห่งแรก เป็นหลักฐานที่

สำาคัญเนื่องจาน่านเป็นหัวเมืองตะวันออกของล้านนาที่สำาคัญมากดัง

นั้น ศิลปสถาปัตยกรรมและงานตกแต่งรวมทั้งงานประติมากรรมแบบ

ล้านนาและล้านช้างจึงมาผสมผสานกันที่จังหวัดน่านนี้ เป็นจุดแรก

เพราะเป็นประตูที่จะไปสู่ล้านช้างซึ่งเป็นอาณาจักรคู่กันของดินแดน

ล้านนามาแต่โบราณ ในสมัยพระไชยเชษฐาธิราชกษัตริย์ล้านช้างซึ่ง

เคยมาปกครองเชียงใหม่ตอนปลายๆ ทำาให้ศิลปะแบบล้านช้างนั้นได้

แพร่เข้ามาในล้านนา

Page 4: Indy 2 : Multi-purpose table

Inspiration

ได้รับแรงบันด�ลใจจ�กหลังค�วิห�รวัดบุญยืน ซึ่งมีโครงสร้�งที่

ซับซ้อน คือด้�นหน้�จะซ้อนชั้นกัน 3 ชั้นลดหลั่นกันลงม� และด้�นหลัง

จะซ้อนชั้นกัน 2 ชั้นลดหลั่นกันลงม�เช่นกัน ซึ่งเป็นโครงสร้�งม�ตรฐ�น

ของก�รสร้�งหลังค�วิห�รในล้�นน� ด้วยลักษณะของง�นศิลปกรรม

ที่เป็นเอกลักษณ์นี้จึงได้นำ�ม�เป็นแรงบันด�ลใจในก�รออกแบบเป็น

โต๊ะอเนกประสงค์ที่ได้ลดทอนรูปทรง และส�ม�รถใช้ได้ในง�นที่หล�ก

หล�ยและในชีวิตประจำ�วัน

Concept

รูปแบบของโต๊ะอ�ห�รอเนกประสงค์นี้ ถูกออกแบบให้มีคว�

ส�ม�รถในก�รใช้ง�นในโอก�สที่หล�กหล�ยมีลักษณะเป็นรูปทรง

สี่เหลี่ยมผืนผ้� ที่มีคว�มซับซ้อนและได้มีก�รลดทอนรูปทรงจ�กหลังค�

วิห�รวัดบุญยืน ให้มีคว�มเรียบง่�ย ส�ม�รถดึงเข้�ออก และพับเก็บ

ได้สะดวก ส�ม�รถปรับขน�ดของโต๊ะในแนวย�วได้ในหล�ยระดับ

ต�มคว�มเหม�ะสมในก�รใช้ง�น ในส่วนของวัสดุที่ใช้ในก�รทำ�โต๊ะ

อเนกประสงค์นี้จะเป็นลักษณะของก�รไม้ และอลูมิเนียม เพื่อให้มีคว�ม

ทนท�นในก�รใช้ง�มม�กขึ้น

Multi-purpose table โต๊ะอเนกประสงค์

Page 5: Indy 2 : Multi-purpose table

Materialวัสดุ

ไม้เอ็มดีเอฟ (MDF) Medium Density Fibreboard

ไม้เอ็มดีเอฟ (MDF ย่อจ�ก medium-density fiberboard)

หรือ ไฟเบอร์บอร์ด คว�มหน�แน่นป�นกล�ง เป็นไม้วิศวกรรมประเภท

หนึ่งสร้�งขึ้นจ�กก�รบดไม้เนื้ออ่อน แล้วม�อัดเป็นชิ้นไม้โดยประส�น

กันด้วยส�รเคมีภ�ยใต้อุณหภูมิและคว�มดันสูง เอ็มดีเอฟมีลักษณะ

คล้�ยไม้อัด แต่ลักษณะของโครงสร้�งของไม้จะต่�งกันโดยส่วน

ประกอบของเอ็มดีเอฟทำ�ม�จ�กเยื่อไม้

คุณสมบัติของไม้ MDF คือ มีผิวเนื้อในละเอียดเป็นเนื้อเดียวกัน

ตลอดทั่วทั้งแผ่น มีคว�มหน� คว�มแน่น และคว�มเรียบสม่ำ�เสมอ

ตลอดทั้งแผ่น ส�ม�รถขูดแต่งเนื้อไม้ได้เรียบเนียบ ง�นที่ออกม�จึงดู

เรียบร้อยไม่เป็นขุย ส�ม�รถนำ�ม�พ่นสีในเนื้อไม้ได้สวยง�ม

Main Material :วัสดุหลัก

Multi-purpose table โต๊ะอเนกประสงค์

Page 6: Indy 2 : Multi-purpose table

อลูมิเนียม (Aluminium)

อลูมิเนียมลักษณะภ�ยนอกของอลู มิเนียมคือมีสีเงิน มีคว�มหน�

แน่นน้อย น้ำ�หนักเบ� และมีกำ�ลังวัสดุต่อหน่วยน้ำ�หนัก (Strenght-to-

Weght Ratio)สูง อลูมิเนียมเป็นตัวนำ�คว�มร้อนได้ดีและเหม�ะอย่�งยิ่ง

กับง�นขึ้นรูป และง�นป�ดผิวโลหะเช่นอัด รีด ดึง ตัด เจ�ะ กลึง ไส กัด

คุณสมบัติของอลูมิเนียม คือ มีคว�มหน�แน่นน้อย น้ำ�หนักเบ� และ

มีกำ�ลังวัสดุต่อน้ำ�หนักสูง ทนท�นต่อก�รเกิดเป็นสนิมและก�รผุกร่อน ใน

บรรย�ก�ศที่ใช้ง�นโดยทั่วไปได้ดีม�ก แต่ไม่ทนท�นต่อก�รกัดกร่อนของ

กรดแก่ และด่�งทั่วๆไป ห�ซื้อได้ง่�ยต�มท้องตล�ด และร�ค�ไม่แพงนัก

ใช้ในก�รตกแต่ง ในง�นเฟอร์นิเจอร์ ตลอดจนใช้เป็นอุปกรณ์ตกแต่งบ้�น

เป็นโลหะที่ยังมีก�รพัฒน�อย่�งไม่หยุดยั้ง เป็นโลหะที่ไม่มีพิษต่อร่�งก�ย

และไม่มีค่�ก�รนำ�คว�มร้อนสูง ใช้ทำ�ภ�ชนะหุงต้มอ�ห�ร และห่อรองรับ

อ�ห�ร

Page 7: Indy 2 : Multi-purpose table

อลูมิเนียม (Aluminium) วัสดุที่มีความน่าสนใจ

แผ่นลามิเนต(Laminate)

แผ่นล�มิเนทผลิตจ�กกระด�ษพิมพ์ล�ยไม้ เคลือบผิวหน้�

ด้วย Melamine resin ทนต่อรอยขีดข่วนป้องกันคว�มชื้นและคร�บ

สกปรก ง่�ยต่อก�รทำ�คว�มสะอ�ด แกนกล�งผลิตจ�กไม้เนื้อแข็ง

บดละเอียดผสมส�รกันแมลงแล้วคืนรูปเป็นแผ่นไม้ โดยใช้คว�มร้อน

และแรงดันสูงอัด เพื่อให้ได้เป็น HDF (High Density Fiber ) Boar

dแผ่นพล�สติกเสริมคว�มแข็งแกร่ง และป้องกันคว�มชื้นจ�กพื้นด้�น

ล่�ง จุดเด่นของไม้ล�มิเนต ทนต่อส�รเคมี ทนต่อแสงแดด UV ทนต่อ

คว�มร้อน เช่น บุหรี่ ทนต่อก�รขูดขีด ร�ค�ถูก ประหยัด ให้คว�มรู้สึก

เหมือนธรรมช�ติ ล�ยไม้มีสีสดใสเหมือนจริง

คุณสมบัติของแผ่นล�มิเนต คือ แผ่นล�มิเนทผลิตจ�กกระด�ษ

พิมพ์ล�ยไม้อ�บด้วย Melarmine resin ให้ละเอียดคว�มเหมือน

จริงทั้งลวดล�ย และสีสัน HDF (High Density Fiber ) Board HDF

Board ทำ�หน้�ที่หลักในก�รให้คว�มแข็งแรงของแผ่นพื้น มีคว�มหน�

แน่นสูง ทนต่อคว�มชื้นแผ่นพล�สติกแพคกิ้ง ทนต่อคว�มชื้น เรียบ

สม่ำ�เสมอ ประกอบ ๓ ชั้น ยึดติดด้วยก�วทนน้ำ�ชนิด Urea formal-

dehyde ซึ่งเป็นก�ว ๑๑๐ องศ�เซลเซีส ชนิด Thermosetting

วัสดุอื่นๆ

ได้แก่ น๊อต บ�นพับ ซึ่งใช้ในก�รประกอบเป็นโต๊ะ

อเนกประสงค์

Page 8: Indy 2 : Multi-purpose table

Design 1. Inspiration แรงบันดาลใจ แรงบันดาลใจในการออกแบบรูปทรงของชิ้นงานมา

จากลักษณะรูปแบบของโต๊ะที่ทำาจากไม้ และทำาให้มีลวดลาย

เป็นเอกลักษณ์เฉพาะโดยการใส่ลวดลายท่ีมีอยู่ในวิหารวัดบุญ

ยืนและมีการลดทอนของลวดลายแล้ว

2. Materialsวัสดุ จ�กแรงบันด�ลใจที่ได้ นำ�ม�คิดค้นวัสดุที่จะนำ�ม�ทำ�โต๊ะ ซึ่งกำ�หนด

ไว้ดังนี้

2.1 วัสดุหลัก ได้แก่ ไม้เอ็มดีเอฟ อลูมิเนียม

2.2 วัสดุประกอบ ได้แก่ น๊อต และบ�นพับ ซึ่งใช้ในก�รประกอบเป็นชิ้นง�น

เข้�ด้วยกัน

Page 9: Indy 2 : Multi-purpose table

3. Shapes รูปทรง

จ�กแรงบันด�ลใจและวัสดุที่ได้ จึงนำ�ม�ห�รูปทรงที่ใช้ในก�รออกแแบบ ซึ่งรูปทรงที่ได้ม�จ�กรูปทรงของสี่เหลี่ยมจัตุรัส และสี

เหลี่ยมผืนผ้� ซึ่งเกิดจ�กก�รซ้อนทับกันและส�ม�รถขย�ยหรือลดพื้นที่ก�รใช้ง�นได้ ซึ่งเป็นเทคนิคจ�กก�รพับและก�รดึงของชิ้นง�นนี้

ได้

Page 10: Indy 2 : Multi-purpose table

4. Patternsลวดลาย

เลือกห�ลวดล�ยที่เหม�ะสมกับง�นชิ้น ซึ่งลวดล�ยที่นำ�ม�ใช้ในชิ้นง�นนี้ได้แก่ ลวดล�ยบริเวณหน้�บันด้�นหน้� และลวดล�ยตรง

ประตูด้�นหลังของวิห�รวัดบุญยืน

เทคนิคของลวดลาย

Page 11: Indy 2 : Multi-purpose table

เทคนิคของลวดลาย

เทคนิคของลวดล�ยใช้วิธีก�รพิมพ์ล�ยแบบสเตนซิล (Stencil Printing) โดยก�รทำ�แม่พิมพ์ต�มแบบของลวดล�ยที่เลือกไว้ด้วย

ก�รตัดเจ�ะกระด�ษหรือวัสดุอื่นเป็นช่องต�มลักษณะของรูปที่ต้องก�ร แล้วท�บแม่พิมพ์ลงบนชิ้นง�นในส่วนที่ต้องก�รให้มีลวดล�ยแล้วใช้

หมึกหรือสีพ่นหรือป�ดลงบนแม่พิมพ์ ก็จะได้ลวดล�ยต�มแบบที่ต้องก�ร

ตัวอย่างการใช้เทคนิคแบบสเตนซิล

Page 12: Indy 2 : Multi-purpose table

เฟอร์นิเจอร์ชิ้นนี้ถูกออกแบบม�ให้ส�ม�รถปรับขน�ดได้ ส�ม�รถยืดดึงออกหรือพับเก็บได้เพื่อประหยัดพื้นที่ในก�รจัดว�ง และมีฟังก์ชั่นก�ร

ใช้ง�นที่หล�กหล�ย เนื่องจ�กมีก�รปรับขน�ดของชิ้นง�นได้สะดวก

5. Function การใช้งาน

Page 13: Indy 2 : Multi-purpose table

รูปแบบที่1 Elevation 5. Function การใช้งาน

Perspective Front Side

Page 14: Indy 2 : Multi-purpose table

Top Bottom

Page 15: Indy 2 : Multi-purpose table

รูปแบบที่2 Elevation Front

Perspective

Side

Page 16: Indy 2 : Multi-purpose table

Top

Bottom

Page 17: Indy 2 : Multi-purpose table

รูปแบบที่3 Elevation Perspective

Front Side

Page 18: Indy 2 : Multi-purpose table

Bottom

Top

Page 19: Indy 2 : Multi-purpose table

Multi-purpose table