k 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 abstract 2...

29
เอกสารวิชาการฉบับที/๒๕๕๑ Technical Paper No. 9/2008 การใชมันสําปะหลังผสมในอาหารสําหรับเลี้ยงปลาแรดในกระชัง Use of Cassava in Diet for Rearing of Giant Gourami (Osphronemus goramy Lacepede, 1802) in Net Cage เอกพจน เจริญศิริวงศธนา Ekkapod Jalernsiriwongthna สุพัตร ศรีพัฒน Supat Sripat สุจิตรา สรสิทธิSuchitra Sorasit สํานักวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืด Inland Fisheries Research and Development Bureau กรมประมง Department of Fisheries กระทรวงเกษตรและสหกรณ Ministry of Agriculture and Cooperatives านั กวิ จัยและพัฒนาประมงน้ าจืด

Upload: others

Post on 21-Jun-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

เอกสารวิชาการฉบับท่ี ๙/๒๕๕๑ Technical Paper No. 9/2008

การใชมันสําปะหลังผสมในอาหารสําหรับเลี้ยงปลาแรดในกระชัง Use of Cassava in Diet for Rearing of Giant Gourami (Osphronemus goramy Lacepede, 1802) in Net Cage

เอกพจน เจริญศิริวงศธนา Ekkapod Jalernsiriwongthna สุพัตร ศรีพัฒน Supat Sripat สุจิตรา สรสิทธ์ิ Suchitra Sorasit

สํานักวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืด Inland Fisheries Research and Development Bureau กรมประมง Department of Fisheries กระทรวงเกษตรและสหกรณ Ministry of Agriculture and Cooperatives

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 2: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

2

เอกสารวิชาการฉบับท่ี ๙/๒๕๕๑ Technical Paper No. 9/2008

การใชมันสําปะหลังผสมในอาหารสําหรับเลี้ยงปลาแรดในกระชัง Use of Cassava in Diet for Rearing of Giant Gourami (Osphronemus goramy Lacepede, 1802) in Net Cage

เอกพจน เจริญศิริวงศธนา Ekkapod Jalernsiriwongthna สุพัตร ศรีพัฒน Supat Sripat สุจิตรา สรสิทธ์ิ Suchitra Sorasit

สถานีประมงน้ําจืดจังหวัดเพชรบูรณ Phetchabun Inland Fisheries Station สํานักวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืด Inland Fisheries Research and Development Bureau กรมประมง Department of Fisheries ๒๕๕๑ 2008

รหัสทะเบียนวิจัยเลขท่ี 49-0533-49046

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 3: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

i

สารบาญ หนา บทคัดยอ 1 Abstract 2 คํานํา 3 วัตถุประสงค 4 วิธีดําเนินการ 4

1. การวางแผนการทดลอง 4 2. วัสดุอุปกรณ 4 3. วิธีดําเนินการทดลอง 5 4. การวิเคราะหขอมูล 7

ผลการศึกษา 9 1. การเจริญเติบโต 9 2. ประสิทธิภาพของโปรตีนในอาหาร 12 3. โปรตีนที่เพิ่มขึ้นในตัวปลา 12 4. ปริมาณอาหารที่ปลากิน 13 5. ปริมาณโปรตีนที่ปลากิน 14 6. ปริมาณไขมันที่ปลากิน 14 7. อัตราแลกเนื้อ 14 8. อัตรารอด 15 9. องคประกอบทางเคมีของตัวปลา 15 10. Hepatosomatic index 16 11. ปริมาณไขมันในตับปลา 16 12. คาองคประกอบของกรดไขมันในตับปลา 17 13. คุณภาพน้ํา 18 14. ตนทุนการผลิต 18 15. รายไดและผลตอบแทนตอการลงทุน 18

สรุปและวิจารณผล 21 เอกสารอางอิง 23 ภาคผนวก 25

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 4: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

ii

สารบาญตาราง ตารางที่ หนา

1 สวนประกอบและผลวิเคราะหคุณคาทางเคมีของอาหารทดลอง 6 2 น้ําหนกัเฉลี่ย (กรัม) ของปลาแรดที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังตางกัน 5 ระดับ

เปนระยะเวลา 8 เดือน 10

3 ความยาวเฉลี่ย (เซนติเมตร) ของปลาแรดที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังตางกัน 5 ระดับ เปนระยะเวลา 8 เดอืน

11

4 ผลการทดลองของปลาแรดที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังตางกัน 5 ระดับ เปนระยะเวลา 8 เดือน

13

5 องคประกอบทางเคมีของตัวปลากอน และหลังการทดลอง 15 6 Hepatosomatic index และปรมิาณไขมันในตับปลา 16 7 องคประกอบของกรดไขมนั (% of total lipid) ในตับปลา 17 8 คุณภาพน้ําบางประการระหวางการทดลอง 18 9 ตนทุนการผลิตของการเลี้ยงปลาแรดดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังตางกัน 5 ระดับ

เปนระยะเวลา 8 เดือน 19

10 รายไดและผลตอบแทนตอการลงทุนของการเลี้ยงปลาแรดดวยอาหารทีม่ีปริมาณมันสําปะหลังตางกัน 5 ระดบั เปนระยะเวลา 8 เดือน

20

ตารางผนวกที ่

1 ราคา (บาท) วตัถุดิบอาหารทดลองที่มีมันสําปะหลังตางกัน 5 ระดับ 25

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 5: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

การใชมันสําปะหลังผสมในอาหารสําหรับเลี้ยงปลาแรดในกระชัง

เอกพจน เจริญศิริวงศธนา๑ สุพัตร ศรีพฒัน๒ และ สุจิตรา สรสิทธ์ิ๓ ๑สถานีประมงน้ําจืดจังหวดัแมฮองสอน กรมประมง

๒สถานีประมงน้ําจืดจังหวดัสุโขทัย กรมประมง ๓สถานีประมงน้ําจืดจังหวดัเพชรบูรณ กรมประมง

บทคัดยอ

การทดลองเลี้ยงปลาแรดในกระชังดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 0 (สูตรควบคุม), 25, 30, 35 และ 40 เปอรเซ็นต อาหารมีระดับโปรตีน 35 เปอรเซ็นต และพลังงานรวมในอาหาร 450 กิโลแคลอรีตออาหาร 100 กรัม เทากัน ปลามีน้ําหนักเริ่มตนเฉลี่ย 47.17+3.35 กรัม ความยาวเริ่มตนเฉลี่ย 13.64+0.51 เซนติเมตร เล้ียงในกระชังขนาด 2.0×2.0×1.5 เมตร ที่แขวนลอยอยูในบอเก็บน้ําขนาด 25 ไร อัตราปลอย 80 ตัวตอกระชัง ใหอาหารปลากินจนอิ่มวันละ 2 คร้ัง เปนเวลา 8 เดือน

ผลการทดลองพบวาปลาแรดที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 0 (สูตรควบคุม), 25 และ 30 เปอรเซ็นต ปลามีคาการเจริญเติบโตแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) ในดานของน้ําหนักสุดทาย (520.13-531.72 กรัม) น้ําหนักเพิ่มตอวัน (1.97-2.02 กรัมตอตัวตอวัน) และอัตราการเจริญเติบโตจําเพาะ (1.00-1.01 เปอรเซ็นตตอวัน) แตมีคามากกวาปลาที่เลี้ยงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 35 และ 40 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) สวนปริมาณโปรตีนที่เพิ่มขึ้น อัตราแลกเนื้อ และ hepatosomatic index ของปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 30 เปอรเซ็นต มีคาแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเทียบกับปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 0 (สูตรควบคุม) และ 25 เปอรเซ็นต และพบวาทุกชุดการทดลองมีคา condition factor (K) และอัตรารอดแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) จากการศึกษาครั้งนี้สามารถสรุปไดวาอาหารที่มีปริมาณ มันสําปะหลัง 30 เปอรเซ็นต มีความเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของปลาแรด

คําสําคัญ: ปลาแรด มันสําปะหลัง อาหาร ผูรับผิดชอบ: ๙๙/๑ หมู ๓ ต.สะเดียง อ.เมือง จ.เพชรบรูณ ๖๗๐๐๐ e-mail: [email protected]

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 6: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

2 Use of Cassava in Diet for Rearing of Giant Gourami (Osphronemus goramy Lacepede, 1802) in Net Cage

Ekkapod Jalernsiriwongthna1 Supat Sripat2 and Suchitra Sorasit3 1Maehongson Inland Fisheries Station, Department of Fisheries

2Sukhothai Inland Fisheries Station, Department of Fisheries 3Phetchabun Inland Fisheries Station, Department of Fisheries

Abstract

Cage culture of Giant gourami (Osphronemus goramy Lacepede, 1802) was conducted to contain cassava 0 (control), 25, 30, 35 and 40% of diet. The diets were isonitrogenous (35%) and isocaloric (450 kcal per 100g of diet). Fish initial body weight 47.17+3.35 g and total length 13.64+0.51 cm were held in fifteen 2.0×2.0×1.5 m net cages floating in 25 rais reservoir at a stocking density of 80 fish per net cages and fed to apparent satiation twice daily for 8 months.

The results showed that fish fed 0 (control), 25 and 30% of cassava diet had no significant differences (p>0.05) of the values: body weight (520.13-531.72 g), daily weight gain (1.97-2.02 g per fish per day), and specific growth rate (1.00-1.01% per day). However, they were significantly higher than those fed with 35 and 40% of cassava diet (p<0.05). The apparent net protein retention, feed conversion ratio and hepatosomatic index of fish fed with 30% of cassava diet were not significantly different (p>0.05) compared to fish fed with 0 (control) and 25% of cassava diet. There were no significant differences (p>0.05) among treatments in the values of condition factor (K) and survival rate. The study concluded that the 30% of cassava diet is optimum for promoting growth performances of fish.

Key words: Giant gourami (Osphronemus goramy), cassava, diet

Corresposding author: 99/1 Mu 5, Tumbon Sadiang, Amphoe Mueang, Phetchabun Province 67000 e-mail: [email protected]

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 7: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

3

คํานํา

ปลาแรดมีช่ือวิทยาศาสตรวา Osphronemus goramy Lacepede, 1802 สามารถพบไดทั่วไปตามแหลงน้ําตางๆ ของประเทศไทย ปลาแรดสามารถกินอาหารไดทุกชนิดโดยเฉพาะพืช และจัดเปนปลาที่ กินพืชเปนอาหาร (herbivore) ที่มีพฤติกรรมการกินอาหารเปลี่ยนแปลงตามขนาดของปลา คือ เมื่อปลาโตเต็มวัยปลาจะกินพืช และพันธุไมน้ําเปนอาหาร (กิจจา, 2508; วันเพ็ญ, 2528) ปลาแรดเปนปลาที่มีเนื้อแนน มีกางนอย จึงเปนที่ตองการของผูบริโภค และเปนปลาที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่เกษตรกรเลี้ยงกันมากในหลายพื้นที่ของประเทศไทย มีทั้งที่เล้ียงเปนทั้งปลาสวยงาม และเพื่อการบริโภค การเลี้ยงปลาแรดนิยมเล้ียงในบอดิน และในกระชัง และเนื่องจากการเลี้ยงปลาแรดใหผลตอบแทนที่คอนขางสูงมีราคาจําหนายกิโลกรัมละ 50-80 บาท ทําใหเกษตรกรนิยมเลี้ยงกันอยางแพรหลาย จากสถิติการประมงแหงประเทศไทย พ.ศ. 2546 ปริมาณผลผลิตของปลาแรดในประเทศมีจํานวน 2,129.69 ตัน คิดเปนมูลคา 128,446,850 ลานบาท (กลุมวิจัยและวิเคราะหสถิติการประมง, 2548) แตในการเลี้ยงปลาสิ่งที่มีความสําคัญประการหนึ่ง คือ อาหารที่ใชเล้ียงเพื่อใหสัตวน้ํามีการเจริญเติบโตที่ดี ซ่ึง จูอะดี และคณะ (2545) กลาววา ตนทุนในการเลี้ยงปลาสวนใหญประมาณ 50-60 เปอรเซ็นต เปนตนทุนคาอาหาร ดังนั้นการเลี้ยงปลาใหมีผลตอบแทนที่ดี จึงจําเปนอยางยิ่งที่ตองหาแนวทางลดตนทุนคาอาหารในการเลี้ยงใหนอยลง และเนื่องจากปลาแรดเปนปลากินพืชเปนอาหาร (herbivore) ดังนั้นอาหารที่ใชเล้ียงจึงสามารถใชวัตถุดิบอาหารประเภทพืชผสมในอาหารโดยปลาสามารถใชประโยชนเพื่อการเจริญเติบโต มันสําปะหลัง (cassava) จัดเปนวัตถุดิบชนิดหนึ่งที่มีมากในทุกภาคของประเทศ และมีราคาถูก สามารถนํามาใชเปนสวนประกอบของอาหารปลาได มันสําปะหลังที่นิยมใชเปนสวนประกอบในอาหารสัตว เชน มันเสน (cassava chip) มันสําปะหลังอัดเม็ด (cassava pellet) ซ่ึงมีองคประกอบทางเคมี คือ มีความชื้น 13 เปอรเซ็นต โปรตีน 2 เปอรเซ็นต เยื่อใย 4-5 เปอรเซ็นต และแปง 65-70 เปอรเซ็นต (Kanto and Juttupornpong, 2005) และจากการศึกษาของ Ng and Wee (1989) กลาววาปลานิลที่เล้ียงดวยอาหารที่มีมันสําปะหลัง 26.8 เปอรเซ็นต มีคาการยอยไดทั้งหมด 48.89 เปอรเซ็นต แตเนื่องจากการใชมันสําปะหลัง หรือ มันเสน (cassava chip) มีขอจํากัดเนื่องมาจากในมันสําปะหลังมีสารพิษชนิดกรดไฮโดรไซยานิค ซ่ึงสารพิษดังกลาวเปนปจจัยจํากัดในการใชมันสําปะหลังเสนเปนสวนประกอบของอาหารสัตวตางๆ นั้นคือหากมีการใชมันสําปะหลังเปนสวนผสมของอาหารสัตวในปริมาณมากเกินระดับที่เหมาะสมจะทําใหสัตวไดรับสารพิษกรดไฮโดรไซยานิคมากจนสงผลใหการเจริญเติบโตของสัตวลดลง (Tewe, 1991) สําหรับมันสําปะหลังในประเทศไทย อุทัย และคณะ (2540) รายงานวาสามารถลดปริมาณสารพิษในมันสําปะหลังไดโดยการนําหัวมันสําปะหลังสดมาหั่นเปนชิ้นเล็กๆ แลวผ่ึงแดดใหแหงประมาณ 3-4 วัน (การทํามันเสน) ปริมาณกรดไฮโดรซานิคลดลงเหลือประมาณ 30 สวนตอลานสวน (ppm) และจากรายงานการศึกษาของ Tewe and Lyayi (1989) กลาววามันสําปะหลังชนิดมันเสน (cassava chip) มีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิคประมาณ 23.1-41.6 สวนตอลานสวน (ppm) ซ่ึงเปนระดับที่ไมเปนอันตรายตอตัวสัตว ดังนั้นผูวิจัยจึงวางแผนการทดลองโดยใชมันสําปะหลัง หรือ มันเสน (cassava chip) เปนสวนประกอบในอาหารสําหรับเลี้ยงปลาแรด

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 8: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

4

วัตถุประสงค

เพื่อศึกษาปริมาณมันสําปะหลังที่เหมาะสมในอาหารสําหรับเล้ียงปลาแรด โดยพิจารณาจากคาอัตราการเจริญเติบโต น้ําหนักเพิ่มตอวัน อัตราการเจริญเติบโตจําเพาะ อัตราแลกเนื้อ และอัตรารอดของปลา

วิธีดําเนินการ

1. การวางแผนการทดลอง

1.1 การวางแผนการทดลอง วางแผนการทดลองแบบสุมตลอด (completely randomized design) แบงการทดลองเปน 5

ชุดการทดลองๆ ละ 3 ซํ้า อาหารแตละชุดการทดลองมีโปรตีนใกลเคียงกันประมาณ 35 เปอรเซ็นต มี พลังงานรวมในอาหารประมาณ 450 กิโลแคลอรีตออาหาร 100 กรัม แตละชุดการทดลองมีปริมาณ มันสําปะหลังตางกัน ดังนี้

ชุดการทดลองที่ 1 อาหารที่มีมันสําปะหลัง 0 เปอรเซ็นต (สูตรควบคุม) ชุดการทดลองที่ 2 อาหารที่มีมันสําปะหลัง 25 เปอรเซ็นต ชุดการทดลองที่ 3 อาหารที่มีมันสําปะหลัง 30 เปอรเซ็นต ชุดการทดลองที่ 4 อาหารที่มีมันสําปะหลัง 35 เปอรเซ็นต ชุดการทดลองที่ 5 อาหารที่มีมันสําปะหลัง 40 เปอรเซ็นต

1.2 สถานที่ และระยะเวลาดําเนินการทดลอง ดําเนินการทดลองที่สถานีประมงน้ําจืดจังหวัดเพชรบูรณ ระหวางเดอืนพฤศจิกายน 2548-

มิถุนายน 2549 เปนระยะเวลา 8 เดือน

2. วัสดุอุปกรณ

2.1 กระชังทดลอง กระชังทดลองเปนกระชังเนื้ออวนโพลีเอทธิลีนขนาดชองตา 3 เซนติเมตร กระชังมีขนาด

2.0×2.0×1.5 เมตร มีสวนของกระชังจมอยูใตน้ํา 1.0 เมตร โครงทําดวยทอเหล็กกลวงขนาดเสนผานศูนยกลาง 1.5 นิ้ว พยุงดวยถังน้ํามัน 200 ลิตร จํานวน 6 ลูกตอกระชัง แพกระชังทดลองลอยในบอเก็บน้ําขนาด 25 ไร ลึก 3 เมตร ของสถานีประมงน้ําจืดจังหวัดเพชรบูรณ

2.2 ปลาทดลอง ใชปลาแรดที่ไดจากการเพาะพันธุในรุนเดียวกันของสถานีประมงน้ําจืดจังหวัดเพชรบูรณ

อนุบาลในบอดินจนไดขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 30 กรัม แลวนํามาเลี้ยงตอในบอคอนกรีต ขนาด 50 ลูกบาศกเมตร เปนระยะเวลา 1 เดือน โดยใหอาหารสูตรควบคุมวันละ 2 คร้ัง (เวลา 08.30 น. และ 16.00 น.) โดยใหกินจนอิ่ม หลังจากนั้นจึงคัดขนาดปลาแรดที่มีขนาดใกลเคียงกันเพื่อนํามาทําการทดลอง ปลาเริ่มการทดลองมีน้ําหนักเฉล่ีย 47.17+3.35 กรัม ความยาวเฉลี่ย 13.64+0.51 เซนติเมตร ทําการสุมปลาปลอยลงกระชังๆ ละ 80 ตัว

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 9: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

5

2.3 มันสําปะหลังที่ใชในการทดลองเปนมันเสน (cassava chip) ตากแหงที่มีขายทั่วไป โดยนํามาบดละเอียดกอนนําไปผสมสูตรอาหาร

2.4 อาหารทดลอง เตรียมอาหารตามตารางที่ 1 โดยนําวัตถุดิบอาหารแตละสูตรผสมใหเขากันแลวเติมน้ําประมาณ

30 เปอรเซ็นตของน้ําหนักอาหาร จากนัน้นาํมาอดัเมด็ดวยเครื่องบดเนื้อ ที่มีรูหนาแวนขนาดเสนผานศูนยกลาง 5 มิลลิเมตร อาหารที่ไดมีลักษณะเปนเสนยาวประมาณ 0.5-1 เซนติเมตร นํามาผึ่งลมใหแหง (ความชื้นในอาหารมีคาระหวาง 7.03-9.29 เปอรเซ็นต) เก็บที่อุณหภูมิ -17 องศาเซลเซียส สุมอาหารทดลองแตละสูตรจํานวน 300 กรัม นําไปวเิคราะหองคประกอบทางเคมี (proximate analysis) ที่ภาควิชาประมง คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน จังหวัดขอนแกน ไดแก โปรตนี ไขมัน กาก เถา และความชื้น โดยใชวิธี micro-kjeldahl, ether extraction, acid-alkali digestion, muffle furnace combustion และ oven drying ตามวิธีของ AOAC (1990) ตามลําดับ สวนคาปริมาณคารโบไฮเดรตที่ละลายได (NFE) และพลังงานรวม (gross energy, GE) ใชวิธีการคํานวณตามวธีิของ NRC (1993) ดังนี ้

NFE (เปอรเซ็นต) = 100-(% โปรตีน+% ไขมัน+% กาก+% เถา+% ความชื้น) พลังงานรวม (GE) = (% โปรตีน×5.64)+(% ไขมัน×9.44)+(% คารโบไฮเดรต×4.11) (กิโลแคลอรีตออาหาร 100 กรัม)

3. วิธีดําเนินการทดลอง

3.1 อาหาร และการใหอาหาร ใหอาหารวันละ 2 ครั้ง เวลา 08.30 น. และ 16.00 น. โดยแตละครั้งใหปลากินจนอ่ิม และให

อาหารโดยใสลงในยอรูปส่ีเหล่ียมขนาด 1.0×1.0×0.1 เมตร โครงยอทําดวยเหล็กเสนขนาด 0.63 เซนติเมตร พื้นยอทําดวยตาขายไนลอนสีฟาขนาด 22 ชองตาตอนิ้ว เพื่อปองกันอาหารสูญเสียในขณะทําการทดลอง และแขวนยอสําหรับใหอาหารลงในน้ําลึก 0.5 เมตร จากผิวน้ํา หากมีอาหารเหลือหลังจากเริ่มใหอาหารแลว 30 นาที ทําการเก็บเศษอาหารที่เหลือนํามาอบใหแหงที่อุณหภูมิ 135 องศาเซลเซียส นาน 2 ช่ัวโมง หรือจนกระทั่งอาหารมีความชื้นไมเกิน 10 เปอรเซ็นต นําอาหารที่อบแลวทิ้งใหเย็นลงไปชั่งน้ําหนักเพื่อคํานวณหาปริมาณอาหารที่ปลากิน

3.2 การรวบรวมขอมูล การเก็บขอมูลโดยชั่งน้ําหนัก และวัดความยาวของปลา (total length) ทั้งหมด และตรวจนับ

จํานวนปลาเดือนละ 1 คร้ัง เพื่อตรวจสอบการเจริญเติบโต และอัตรารอด ใชระยะเวลาการทดลอง 8 เดือน เมื่อส้ินสุดการทดลองสุมเก็บตัวอยางปลาทุกกระชังๆ ละ 5 ตัว นําปลาแตละกระชังบดให

ละเอียดทั้งตัวแลวสุมตัวอยาง 200 กรัม เพื่อนําไปวิเคราะหองคประกอบทางเคมีในตัวปลา สุมตัวอยางปลา เพื่อเก็บตัวอยางตับปลาสด โดยเก็บตัวอยางทุกชุดการทดลองๆ ละ 3 ซํ้าๆ ละ 3

ตัว แลวนําไปวิเคราะหหาคาปริมาณไขมัน และกรดไขมัน (fatty acid) ในตับ โดยวิธีของ Kates (1986) และ Gandhi and Weete (1991) ตามลําดับ

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 10: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

6

ตารางที่ 1 สวนประกอบและผลวิเคราะหคุณคาทางเคมีของอาหารทดลอง

ปริมาณมันสําปะหลัง (เปอรเซ็นต) วัตถุดิบอาหาร 0 25 30 35 40

ปลาปน 34.0 34.0 34.0 34.0 34.0 กากถั่วเหลือง 20.0 20.0 20.0 20.0 20.0 สารเหนียว (α-starch) 5.0 5.0 5.0 5.0 3.0 ปลายขาวบดละเอียด 25.0 - - - - มันสําปะหลังบดละเอียด - 25.0 30.0 35.0 40.0 น้ํามันปลาทะเล 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5 น้ํามันปาลม 5.2 5.2 4.2 3.2 0.7 วิตามินซี 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 โคลีนคลอไรด (50 เปอรเซ็นต) 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 วิตามินรวม1 0.15 0.15 0.15 0.15 0.15 แรธาตุรวม2 0.15 0.15 0.15 0.15 0.15 แกลบบดละเอียด 9.8 9.8 5.8 1.8 1.3 รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 คาจากการวเิคราะห (เปอรเซ็นตน้ําหนักแหง) โปรตีน 35.94 34.52 34.60 34.54 34.50 ไขมัน 10.70 11.93 10.64 8.72 7.98 เยื่อใย 4.28 5.58 4.10 2.59 1.57 เถา 13.51 13.89 13.86 12.97 12.71 คาจากการคํานวณ NFE (เปอรเซ็นต) 35.57 34.08 36.80 41.18 43.24 พลังงานรวม 449.90 447.38 446.83 446.37 447.63 (กิโลแคลอรีตออาหาร 100 กรัม) หมายเหต ุ 1วติามินรวม ในอาหาร 1 กก. ประกอบดวย vitamin A 4,000 IU; vitamin D3 2,000 IU; vitamin E

50 IU; menadione sodium bisulfite 10 mg; thiamine 20 mg; riboflavin 20 mg; niacin 150 mg; calcium panthothenate 20 mg; folic acid 5 mg; pyridoxine 20 mg; vitamin B12 0.2 mg; biotin 2 mg และ inositol 400 mg 2แรธาตุรวม ในอาหาร 1 กก. ประกอบดวย manganese (MnSO4. H2O) 25 mg; zinc (ZnSO4.7H2O) 20 mg; copper (CuSO4.5H2O) 5 mg; iodine (KI) 5 mg; cobalt (CoCl2.6H2O) 0.05 mg; selenium (Na2SeO3) 0.3 mg และ iron (C6H5 FeO7.H2O) 30 mg

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 11: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

7

3.3 ทําการวิเคราะหคุณภาพน้ําเดือนละ 1 คร้ัง ในเวลา 08.30 น. ดังนี้ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา (มิลลิกรัมตอลิตร) และอุณหภูมิน้ํา (องศาเซลเซียส) วิเคราะหดวย

เครื่อง DO meter ยี่หอ YSI รุน 52 ความเปนกรดเปนดาง วิเคราะหดวยเครื่อง pH meter ยี่หอ Hanna รุน Hi 9901001 ความกระดาง (มิลลิกรัมตอลิตร) ความเปนดาง (มิลลิกรัมตอลิตร) และแอมโมเนียรวม (มิลลิกรัมตอลิตร) วิเคราะหดวยเครื่องวิเคราะหน้ํา ยี่หอ YSI 9100

4. การวิเคราะหขอมูล

เมื่อส้ินสุดการทดลองนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหผลการตอบสนองของปลาแรดตออาหารทดลอง ดังนี ้

4.1 น้ําหนกัเพิม่ตอวัน (average daily weight gain, ADG; กรัมตอตัวตอวัน) น้ําหนกัปลาเมื่อส้ินสุดการทดลอง-น้ําหนักปลาเริ่มตน

= ระยะเวลาทดลอง

4.2 เปอรเซ็นตน้ําหนกัเพิ่ม (percent weight gain, PWG; เปอรเซ็นต) น้ําหนกัปลาเมื่อส้ินสุดการทดลอง-น้ําหนักปลาเริ่มตน

= น้ําหนกัปลาเริ่มตน

×100

4.3 อัตราการเจริญเติบโตจําเพาะ (specific growth rate, SGR; เปอรเซ็นตตอวัน) (ln น้ําหนักปลาเมื่อส้ินสุดการทดลอง-ln น้าํหนักปลาเริ่มตน)

= ระยะเวลาทดลอง

×100

4.4 condition factor (K; เปอรเซ็นต) ตามวธีิการของ Brown (1957) W

= L3

×100

W = น้ําหนักเฉลี่ยเมื่อส้ินสุดการทดลอง (กรัม) L = ความยาวเฉลี่ยเมื่อส้ินสุดการทดลอง (เซนติเมตร)

4.5 ประสิทธิภาพของโปรตีนในอาหาร (protein efficiency ratio, PER) น้ําหนกัปลาที่เพิ่มขึ้น

= น้ําหนกัโปรตีนที่ปลากิน

4.6 โปรตีนที่เพิ่มขึ้นในตวัปลา (apparent net protein retention, ANPR; เปอรเซ็นต) {(W1 × P1)–(W2 × P2)}

= P

×100

W1 = น้ําหนักเฉลี่ยเมื่อส้ินสุดการทดลอง (กรัม) W2 = น้ําหนักเฉลี่ยเมื่อเร่ิมตนการทดลอง (กรัม) P = น้ําหนกัโปรตีนที่ปลากิน P1 = รอยละของโปรตีนในตัวปลาเมื่อส้ินสุดการทดลอง

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 12: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

8

P2 = รอยละของโปรตีนในตัวปลาเมื่อเร่ิมตนการทดลอง 4.7 ปริมาณอาหารที่ปลากิน (total feed intake, TFI; กรัมตอตัว)

น้ําหนกัอาหารทั้งหมดที่ปลากิน

= จํานวนปลาเมือ่ส้ินสุดการทดลอง

4.8 ปริมาณโปรตีนที่ปลากิน (กรัมตอตัว) = ปริมาณอาหารที่ปลากิน×เปอรเซ็นตโปรตีนในอาหาร

4.9 ปริมาณไขมันที่ปลากิน (กรัมตอตัว) = ปริมาณอาหารที่ปลากิน×เปอรเซ็นตไขมันในอาหาร

4.10 อัตราแลกเนื้อ (feed conversion ratio, FCR) ปริมาณอาหารที่ปลากิน

= น้ําหนกัปลาที่เพิ่มขึ้น

4.11 อัตรารอด (survival rate; เปอรเซ็นต) จํานวนปลาเมือ่ส้ินสุดการทดลอง

= จํานวนปลาเริ่มตน

×100

4.12 hepatosomatic index (HSI; เปอรเซ็นต) น้ําหนกัตับปลา

= น้ําหนกัปลาเมื่อส้ินสุดการทดลอง

×100

นําขอมูลที่คํานวณไดจากการทดลอง และมีการกระจายแบบปกติมาวิเคราะหความแปรปรวนดวยวิธี one way analysis of variance สําหรับขอมูลอัตรารอดทําการแปลงขอมูลดวยวิธี arcsine transformation กอนวิเคราะห เพื่อใหขอมูลมีการกระจายแบบปกติ (normal distribution) และเปรียบเทียบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของชุดการทดลองดวยวิธี Duncan’s new multiple range test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต การวิเคราะหขอมูลทางสถิติทั้งหมดใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ SPSS for Windows version 10.01

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 13: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

9

4.14 ตนทุนการผลิต นําตนทุนการเลี้ยงปลาแรดดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังตางกนั 5 ระดับ มาวิเคราะหตาม

วิธีของสมศักดิ์ (2530) ขอมูลที่วิเคราะหมดีังนี ้ตนทุนทั้งหมด

ตนทุนการผลิตปลาตอกิโลกรัม = ผลผลิตปลาทั้งหมด

ตนทุนทั้งหมด = ตนทุนคงที่+ตนทุนผันแปร ตนทุนคงที ่ = คาเสื่อมราคาอุปกรณ+คาเสียโอกาสในการลงทุน ตนทุนผันแปร = คาพันธุปลา+คาอาหาร+คาแรงงาน+คาเสียโอกาสในการลงทุน คาเสียโอกาสในการลงทุน = คาที่คํานวณจากอัตราดอกเบี้ยของเงินฝากประจํา 12 เดือน

ป 2549 อัตรารอยละ 3.75 ของเงินลงทุนทุกประเภท คาเสื่อมราคา = คิดโดยวิธีเสนตรงโดยกําหนดมูลคาซากเปนศูนยเมื่อหมดอายุ

การใชงาน รายไดทั้งหมด = จํานวนผลผลิต (กก.)×ราคาผลผลิตที่จําหนายได(บาทตอกก.) รายไดสุทธิ = รายไดทั้งหมด-ตนทุนผันแปร กําไรสุทธิ = รายไดทั้งหมด-ตนทุนทั้งหมด

รายไดสุทธิ ผลตอบแทนตอการลงทุน = ตนทุนทั้งหมด

×100 (เปอรเซ็นต)

ผลการศึกษา

การเลี้ยงปลาแรดดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 0 (สูตรควบคุม), 25, 30, 35 และ 40 เปอรเซ็นต เล้ียงเปนระยะเวลา 8 เดือน มีผลการทดลองดังนี้

1. การเจริญเติบโต

1.1 น้ําหนักสุดทายเฉลี่ย ปลาแรดเริ่มตนการทดลองมีน้ําหนักเฉลี่ยเทากับ 47.17+3.35 กรัม เมื่อส้ินสุดการทดลองปลามี

น้ําหนักสุดทายเฉลี่ยเทากับ 531.72+5.05, 520.13+3.97, 523.10+9.34, 460.43+17.64 และ 367.16+18.65 กรัม ตามลําดับ (ตารางที่ 2 และ 4) เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณ มันสําปะหลัง 0, 25 และ 30 เปอรเซ็นต มีคาน้ําหนักสุดทายเฉลี่ยแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) แตมีคามากกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 35 และ 40 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) และปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 35 เปอรเซ็นต มีคาน้ําหนักสุดทายเฉลี่ยมากกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 40 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 14: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

10

1.2 ความยาวสุดทายเฉลี่ย ปลาแรดเริ่มตนการทดลองมีความยาวเฉลี่ยเทากับ 13.64+0.51 เมื่อส้ินสุดการทดลองพบวา ปลา

มีความยาวสุดทายเฉลี่ยเทากับ 28.92+0.08, 28.53+0.12, 28.80+0.44, 27.90+0.51 และ 25.70+0.40 เซนติเมตร ตามลําดับ (ตารางที่ 3 และ 4) เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณ มันสําปะหลัง 0 และ 30 เปอรเซ็นต มีความยาวสุดทายเฉลี่ยแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) กับปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 25 เปอรเซ็นต แตมีคามากกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 35 และ 40 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) ปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 25 และ 35 เปอรเซ็นต มีคาความยาวสุดทายเฉลี่ยแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) และปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 35 เปอรเซ็นต มีคาความยาวสุดทายเฉลี่ยมากกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 40 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

ตารางที่ 2 น้าํหนักเฉลีย่ (กรัม) ของปลาแรดที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังตางกัน 5 ระดับ เปน ระยะเวลา 8 เดือน

ปริมาณมันสําปะหลัง (เปอรเซ็นต) เดือนที ่0 25 30 35 40

เร่ิมตน 47.17+3.35a 47.17+3.35a 47.17+3.35a 47.17+3.35a 47.17+3.35a 1 74.92+3.10a 74.48+5.94a 76.08+4.08a 75.22+6.41a 68.73+5.23a

2 101.25+4.92a 99.00+3.28a 98.67+4.96a 95.42+14.25a 93.25+4.98a

3 138.80+7.10b 137.77+4.33b 136.47+5.64b 133.80+5.90b 121.61+5.03a

4 171.26+4.12b 169.70+5.17b 170.74+3.78b 164.41+3.85ab 151.42+14.01a

5 233.31+9.63c 223.01+2.96bc 229.40+12.7bc 214.25+6.52ab 198.03+10.69a

6 317.97+4.48c 313.85+1.48c 320.23+3.98c 292.37+9.16b 247.56+16.78a

7 424.05+2.48c 416.60+4.93c 420.15+5.74c 392.02+8.51b 309.53+17.90a

8 531.72+5.05c 520.13+3.97c 523.10+9.34c 460.43+17.64b 367.16+18.65a

หมายเหตุ ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ตางกันตามแนวนอนแสดงวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 15: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

11

ตารางที่ 3 ความยาวเฉลี่ย (เซนติเมตร) ของปลาแรดที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังตางกัน 5 ระดับ เปนระยะเวลา 8 เดือน

ปริมาณมันสําปะหลัง (เปอรเซ็นต) เดือนที ่0 25 30 35 40

เร่ิมตน 13.64+0.51a 13.64+0.51a 13.64+0.51a 13.64+0.51a 13.64+0.51a 1 15.59+0.11a 15.46+0.43a 15.53+0.24a 15.40+0.29a 15.08+0.33a

2 16.90+0.17a 16.83+0.11a 16.87+0.35a 16.63+0.75a 16.47+0.29a

3 17.86+0.16a 17.85+0.37a 18.03+0.05a 17.54+0.34a 17.30+0.66

4 20.00+0.44a 20.23+0.22a 20.38+0.75a 20.00+0.40a 19.68+0.46a

5 22.42+0.16b 22.16+0.27b 22.34+0.50b 22.13+0.33b 21.20+0.40a

6 24.65+0.14b 24.12+0.44b 24.38+0.71b 24.00+0.23b 22.55+0.51a

7 27.04+0.26c 26.90+0.30c 26.96+0.30c 26.29+0.07b 24.21+0.42a 8 28.92+0.08c 28.53+0.12bc 28.80+0.44c 27.90+0.51b 25.70+0.40a

หมายเหตุ ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ตางกันตามแนวนอนแสดงวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

1.3 น้ําหนักเพิ่มตอวัน เมื่อส้ินสุดการทดลองน้ําหนักเพิ่มตอวันมีคาเทากับ 2.02+0.02, 1.97+0.02, 1.98+0.04,

1.72+0.12 และ 1.33+0.08 กรัมตอตัวตอวัน ตามลําดับ (ตารางที่ 4) เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 0, 25 และ 30 เปอรเซ็นต มีคาน้ําหนักเพิ่มตอวันแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) แตมีคามากกวาปลาที่ เ ลี้ยงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 35 และ 40 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) และปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณ มันสําปะหลัง 35 เปอรเซ็นต มีคาน้ําหนักเพิ่มตอวันมากกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลงั 40 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

1.4 เปอรเซ็นตน้ําหนกัเพิ่ม เมื่อส้ินสุดการทดลองเปอรเซ็นตน้ําหนักเพิ่มมีคาเทากับ 1,027.25+10.71, 1,002.68+8.43,

1,008.98+19.79, 876.11+58.59 และ 678.38+39.54 เปอรเซ็นต ตามลําดับ (ตารางที่ 4) เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 0, 25 และ 30 เปอรเซ็นต มีคาเปอรเซ็นต น้ําหนักเพิ่มแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) แตมีคามากกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 35 และ 40 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) และปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 35 เปอรเซ็นต มีคาเปอรเซ็นตน้ําหนักเพิ่มมากกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 40 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 16: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

12

1.5 อัตราการเจริญเติบโตจําเพาะ เมื่อส้ินสุดการทดลองอัตราการเจริญเติบโตจําเพาะมีคาเทากับ 1.01+0.01, 1.00+0.02, 1.00+0.01,

0.95+0.03 และ 0.86+0.02 เปอรเซ็นตตอวัน ตามลําดับ (ตารางที่ 4) เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 0, 25 และ 30 เปอรเซ็นต มีคาอัตราการเจริญเติบโตจําเพาะแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) แตมีคามากกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 35 และ 40 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) และปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 35 เปอรเซ็นต มีคาอัตราการเจริญเติบโตจําเพาะมากกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 40 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

1.6 condition factor เมื่อส้ินสุดการทดลองพบวาปลามีคา condition factor ของปลาเทากับ 2.19+0.02, 2.27+0.03,

2.20+0.10, 2.12+0.02 และ 2.16+0.07 เปอรเซ็นต ตามลําดับ (ตารางที่ 4) เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังตางกันทั้ง 5 ระดับ มีคา condition factor ของปลาแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05)

2. ประสิทธิภาพของโปรตีนในอาหาร

เมื่อส้ินสุดการทดลองประสิทธิภาพของโปรตีนในอาหารมีคาเทากับ 1.51+0.03, 1.58+0.03, 1.60+0.02, 1.48+0.03 และ 1.39+0.01 ตามลําดับ (ตารางที่ 4) เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 25 และ 30 เปอรเซ็นต มีคาประสิทธิภาพของโปรตีนในอาหารแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) แตมีคามากกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 0, 35 และ 40 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) ปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 0 และ 35 เปอรเซ็นต มีคาประสิทธิภาพของโปรตีนในอาหารแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) แตมีคามากกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 40 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

3. โปรตีนที่เพิ่มขึ้นในตัวปลา

เมื่อส้ินสุดการทดลองโปรตีนที่เพิ่มขึ้นในตัวปลามีคาเทากับ 23.58+4.09, 24.58+1.55, 23.50+3.07, 19.83+0.99 และ 20.13+2.00 เปอรเซ็นต ตามลําดับ (ตารางที่ 4) เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังตางกัน 5 ระดับ มีคาโปรตีนที่เพิ่มขึ้นในตัวปลาแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 17: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

13

ตารางที่ 4 ผลการทดลองของปลาแรดที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังตางกัน 5 ระดับ เปนระยะเวลา 8 เดือน

ปริมาณมันสําปะหลัง (เปอรเซ็นต) ดัชนี 0 25 30 35 40

น้ําหนักเริ่มตนเฉลี่ย (กรัม) 47.17+3.35a 47.17+3.35a 47.17+3.35a 47.17+3.35a 47.17+3.35a น้ําหนักสุดทายเฉลี่ย (กรัม) 531.72+5.05c 520.13+3.97c 523.10+9.34c 460.43+17.64b 367.16+18.65a

ความยาวเริ่มตนเฉลี่ย (เซนติเมตร) 13.64+0.51a 13.64+0.51a 13.64+0.51a 13.64+0.51a 13.64+0.51a ความยาวสุดทายเฉลี่ย (เซนติเมตร) 28.92+0.08c 28.53+0.12bc 28.80+0.44c 27.90+0.51b 25.70+0.40a

น้ําหนักเพิ่มตอวัน (กรัมตอตัวตอวัน)

2.02+0.02c 1.97+0.02c 1.98+0.04c 1.72+0.12b 1.33+0.08a

เปอรเซ็นตน้ําหนักเพิ่ม (เปอรเซ็นต)

1,027.25+10.71c 1,002.68+8.43c 1,008.98+19.79c 876.11+58.59b 678.38+39.54a

อัตราการเจริญเติบโตจําเพาะ (เปอรเซ็นตตอวัน)

1.01+0.01c 1.00+0.02c 1.00+0.01c 0.95+0.03b 0.86+0.02a

condition factor (เปอรเซ็นต) 2.19+0.02a 2.27+0.03a 2.20+0.10a 2.12+0.02a 2.16+0.07a

ประสิทธิภาพของโปรตีนในอาหาร 1.51+0.03b 1.58+0.03c 1.60+0.02c 1.48+0.03b 1.39+0.01a

โปรตีนที่เพิ่มขึ้นในตัวปลา (เปอรเซ็นต)

23.58+4.09a 24.58+1.55a 23.50+3.07a 19.83+0.99a 20.13+2.00a

ปริมาณอาหารที่ปลากิน (กรัมตอตัว)

890.71+25.23c 860.44+18.37bc 854.29+5.46bc 804.01+66.52b 657.60+37.77a

ปริมาณโปรตีนที่ปลากิน (กรัมตอตัว)

320.12+9.07c 297.02+6.34bc 295.58+1.89b 277.71+22.89b 226.87+13.03a

ปริมาณไขมันที่ปลากิน (กรัมตอตัว)

95.31+2.70c 102.65+2.19d 90.90+0.058c 70.11+5.80b 52.08+2.99a

อัตราแลกเนื้อ 1.85+0.04a 1.83+0.03a 1.80+0.03a 1.96+0.03b 2.08+0.05c

อัตรารอด (เปอรเซ็นต) 94.58+1.44a 94.17+1.91a 96.25+1.25a 93.75+1.25a 93.33+0.72a หมายเหตุ ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ตางกันตามแนวนอนแสดงวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

4. ปริมาณอาหารที่ปลากิน

เมื่อส้ินสุดการทดลองปริมาณอาหารที่ปลากินมีคาเทากับ 890.71+25.23, 860.44+18.37, 854.29+5.46, 804.01+66.52 และ 657.60+37.77 กรัมตอตัว ตามลําดับ (ตารางที่ 4) เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 0 เปอรเซ็นต มีคาปริมาณอาหารที่ปลากินแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) กับปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 25 และ 30

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 18: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

14

เปอรเซ็นต แตมีคามากกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 35 และ 40 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) ปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 25, 30 และ 35 เปอรเซ็นต มีคาปริมาณอาหารที่ปลากินแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) แตมีคามากกวาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) กับปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 40 เปอรเซ็นต

5. ปริมาณโปรตีนท่ีปลากิน

เมื่อส้ินสุดการทดลองปริมาณโปรตีนที่ปลากินมีคาเทากับ 320.12+9.07, 297.02+6.34, 295.58+1.89, 277.71+22.89 และ 226.87+13.03 กรัมตอตัว ตามลําดับ (ตารางที่ 4) เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารปริมาณมันสําปะหลัง 40 เปอรเซ็นต มีคาปริมาณโปรตีนที่ปลากินนอยกวาทุกชุดการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) ปลาที่เล้ียงดวยอาหารปริมาณมันสําปะหลัง 30 และ 35 เปอรเซ็นต มีคาปริมาณโปรตีนที่ปลากินแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) กับปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 25 เปอรเซ็นต แตมีคานอยกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลงั 0 เปอรเซ็นต ทั้งนี้ปลาที่เล้ียงดวยอาหารปริมาณมันสําปะหลัง 0 และ 25 เปอรเซ็นต มีคาปริมาณโปรตีนที่ปลากินแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05)

6. ปริมาณไขมนัท่ีปลากิน

เมื่อส้ินสุดการทดลองปริมาณไขมันที่ปลากินมีคาเทากับ 95.31+2.70, 102.65+2.19, 90.90+0.058, 70.11+5.80 และ 52.08+2.99 กรัมตอตัว ตามลําดับ (ตารางที่ 4) เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารปริมาณมันสําปะหลัง 40 เปอรเซ็นต มีคาปริมาณไขมันที่ปลากินนอยกวาทุกชุดการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) ปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 0 และ 30 เปอรเซ็นต มีคาปริมาณไขมันที่ปลากินแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) แตมีคามากกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารปริมาณมันสําปะหลัง 35 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) ปลาที่เล้ียงดวยอาหารปริมาณมันสําปะหลัง 25 เปอรเซ็นต มีคาปริมาณไขมันที่ปลากินมากกวาทุกชุดการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

7. อัตราแลกเนื้อ

เมื่อส้ินสุดการทดลองมีอัตราแลกเนื้อเทากับ 1.85+0.04, 1.83+0.03, 1.80+0.03, 1.96+0.03 และ 2.08+0.05 ตามลําดับ (ตารางที่ 4) เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณ มันสําปะหลัง 0, 25 และ 30 เปอรเซ็นต มีคาอัตราแลกเนื้อแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) แตมีคาดีกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 35 และ 40 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) และปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 35 เปอรเซ็นต มีคาอัตราแลกเนื้อดีกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 40 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 19: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

15

8. อัตรารอด

เมื่อส้ินสุดการทดลองมีอัตรารอดเทากับ 94.58+1.44, 94.17+1.91, 96.25+1.25, 93.75+1.25 และ 93.33+0.72 เปอรเซ็นต ตามลําดับ (ตารางที่ 4) เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังตางกัน 5 ระดับ มีอัตรารอดแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05)

9. องคประกอบทางเคมีของตัวปลา

เมื่อส้ินสุดการทดลองมีความชื้นในตวัปลาเทากับ 63.61+5.51, 62.56+2.67, 63.56+2.74, 65.20+1.19 และ 63.94+3.17 เปอรเซ็นต ตามลําดับ เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังตางกัน 5 ระดับ มีความชื้นในตัวปลาแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05)

โปรตีนในตัวปลาเทากับ 43.50+0.73, 40.02+0.75, 40.94+1.28, 39.81+2.01 และ 41.09+1.62เปอรเซ็นต ตามลําดับ เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังตางกัน 5 ระดบั มีโปรตีนในตัวปลาแตกตางกันอยางไมมนีัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05)

ไขมันในตัวปลาเทากับ 41.57+1.15, 43.19+1.18, 43.81+1.51, 46.18+1.49 และ 46.03+1.00เปอรเซ็นต ตามลําดับ เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 35 และ 40 เปอรเซ็นต มีไขมันในตัวปลาแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) กับปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 30 เปอรเซ็นต แตมีไขมันในตัวปลามากกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 0 และ 25 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) และปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 0, 25 และ 30 เปอรเซ็นต มีไขมันในตัวปลาแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05)

เถาในตัวปลาเทากับ 10.71+0.68, 10.82+0.77, 12.35+0.96, 11.84+1.25 และ 11.34+0.75 เปอรเซ็นต ตามลําดับ เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังตางกัน 5 ระดับ มีเถาในตัวปลาแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) (ตารางที่ 5)

ตารางที่ 5 องคประกอบทางเคมีของตัวปลากอน และหลงัการทดลอง

ปริมาณมันสําปะหลัง (เปอรเซ็นต) องคประกอบทางเคมี (% น้ําหนักแหง) กอนทดลอง

0 25 30 35 40 ความชื้น 66.05 63.61+5.51a 62.56+2.67a 63.56+2.74a 65.20+1.19a 63.94+3.17a

โปรตีน 54.58 43.50+0.73a 40.02+0.75a 40.94+1.28a 39.81+2.01a 41.09+1.62a

ไขมัน 32.94 41.57+1.15a 43.19+1.18a 43.81+1.51ab 46.18+1.49b 46.03+1.00b

เถา 9.28 10.71+0.68a 10.82+0.77a 12.35+0.96a 11.84+1.25a 11.34+0.75a

หมายเหตุ ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ตางกันตามแนวนอนแสดงวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 20: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

16

10. Hepatosomatic index

เมื่อส้ินสุดการทดลองมีคา hepatosomatic index เทากบั 1.01+0.01, 1.02+0.07, 1.05+0.06, 1.10+0.02 และ 1.14+0.03 เปอรเซ็นต ตามลําดับ (ตารางที่ 6) เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มปีริมาณมันสําปะหลัง 40 เปอรเซ็นต มีคา hepatosomatic index แตกตางกันอยางไมมนีัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) กับปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 35 เปอรเซ็นต แตมีคามากกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 0, 25 และ 30 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) ปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 30 เปอรเซ็นต มีคา hepatosomatic index แตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) กับปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 25 เปอรเซ็นต แตมีคามากกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มปีริมาณมันสําปะหลัง 0 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) และปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 0, 25 และ 30 เปอรเซ็นต มีคา hepatosomatic index แตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05)

11. ปริมาณไขมันในตบัปลา

เมื่อส้ินสุดการทดลองมีปริมาณไขมันในตับปลา เทากับ 10.66+0.33, 11.38+0.41, 11.90+0.24, 13.91+0.74 และ 14.90+0.93 เปอรเซ็นต ตามลําดับ (ตารางที่ 6) เมื่อนํามาวิเคราะหคาทางสถิติพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 0 เปอรเซ็นต มีคาปริมาณไขมันในตับแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) กับปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 25 เปอรเซ็นต แตมีคานอยกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มปีริมาณมันสําปะหลัง 30, 35 และ 40 เปอรเซ็นต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) ปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 25 และ 30 เปอรเซ็นต มีคาไขมันในตบัแตกตางกนัอยางไมมีนยัสําคัญทางสถิติ (p>0.05) แตมีคานอยกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 35 และ 40 เปอรเซ็นต อยางมีนยัสําคัญทางสถิติ (p<0.05) และปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 35 และ 40 เปอรเซ็นต มีคาไขมันในตับแตกตางกนัอยางไมมีนัยสําคญัทางสถิติ (p>0.05)

ตารางที่ 6 Hepatosomatic index และปริมาณไขมันในตบัปลา

ปริมาณมันสําปะหลัง (เปอรเซ็นต) ดัชน ี

0 25 30 35 40 Hepatosomatic index (เปอรเซ็นต) 1.01+0.01a 1.02+0.07ab 1.05+0.06ab 1.10+0.02bc 1.14+0.03c

ไขมัน (เปอรเซ็นต) 10.66+0.33a 11.38+0.41ab 11.90+0.24b 13.91+0.74c 14.90+0.93c

หมายเหตุ ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ตางกันตามแนวนอนแสดงวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 21: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

17

12. คาองคประกอบของกรดไขมันในตับปลา

เมื่อส้ินสุดการทดลองพบวาตับปลาแรดที่ไดรับอาหารทดลองที่มีมันสําปะหลังระดับตางกันคือ0, 25 , 30, 35 และ 40 เปอรเซ็นต มีคาองคประกอบของกรดไขมันดังนี้ คือ ปริมาณของกรดไขมันที่อ่ิมตัวมคีาเทากับ 44.28, 49.91, 48.55, 48.60 และ 47.85 เปอรเซ็นต ปริมาณกรดไขมันกลุม n-3 เทากับ 3.80, 3.61, 3.15, 3.19 และ 3.86 เปอรเซ็นต และปริมาณกรดไขมันกลุม n-6 เทากับ 4.58, 6.02, 2.66, 2.57 และ 2.45 เปอรเซ็นต ตามลําดับ (ตารางที่ 7)

ตารางที่ 7 องคประกอบของกรดไขมัน (% of total lipid) ในตับปลา

อาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง (เปอรเซ็นต) Fatty acid (% of total lipid)

0 25 30 35 40 12:0 0.42 0.25 0.15 0.18 0.28 14:0 1.41 1.71 1.23 1.72 1.12 16:0 36.65 38.92 36.51 39.71 38.32 16:1 3.44 3.14 3.41 4.37 5.32 17:0 0.35 0.49 0.33 0.35 0.35 18:0 5.45 8.54 10.33 6.64 7.78 18:1n9 37.54 32.51 36.34 35.35 36.57 18:2n6 3.44 4.76 1.72 1.57 1.34 18:3n3 0.22 0.34 0.34 0.43 0.66 20:1n9 1.15 1.05 1.10 0.99 0.22 20:2n6 0.56 0.56 0.28 0.33 0.61 20:4n6 0.58 0.70 0.66 0.67 0.50 22:4n9 0.39 0.40 0.29 0.31 0.43 22:5n3 0.46 0.56 0.36 0.42 0.36 22:6n3 3.12 2.71 2.45 2.34 2.84 total saturate 44.28 49.91 48.55 48.60 47.85 total n-3 3.80 3.61 3.15 3.19 3.86 total n-6 4.58 6.02 2.66 2.57 2.45

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 22: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

18

13. คุณภาพน้ํา

คุณภาพน้ําระหวางการทดลองพบวาปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํามีคาอยูในชวง 7.90-8.26 มิลลิกรัมตอลิตร อุณหภูมิน้ํามีคาอยูในชวง 25.0-26.6 องศาเซลเซียส ความเปนกรดเปนดางมีคาอยูในชวง 7.5-7.8 ความกระดางของน้ํา 181-200 มิลลิกรัมตอลิตร ความเปนดางของน้ํามีคาอยูในชวง 70-80 มิลลิกรัมตอลิตร และแอมโมเนียรวมมีคาอยูในชวง 0.10-0.18 มิลลิกรัมตอลิตร (ตารางที่ 8)

ตารางที่ 8 คุณภาพน้ําบางประการระหวางการทดลอง

ปริมาณมันสําปะหลัง (เปอรเซ็นต) คุณภาพน้ํา 0 25 30 35 40

ออกซิเจนที่ละลายน้ํา (มิลลิกรัมตอลิตร) 7.90-8.25 8.02-8.26 8.05-8.25 7.99-8.23 8.00-8.24 อุณหภูมิน้ํา (องศาเซลเซียส) 25.0-26.5 25.0-26.5 25.0-26.6 25.0-26.6 25.0-26.5 ความเปนกรดเปนดาง 7.5-7.7 7.6-7.7 7.6-7.7 7.5-7.6 7.5-7.8 ความกระดาง (มิลลิกรัมตอลิตร) 181-196 182-200 183-200 183-200 181-198 ความเปนดาง (มิลลิกรัมตอลิตร) 72-78 70-80 70-78 72-80 73-79 แอมโมเนียรวม (มิลลิกรัมตอลิตร) 0.10-0.18 0.10-0.16 0.10-0.17 0.10-0.16 0.10-0.16

14. ตนทุนการผลิต

เมื่อส้ินสุดการทดลองพบวาตนทุนการผลิตทั้งหมดมีคาเทากับ 2,567.17, 2,390.60, 2,400.70, 2,252.50 และ 1,919.40 บาท ตามลําดับ ซ่ึงสามารถแยกออกเปนตนทุนผันแปรมีคาเทากับ 2,441.89, 2,265.32, 2,275.42, 2,127.22 และ 1,794.12 บาท และตนทุนคงที่ในทุกชุดการทดลองมีคาเทากับ 125.28 บาท และมีตนทุนการผลิตตอกิโลกรัมเทากับ 63.80, 61.01, 59.60, 65.23 และ 70.01 บาทตอกิโลกรัม ตามลําดับ (ตารางที่ 9)

15 รายไดและผลตอบแทนตอการลงทุน

เมื่อส้ินสุดการทดลองพบวารายไดทั้งหมดมีคาเทากับ 2,414.40, 2,350.80, 2,416.80, 1,726.50 และ 1,371.00 บาท รายไดสุทธิเทากับ -27.49, 85.48, 141.38, -400.72 และ -423.12 บาท กําไรสุทธิเทากับ -152.77, -39.80, 16.10, -526.01 และ -548.40 บาท และผลตอบแทนตอการลงทุนเทากับ -1.07, 3.58, 5.89, -17.79 และ -22.04 เปอรเซ็นต (ตารางที่ 10)

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 23: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

19

ตารางที่ 9 ตนทุนการผลิตของการเลี้ยงปลาแรดดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังตางกัน 5 ระดับ เปนระยะเวลา 8 เดือน

สูตรอาหารที่มีมันสําปะหลัง (เปอรเซ็นต) รายละเอียดตนทุน 0 25 30 35 40

ตนทุนผันแปร คาพันธุปลา (บาท) 280.00 280.00 280.00 280.00 280.00 คาอาหารปลา (บาท) 1,755.30 1,583.04 1,592.89 1,448.31 1,123.33 คาแรงงาน (บาท) 347.03 347.03 347.03 347.03 347.03 คาเสียโอกาสเงินลงทุน (บาท) 59.56 55.25 55.50 51.88 43.76 รวมตนทุนผันแปร (บาท) 2,441.89 2,265.32 2,275.42 2,127.22 1,794.12

ตนทุนคงที ่ คาเสื่อมราคาอุปกรณ - กระชัง (บาท) 66.67 66.67 66.67 66.67 66.67 - โครงกระชัง (บาท) 55.55 55.55 55.55 55.55 55.55 คาเสียโอกาสเงินลงทุน (บาท) 3.06 3.06 3.06 3.06 3.06 รวมตนทุนคงที่ (บาท) 125.28 125.28 125.28 125.28 125.28

ตนทุนการผลิตทั้งหมด (บาท) 2,567.17 2,390.60 2,400.70 2,252.50 1,919.40 ผลผลิตรวม (กิโลกรัมตอกระชัง) 40.24 39.18 40.28 34.53 27.42 ตนทุนการผลิต (บาทตอกิโลกรัม) 63.80 61.01 59.60 65.23 70.01 หมายเหตุ 1. คาพันธุปลาแรด ราคาตัวละ 3.5 บาท 2. คาเสื่อมราคาอุปกรณ

- คากระชัง 1 กระชัง เปนเงนิ 500 บาท อายุการใชงาน 5 ป คิดเปนคาเสือ่มราคาปละ 100 บาท ระยะเวลาที่ใชกระชัง 8 เดือน คิดเปนเงนิ 66.67 บาท

- คาโครงกระชัง 1 ชุด (สําหรับ 4 กระชัง) เปนเงิน 5,000 บาท อายุการใชงาน 15 ป คิดเปนคาเสื่อมราคาปละ 333.33 บาท ระยะเวลาที่ใชกระชัง 8 เดือน คิดเปนเงนิ 55.55 บาทตอกระชัง

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 24: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

20

ตารางที่ 10 รายไดและผลตอบแทนตอการลงทุนของการเลี้ยงปลาแรดดวยอาหารที่มปีริมาณมันสําปะหลังตางกัน 5 ระดับ เปนระยะเวลา 8 เดือน

สูตรอาหารที่มีมันสําปะหลัง (เปอรเซ็นต) 0 25 30 35 40 ผลผลิตรวม (กิโลกรัมตอกระชัง) 40.24 39.18 40.28 34.53 27.42 ราคาจําหนาย (บาทตอกิโลกรัม) (ราคาจากน้ําหนักสุดทาย)

60.00 60.00 60.00 50.00 50.00

รายไดทั้งหมด (บาทตอกระชัง) 2,414.40 2,350.80 2,416.80 1,726.50 1,371.00 รายไดสุทธิ (บาทตอกระชัง) -27.49 85.48 141.38 -400.72 -423.12 กําไรสุทธิ (บาทตอกระชัง) -152.77 -39.80 16.10 -526.01 -548.40 ผลตอบแทนตอการลงทุน (เปอรเซ็นต)

-1.07 3.58 5.89 -17.79 -22.04

หมายเหตุ

ราคาจําหนาย - ปลาที่มีน้ําหนักตั้งแต 0.5 กิโลกกรัม ราคาขาย 60 บาทตอกิโลกรัม - ปลาที่มีน้ําหนักนอยกวา 0.5 กิโลกกรัม ราคาขาย 50 บาทตอกิโลกรัม รายไดสุทธิ = รายไดทั้งหมด-ตนทุนผันแปร กําไรสุทธิ = รายไดทั้งหมด-ตนทุนทั้งหมด

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 25: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

21

สรุปและวิจารณผล

การทดลองเลี้ยงปลาแรดในกระชังดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังตางกัน 5 ระดับคือ 0 (สูตรควบคุม), 25, 30, 35 และ 40 เปอรเซ็นต ปลามีน้ําหนักเริ่มตนเฉลี่ย 47.17+3.35 กรัม ใชเวลาการเลี้ยง 8 เดือน พบวาปลาที่ไดรับอาหารที่มีมันสําปะหลัง 0 (ปลายขาว 25 เปอรเซ็นต), 25 และ 30 เปอรเซ็นต มีคาการเจริญเติบโต ไดแก น้ําหนักสุดทาย อัตราการเจริญเติบโตจําเพาะ เปอรเซ็นตน้ําหนักเพิ่ม และน้ําหนักเพิ่มตอวัน มีคามากกวาอยางมีนัยสําคัญเมื่อเปรียบเทียบกับปลาชุดที่ไดรับมันสําปะหลัง 35 และ 40 เปอรเซ็นต ทั้งนี้ปลาชุดที่ไดรับอาหารที่มีมันสําปะหลัง 40 เปอรเซ็นตพบวามีคาต่ําที่สุด ซ่ึงเปนผลจากปริมาณอาหาร โปรตีนและปริมาณไขมันที่ปลากินมีคาต่ําที่สุด ขณะที่ปลาแรดชุดที่ไดรับอาหารที่มีมันสําปะหลัง 35 เปอรเซ็นต มีคาปริมาณอาหารที่กินและคาโปรตีนที่กินแตกตางอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติจากชุดที่ไดรับอาหารที่มี มันสําปะหลัง 0, 25 และ 30 เปอรเซ็นต แตคาปริมาณไขมันที่กินมีคานอยกวาอยางมีนัยสําคัญ แสดงวาปลาไดรับไขมันหรือพลังงานไมเพียงพอ ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาในปลา stinging catfish พบวา ปลาที่ไดรับอาหารที่มีไขมันนอยกวามีคาการเจริญเติบโตดอยกวาเนื่องจากไดรับไขมันหรือพลังงานในอาหารไมเพียงพอ (Akand et .al, 1991) ผลจากการทดลองนี้ แสดงใหเห็นวา อาหารที่มีมันสําปะหลัง 30 เปอรเซ็นต ในอาหารเปนระดับที่เหมาะสมสําหรับปลา ซ่ึงเปนระดับที่ใกลเคียงกับรายงานการศึกษาในอาหารกบนาโดยพิศมัย และสมปรารถ (2544) พบวาสามารถใชปลายขาวและมันสําปะหลังเปนแหลงคารโบไฮเดรทหรือแปงระดับ 30-35 เปอรเซ็นต ในสูตรอาหาร ซ่ึงเปนระดับที่ใกลเคียงกับรายงานของ Kanto and Juttupornpong (2005)กลาววาอาหารสัตวน้ําสามารถใชมันสําปะหลังเปนสวนประกอบอาหารประมาณ 30-35 เปอรเซ็นต แตอยางไรก็ตามผลจากการทดลองนี้พบวาเมื่อเล้ียงปลาดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังเพิ่มขึ้นเปน 40 เปอรเซ็นต ทําใหการเจริญเติบโตของปลามีคาต่ําที่สุดอาจเปนปจจัยรวมอื่นนอกจากที่ไดรับสารอาหารไมเพียงพอแลวนั้น อาจมีผลจากอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังมากเกินไปทําใหอาหารมีเนื้อสัมผัสแข็งจึงสงผลใหการปลากินอาหารไดนอยลง และหากมีการปรับปรุงวิธีการผลิตอาหารเพื่อใหไดเนื้อสัมผัสอาหารที่แข็งนอยลงอาจชวยใหสามารถใชมันสําปะหลังในสูตรอาหารปลาแรดไดสูงกวานี้

สวนคาอัตราแลกเนื้อ และประสิทธิภาพของโปรตีนในอาหารมีผลในแนวทางเดียวกัน คือ ปลาแรดชุดที่ไดรับอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังในอาหาร 35 และ 40 เปอรเซ็นตมีคาดอยกวาชุดที่ไดรับอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังในอาหาร 0 , 25 และ 30 เปอรเซ็นต ซ่ึงอาจเปนผลจากทั้งปริมาณโปรตีนและไขมันที่กินมีคาลดลงตามระดับของปริมาณมันสําปะหลังที่เพิ่มขึ้นในอาหาร กลาวคือ ปลาชุดที่ไดรับอาหารที่มี มันสําปะหลังในอาหาร 35 เปอรเซ็นต แมวาจะมีคาโปรตีนที่กินแตกตางอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติกับชุดที่ไดรับอาหารที่มีมันสําปะหลัง 30 เปอรเซ็นต แตปริมาณไขมันที่กินมีคานอยกวาอยางมีนัยสําคัญ ขณะที่โปรตีนที่กินและไขมันที่กินมีคานอยที่สุดในปลาชุดที่ไดรับอาหารที่มีมันสําปะหลัง 40 เปอรเซ็นต จึงสงผลใหประสิทธิภาพของโปรตีนและอัตราแลกเนื้อมีคาดอยกวาอยางมีนัยสําคัญเนื่องจากปลาสามารถใชประโยชนจากอาหารไดนอยกวา สอดคลองกับที่มีรายงานการศึกษาในปลานิล (tilapia) พบวาไขมันในอาหารที่เพิ่มขึ้นชวยสงผลใหประสิทธิภาพของโปรตีนในอาหารใหสูงขึ้น (Anderson et al., 1984) และสอดคลองกับรายงานการศึกษาของ วิมล และคณะ (2536) พบวาปลาดุกลูกผสมที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณ

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 26: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

22

ปลายขาวดิบหรือคารโบไฮเดรตมากเกินระดับที่เหมาะสมสงผลใหคาประสิทธิภาพของโปรตีนในอาหารลดลง

เมื่อพิจารณาคา HSI และไขมันในตับ พบวา คา HSI มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นเมื่อเล้ียงปลาดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลังมากขึ้น สอดคลองกับการศึกษาในปลาดุกลูกผสมโดย วิมล และคณะ (2536) รายงานวาปลาดุกลูกผสมมีคาของ HSI สูงขึ้นเมื่อเล้ียงดวยอาหารที่มีปลายขาวดิบหรือคารโบไฮเดรตมากขึ้น ซึ่งคา HSI ที่เพิ่มขึ้นของปลามีความสัมพันธกับปริมาณแปงหรือคารโบไฮเดรตในอาหารที่มากขึ้น (Podoskina et al., 1997) และปริมาณไขมันในตับปลาแรดที่ไดรับอาหารที่มีมันสําปะหลัง 35 และ 40 เปอรเซ็นต มีคาสูงกวาปลาแรดที่ไดรับอาหารที่มีมันสําปะหลัง 0, 25 และ 30 เปอรเซ็นต ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาในปลาไน Cyprinus carpio ที่ไขมันในตับมีแนวโนมมากขึ้นเมื่อเลี้ยงปลาดวยอาหารที่มีมันสําปะหลังมากขึ้น (Ufodike and Matty, 1983)

คาองคประกอบทางเคมีของตัวปลาหลังการทดลอง พบวามีคาไขมันในตัวปลาเพิ่มขึ้นตามปริมาณมันสําปะหลังในอาหาร ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาการเลี้ยงปลาไน Cyprinus carpio (Ufodike and Matty, 1983) และปลานิล Oreochromis niloticus (Wee and Ng, 1986; Ali and Al-Asgah, 2001) ที่มีคาไขมันในตัวปลาเพิ่มขึ้นตามปริมาณมันสําปะหลังและคารโบไฮเดรตในอาหาร เชนเดียวกันกับรายงานการศึกษาของ Anderson et al. (1984) กลาววาการเพิ่มขึ้นของไขมันในตัวปลานิล Oreochromis niloticus มีความสัมพันธกับปริมาณแปงหรือคารโบไฮเดรตในอาหาร

จากการทดลองพบวามีตนทุนการผลิตทั้งหมดอยูระหวาง 1,919.40-2,567.17 บาทตอกระชัง โดยตนทุนสวนใหญเปนตนทุนคาอาหาร 58.53-68.37 เปอรเซ็นต เมื่อพิจารณาราคาอาหารทดลองตามตารางผนวกที่ 1 พบวา อาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 30 เปอรเซ็นต มีราคา 24.22 บาทตอกิโลกรัม ซ่ึงสามารถลดตนทุนคาอาหารลงได 1.83 บาทตอกิโลกรัม เมื่อเปรียบเทียบกับอาหารที่ไมใชมันสําปะหลัง (สูตรควบคุม) ในดานรายได และผลตอบแทนตอการลงทุนพบวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 30 เปอรเซ็นต มีรายไดสุทธิ และมีกําไรสุทธิทั้งหมดสูงกวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารทุกชุดการทดลอง แสดงใหเห็นวาปลาที่ เ ล้ียงดวยอาหารที่มีปริมาณมันสําปะหลัง 30 เปอร เซ็นต เปนระดับที่ใหผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตรสูงสุด ในขณะที่ปลาที่เล้ียงดวยอาหารที่มีมันสําปะหลัง 0, 35 และ 40 เปอรเซ็นต ไมมีกําไรเหนือตนทุนที่เปนเงินสด และไมมีกําไรสุทธิ แสดงใหเห็นวาปลาที่เล้ียงดวยอาหารสูตรดังกลาวไมมีความคุมคาทางเศรษฐศาสตรหรือเปนระดับที่ไมเหมาะสมทางเศรษฐศาสตร

ผลจากการทดลองเลี้ยงปลาแรดในกระชังพบวาอาหารที่เหมาะสม คือ อาหารที่มีปริมาณ มันสําปะหลัง 30 เปอรเซ็นต

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 27: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

23

เอกสารอางอิง

กลุมวิจยัและวเิคราะหสถิติการประมง. 2548. สถิติการประมงแหงประเทศไทย พ.ศ. 2546. เอกสารฉบับที่ 4/2546. ศูนยสารเทศ, กรมประมง. 91 หนา.

กิจจา ใจเย็น. 2508. ชนิดของปลาที่เล้ียงในภูมิภาคอินโดแปซิฟก (ตอ). วารสารประมง. 18(2): 169-172. จูอะดี พงศมณีรัตน, พิชญา ชัยนาค, ทวี จินดามัยกุล และ ชูศักดิ์ บริสุทธิ์. 2545. ระดับโปรตีนที่เหมาะสม

ในอาหารสําหรับปลากะพงแดง. วารสารการประมง 55(5): 413-421. พิศมัย สมสืบ และ สมปรารถ นวลแกว. 2544. สัมมนาวชิาการกรมประมง ประจําป 2544.

http://www.fisheries.go.th/if-inland_feed/research/44seminar1.htm วันเพ็ญ มีนกาญจน. 2528. ปลาไทยในสถานแสดงพันธุปลาน้ําจืด. สถาบันประมงน้ําจืด, กรมประมง. หนา

198-199. วิมล จันทรโรทัย, ประเสริฐ สีตะสิทธิ์ และ ศิริพร ราชภักด.ี 2536. อัตราสวนสูงสุดของคารโบไฮเดรตจาก

ปลายขาวตอลิปดในอาหารปลาดุกลูกผสม. ใน: รายงานการสัมมนาวชิาการประจําป 2536 กรมประมง. วันที่ 15-17 กนัยายน 2536. ณ สถาบันวิจยัการเพาะเลีย้งสัตวน้ําจืด บางเขน กรุงเทพ. หนา 526-532.

สมศักดิ์ เพียบพรอม. 2530. หลัก และวิธีการจัดการธุรกจิฟารม. โอ. เอส. พริ้นติ้งเฮาส. กรุงเทพมหานคร. 240 หนา.

อุทัย คันโธ, สุกัญญา จัตตุพรพงษ และ วิไลลักษณ ชาวอุทัย. 2540. การใชมันสําปะหลังเปนอาหารสัตว. ศูนยคนควาและพฒันาวิชาการอาหารสัตวและภาควิชาสัตวบาล, คณะเกษตร, มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร. 47 หนา.

Akand, A. M., M. R. Hasan and M. A. B. Habib. 1991. Utilization of Carbohydrate and Lipid as Dietary Energy Sources by Stinging Catfish, H fossilis (Boch). In: Fish Nutrition. Research in Asia De Silva, S (ed.). Proceedings of the Fourth Asian Fish Nutrition Workshop, Asian Fish. Soc. Spec. Publ. 5. Asian Fisheries Society, Manila, Phillipines. pp. 93-100.

Ali., A. and N. A. Al-Asgah. 2001. Effect of feeding different carbohydrate to lipid ratios on growth performance and body composition of nile tilapia (Oreochromis niloticus) fingerlings. Anim. Res. 50: 91-100.

AOAC. 1990. Official Methods of Analysis, 15th ed. Association of Official Analytical Chemists, Verginia. 1141 pp.

Anderson, J., A. J. Jackson, A. J. Matty and B. S. Capper. 1984. Effects of dietary carbohydrate and fibre on the tilapia Oreochromis niloticus (Linn.). Aquaculture 37: 303-314.

Brown, M. E. 1957. The Physiology of Fish. Vol I. Academic Press Inc. New York. 447 pp. Gandhi, S. R. and J. D. Weete. 1991. Production of the polyunsaturated fatty acid, arachidomic acid and

eicosapentaenoic acid. J. Gen Microbiol. 13: 1825-1830.

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 28: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

24

Kanto., U. and S. Juttupornpong. 2005. Cassava in Animal Nutrition: with Reference to Thailand Cassava. Kasetsart University, Thailand. 99 pp.

Kates, M. 1986. Techniques in Lipidology: Isolation, Analysis and Identification of Lipids 2nd revised edition, Elsvier, New York. 256 pp.

Ng, W. K. and K. L. Wee. 1989. The nutritive value of cassava leaf meal in pelleted feed for nile tilapia. Aquaculture 83: 45-58.

NRC (Nation Reseach Concil). 1993. Nutrient Requirement of Fish. National Academy Press, Washington. DC. 114 pp.

Podoskina, T. A., A. G. Podoskin and E. N. Bekina. 1997. Efficiency of utilization of some potato starch modifications by rainbow trout (Oncorhynchus mykiss). Aquaculture 152: 235-248.

Tewe, O. O. 1991. Detoxification of Cassava Products and Effects of Residual Toxins on Consuming Animals. http://www.fao.org/DOCREP/003/T0554E/T0554E06.htm. 10 pp.

Tewe, O.O. and Lyayi, E. A. 1989. Cyanogenic glycosides. In: Toxicants of plant origin, Vol. II, lycosides. (ed.). Cheeke, P.R. CRS Press. pp. 43-60.

Ufodike, E. B. C. and A. J. Matty. 1983. Growth responses and nutrient digestibility in mirror carp (Cyprinus carpio) fed different levels of cassava and rice. Aquaculture 31: 41-50.

Wee, K. L. and L. T. Ng. 1986. Use of cassava as an energy source in a pelleted feed for the tilapia, Oreochromis niloticus L. Aqua. And Fish. Mgmt. 17: 129-138.

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื

Page 29: K 5 : & 3 · i สารบาญ หน า บทคั อดย 1 Abstract 2 คํําาน 3 วัุตถประสงค 4 วิธีดํินการ 4 าเน

25

ภาคผนวก

ตารางผนวกที่ 1 ราคา (บาท) วัตถุดิบอาหารทดลองที่มีมันสําปะหลงั ตางกัน 5 ระดับ

ราคา สูตรอาหารที่มีมันสําปะหลัง (เปอรเซ็นต) วัตถุดิบอาหาร (บาทตอกิโลกรัม) 0 25 30 35 40

ปลาปน 38.0 1,292.0 1,292.0 1,292.0 1,292.0 1,292.0 กากถั่วเหลือง 14.0 280.0 280.0 280.0 280.0 280.0 สารเหนียว (α-starch) 30.0 150.0 150.0 150.0 150.0 90.0 ปลายขาวบดละเอียด 11.5 287.5 - - - - มันสําปะหลังบดละเอียด 5.0 - 125.0 150.0 175.0 200.0 น้ํามันปลาทะเล 65.0 32.5 32.5 32.5 32.5 32.5 น้ํามันปาลม 30.0 156.0 156.0 126.0 96.0 21.0 วิตามินซี 650.0 65.0 65.0 65.0 65.0 65.0 โคลีนคลอไรด (50 เปอรเซ็นต) 200.0 20.0 20.0 20.0 20.0 20.0 วิตามินรวม 180.0 144.0 144.0 144.0 144.0 144.0 แรธาตุรวม 180.0 144.0 144.0 144.0 144.0 144.0 แกลบบดละเอียด 4.0 34.0 34.0 18.0 2.0 - รวม (บาท) 2,605.0 2,442.5 2,421.5 2,400.5 2,288.5 ราคาเฉลี่ยตอกิโลกรัม (บาท)

26.05 24.43 24.22 24.01 22.89

ส้านักวจิยัและพัฒ

นาประมงน้�าจดื