kbank multi asset strategies nov 2011 (thai version)

34
11 1 Key Parameters & Forecasts at Year-end 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011E 2012E GDP, % YoY 6.3 4.6 5.2 4.9 2.5 -2.3 7.8 1.7 4.3 Consumption, % YoY 6.2 4.6 3.0 1.6 2.7 -1.1 4.8 2.7 2.8 Investment Spending, % YoY 13.2 10.5 3.9 1.3 1.2 -9.2 9.4 4.9 5.5 Govt Budget / GDP % -0.2 0.3 -0.7 -1.5 -1.0 -5.6 -3.2 -3.2 -4.8 Export, % YoY 21.6 15.2 17.0 17.3 15.9 -14.0 28.5 16.7 5.0 Import, % YoY 25.7 25.8 7.9 9.1 26.5 -25.2 36.8 n.a. n.a. Current Account (USD bn) 2.77 -7.6 2.3 14.1 1.6 21.9 14.8 n.a. n.a. CPI % YoY, average 2.8 4.5 4.6 2.3 5.5 -0.9 3.3 3.9 3.9 USD/THB 38.9 41.0 36.1 33.7 34.8 33.3 31.4 30.50 29.50 Fed Funds, % year-end 2.25 4.25 5.25 4.25 0.25 0.25 0.25 0.25 0.25 BOT repo, % year-end 2.00 4.00 5.00 3.25 2.75 1.25 2.00 3.00 3.00 Bond Yields 2yr, % year-end 2.78 4.94 5.02 3.91 1.98 2.17 2.35 3.10 3.10 5yr, % year-end 4.0 5.3 5.1 4.5 2.2 3.6 2.75 3.15 3.15 10yr, % year-end 4.9 5.5 5.4 4.9 2.7 4.3 3.25 3.30 3.30 USD/JPY 102.5 118.0 119.1 111.8 90.7 93.0 82.0 77 80 EUR/USD 1.36 1.18 1.32 1.46 1.40 1.43 1.40 1.35 1.40 SET Index 668.1 713.7 679.8 858.1 450.0 734.5 1040 1020 1100 Source: Bloomberg, CEIC, KBank, KResearch, KSecurities Kobsidthi Silpachai, CFA –Kasikornbank [email protected] KResearch [email protected] อุทกภัยอาจสรางความเสียหายใหแกเศรษฐกิจไทยอยางมาก โดย อาจสงผลใหจีดีพีใน ไตรมาสที4 ลดลงมากถึง 3.3-6.3% เมื่อเทียบกับปที่แลว ทําใหการเติบโตของเศรษฐกิจ ปนี้ถูกปรับลดลงไปที1.7% (กรณีเลวราย 0.9%) เราคงมุมมองวา ดอลลารสหรัฐฯจะออนคาตอในระยะยาว ซึ่งจะหักลางปจจัยที่จะสงผล เงินบาทออนคาในป 55 เชน การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดเนื่องจากอุทกภัย เราคาดวา ธปท. จะไมสงสัญญาณแทรกแซงคาเงินบาทมาก และยังคงสนับสนุนให เอกชนปองกันความเสี่ยงดวยตนเอง ทําใหคาดวาการเคลื่อนไหวของคาเงินจะมี แนวโนมผันผวน แตจะอยูในชวง 29.50-33.00 ในปหนาและอยูที30.50 สิ้นป 54 ธปท . มีแนวโนมปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง 0.50% ในเดือนนี้เพื่อเรงฟนฟู เศรษฐกิจ และรับมือกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก แนวโนมการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ชะลอตัวจะจํากัด SET Index ใหอยูในชวง 812-1100 ในปหนา แนะนําใหสะสมหนเมื่อดัชนีต่ํากวา 900 และขายทํากําไรเมื่อดัชนีสงกวา 1050 KBank Multi Asset Strategies Ciao (สวัสดีแบบอิตาลี) หรือ arrivederci (ลากอนแบบอิตาลี) คาเงินยูโร? Strategies Macro / Multi Asset November 2011 Volume 54 WWW.KASIKORNBANKGROUP.COM “KBank Multi Asset Strategies” can now be accessed on Bloomberg: KBCM <GO> Disclaimer: This report must be read with the Disclaimer on page 34 that forms part of it

Upload: kbank-fx-dealing-room

Post on 12-Nov-2014

1.173 views

Category:

Economy & Finance


4 download

DESCRIPTION

Strategies Macro / Multi Asset November 2011 Volume 54

TRANSCRIPT

Page 1: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

11

1

.Mean S

Key Parameters & Forecasts at Year-end 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011E 2012E GDP, % YoY 6.3 4.6 5.2 4.9 2.5 -2.3 7.8 1.7 4.3 Consumption, % YoY 6.2 4.6 3.0 1.6 2.7 -1.1 4.8 2.7 2.8 Investment Spending, % YoY 13.2 10.5 3.9 1.3 1.2 -9.2 9.4 4.9 5.5 Govt Budget / GDP % -0.2 0.3 -0.7 -1.5 -1.0 -5.6 -3.2 -3.2 -4.8 Export, % YoY 21.6 15.2 17.0 17.3 15.9 -14.0 28.5 16.7 5.0 Import, % YoY 25.7 25.8 7.9 9.1 26.5 -25.2 36.8 n.a. n.a. Current Account (USD bn) 2.77 -7.6 2.3 14.1 1.6 21.9 14.8 n.a. n.a. CPI % YoY, average 2.8 4.5 4.6 2.3 5.5 -0.9 3.3 3.9 3.9 USD/THB 38.9 41.0 36.1 33.7 34.8 33.3 31.4 30.50 29.50 Fed Funds, % year-end 2.25 4.25 5.25 4.25 0.25 0.25 0.25 0.25 0.25 BOT repo, % year-end 2.00 4.00 5.00 3.25 2.75 1.25 2.00 3.00 3.00 Bond Yields

2yr, % year-end 2.78 4.94 5.02 3.91 1.98 2.17 2.35 3.10 3.10 5yr, % year-end 4.0 5.3 5.1 4.5 2.2 3.6 2.75 3.15 3.15 10yr, % year-end 4.9 5.5 5.4 4.9 2.7 4.3 3.25 3.30 3.30

USD/JPY 102.5 118.0 119.1 111.8 90.7 93.0 82.0 77 80 EUR/USD 1.36 1.18 1.32 1.46 1.40 1.43 1.40 1.35 1.40 SET Index 668.1 713.7 679.8 858.1 450.0 734.5 1040 1020 1100 Source: Bloomberg, CEIC, KBank, KResearch, KSecurities

Kobsidthi Silpachai, CFA –Kasikornbank [email protected] KResearch [email protected]

อุทกภัยอาจสรางความเสียหายใหแกเศรษฐกิจไทยอยางมาก โดย อาจสงผลใหจีดีพีในไตรมาสที่ 4 ลดลงมากถึง 3.3-6.3% เมื่อเทียบกับปที่แลว ทําใหการเติบโตของเศรษฐกิจปนี้ถูกปรับลดลงไปที่ 1.7% (กรณีเลวราย 0.9%)

เราคงมุมมองวา ดอลลารสหรัฐฯจะออนคาตอในระยะยาว ซึ่งจะหักลางปจจัยที่จะสงผลเงินบาทออนคาในป 55 เชน การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดเนื่องจากอุทกภัย

เราคาดวา ธปท. จะไมสงสัญญาณแทรกแซงคาเงินบาทมาก และยังคงสนับสนุนใหเอกชนปองกันความเสี่ยงดวยตนเอง ทําใหคาดวาการเคล่ือนไหวของคาเงินจะมีแนวโนมผันผวน แตจะอยูในชวง 29.50-33.00 ในปหนาและอยูที่ 30.50 ณ ส้ินป 54

ธปท.มีแนวโนมปรับลดอัตราดอกเบ้ียนโยบายลง 0.50% ในเดือนนี้เพ่ือเรงฟนฟูเศรษฐกิจ และรับมือกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก

แนวโนมการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ชะลอตัวจะจํากัด SET Index ใหอยูในชวง 812-1100 ในปหนา แนะนําใหสะสมหุนเมื่อดัชนีต่ํากวา 900 และขายทํากําไรเมื่อดัชนีสูงกวา 1050

KBank Multi Asset Strategies Ciao (สวัสดีแบบอิตาลี) หรือ arrivederci (ลากอนแบบอิตาลี) คาเงินยูโร?

Strategies Macro / Multi Asset November 2011 Volume 54

WWW.KASIKORNBANKGROUP.COM

“KBank Multi Asset Strategies” can now be accessed on Bloomberg: KBCM <GO>

Disclaimer: This report must be read with the Disclaimer on page 34 that forms part of it

Page 2: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

22

2

KBank Thai Government Bond Rich / Cheap model

-20.00

-15.00

-10.00

-5.00

0.00

5.00

10.00

15.00

20.00

LB12

3A

LB13

3A

LB13

7A

LB14

5B

LB14

DA

LB15

5A

LB15

DA

LB16

7A

LB16

NA

LB17

5A

LB18

3B

LB19

1A

LB19

6A

LB19

8A

LB19

DA

LB21

3A

LB24

DA

LB26

7A

LB28

3A

LB29

6A

LB39

6A

3 mth avgNow

Bps (actual YTM vs. model)

Source: Bloomberg, KBank

KBank THB NEER Index KBank USD/THB – FX Reserves / USD Majors model

KBank THB Trade Weighted Index

75

80

85

90

95

100

105

00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11

Jan 1995 = 100

+ 1 std d

-1 std dev

average

2830323436384042444648

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

actual model

KBank USD/THB model

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

FX reserves – USD/THB model DXY – USD/THB model

y = -7.4157Ln(x) + 69.035R2 = 0.8878

262830323436384042444648

25 50 75 100 125 150 175 200 225 250FX reserves to USD/THB mapping current 2011 forecast

USD/THB

FX reserves, USD bn

y = 29.695Ln(x) - 95.504R2 = 0.7685

25

30

35

40

45

50

70 75 80 85 90 95 100 105 110 115 120 125

DXY to USD/THB mapping current

USD/THB

DXY

since 2001

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

Page 3: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

33

3

KBank BOT repo model (not updated) SET forward dividend yield vs. 10yr bond yield

0.00.51.01.52.02.53.03.54.04.55.05.5

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 13actual model

%

0123456789

02 03 04 05 06 07 08 09 10 11

10yr yields SET forward dividend yields

%

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

Thai inflation parameters Thai contribution to GDP growth

-15%

-10%

-5%

0%

5%

10%

15%

20%

25%

05 06 07 08 09 10 11

CPI yoy PPI yoy Core CPI yoy

-15

-10

-5

0

5

10

15

1Q09 3Q09 1Q10 3Q10 1Q11Private consumption Government Consumption Gross fixed capital formation

Inventory change Net exports GDP yoy

% yoy

Source: CEIC, KBank Source: NESDB, KBank

Implied forward curve: swaps Implied forward curve: TGBs

2.50

3.00

3.50

4.00

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10Nov-11 Feb-12 May-12 Nov-12

%

tenor (yrs)

Implied forward rate shifts (IRS)

3.20

3.40

3.60

3.80

4.00

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15Nov-11 Feb-12 May-12 Nov-12

%

tenor (yrs)

Implied bond yield curve shifts

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

Page 4: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

44

4

US 2yr yields and implied forward US 5yr yields and implied forward

0.0

1.0

2.0

3.0

4.0

5.0

6.0

7.0

00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 13 14 15

2yr yields, % implied forwards

012345678

00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 13 14 15

5yr yields, % implied forwards

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

KBank EUR/THB model KBank JPY/THB model

34.036.038.040.042.044.046.048.050.052.054.056.0

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

actual model

EUR/THB

25.027.029.031.033.035.037.039.041.043.0

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

actual model

JPY/THB

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

KBank GBP/THB model KBank CNY/THB model

43.0

48.0

53.0

58.0

63.0

68.0

73.0

78.0

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

actual model

GBP/THB

4.04.24.44.64.85.05.25.45.65.8

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

actual model

CNY/THB

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

KBank THB/VND model KBank AUD/THB model

300350400450500550600650700750800

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

actual model

THB/VND

21.0

23.0

25.0

27.0

29.0

31.0

33.0

35.0

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

actual model

AUD/THB

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

Page 5: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

55

5

Ciao (สวัสดีแบบอิตาลี) หรือ arrivederci (ลากอนแบบอิตาลี) คาเงินยูโร?

ประเทศไทยป 2540 และประเทศไทยในชวงวิกฤติ 9-11...moral hazard เกิดขึ้นอีกครั้ง?

มีทฤษฎีอยูมากมายเกี่ยวกับสาเหตุและผลกระทบของวิกฤตการเงินในป 2540 ซึ่งนักเศรษฐศาสตรสวนใหญไดชี้ไปที่ความไมสมดุลทางเศรษฐกิจที่สะทอนจากสวนตางระหวางการลงทุนและการออม สําหรับในกรณีของประเทศไทยนั้น เกิดจากตัวเลขการใชจายที่มากจนเกินไป (ในดานการลงทุนหรือดานการบริโภค) จนการเติบโตของเงินออมภายในประเทศไมสามารถไลทันคาใชจายเหลานั้น อันเปนผลใหประเทศไทยจําตองพึ่งพาแหลงเงินทุนจากภายนอก ซึ่งไดรับการสนับสนุนจากความตองการที่จะทําใหกรุงเทพมหานครกลายเปนศูนยกลางทางการเงินในระดับภูมิภาค ซึ่งก็คือ กิจการวิเทศธนกิจ (Bangkok International Banking Facility) อีกภาพหนึ่งที่สะทอนใหเห็นถึงความไมสมดุลก็คือการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดอยางตอเนื่อง กลาวคือการสงออก (ตัวแทนสําหรับรายไดของประเทศ) นั้นมีมูลคานอยกวาการนําเขา (ตัวแทนสําหรับคาใชจายของประเทศ) เมื่อเกิดเหตุการณเชนนี้ นั่นหมายความวาประเทศจําเปนตองกูยืมเงินจากภายนอก ความไมสมดุลที่มากจนเกินไปดังกลาวเปนสัญลักษณของความโลภและความไมพอเพียง เราตางรูวาวิกฤตไดเกิดขึ้นแลว แตใครละที่จะเปนผูที่ควรถูกกลาวโทษ?

นายเริงชัย มะระกานนท ผูซึ่งเขารับตําแหนงผูวาการธนาคารแหงประเทศไทย โดยดํารงตําแหนงตั้งแต 13 กรกฎาคม 2539 ถึง 28 กรกฎาคม 2540 หรือประมาณหนึ่งเดือนหลังจากการลอยตัวคาเงินบาท และเนื่องดวยเหตุนี้เอง เทากับวาเขายอมรับทางออมวาการตรึงคาเงินบาทจนวินาทีสุดทายนั้นอาจจะไมใชวิธีที่ดีที่สุด ทายที่สุดแลว นายเริงชัยไดถูกฟองรองเปนจํานวนรวม 185,950 ลานบาทสําหรับการมีสวนรวมของเขากับการทําใหเงินทุนสํารองระหวางประเทศของไทยรอยรอในชวงวิกฤต จนถึงชวงตนปนี้ ศาลอุทธรณพลิกคําวินิจฉัยของศาลชั้นลางโดยมีคําส่ังยกฟองนายเริงชัย จึงไมแนใจวานี่เปนเพียงการเลนละครหรือ การหาคนรับผิด (witch hunt) ใหประชาชนไดดูหรือไม อยางไรก็ดี ความจริงไมอาจมีใครรูได แตส่ิงที่ประจักษก็คือการยึดนโยบายการตรึงคาเงินบาทกับสกุลเงินดอลลารไมมีทางประสบความสําเร็จและการกํากับดูแลภาคการเงินที่ไมเพียงพอไดสรางความเสียหายใหแกประชาชนในเบื้องตนถึง 1.4 ลานลานบาท

บทเรียนที่เราไดรับจากเรื่องนี้ก็คือ ในที่สุดแลวจะไมมีใครรับผิดชอบตอความเสียหายที่เกิดขึ้นกับเศรษฐกิจและสังคม และทายที่สุดแลวภาระนี้จะตกอยูกับประชาชนทุกคนในรูปแบบของหนี้สาธารณะ ดังนั้นทุกคนไดกลายมาเปนผูรับผิดชอบและแบงปนภาระในชวงขาลงของวงจรเศรษฐกิจ แตวาทุกคนไมไดแบงปนผลประโยชนอยางพรอมเพรียงกันในชวงการขยายตัวของเศรษฐกิจ ดวยเหตุนี้เอง จึงไมใชเรื่องที่นาแปลกใจเลยที่หลายคนกําลังประทวง เชนการประทวงที่วอลสตรีทเกี่ยวกับการขาดความยุติธรรมในสังคมปจจุบันโดยเฉพาะในประเทศที่ลมเหลวในการนําระบบทุนนิยมมาปฏิบัติอยางสรางสรรค ส่ิงที่เรากําลังพยายามจะนําเสนอก็คือ ถาสังคมยังคงปลอยใหพฤติกรรมดังกลาวดําเนินตอไปก็จะเปนการกระตุนใหเกิด

Kobsidthi Silpachai, CFA - Kasikornbank [email protected] Nalin Chutchotitham – Kasikornbank [email protected] Amonthep Chawla, Ph.D. – Kasikornbank [email protected] Puttikul Ackarachalanonth - Kasikornbank [email protected]

Page 6: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

66

6

"พฤติกรรมที่ทําใหเกิดความเสี่ยงตอศีลธรรมหรือจริยธรรม" หรือ moral hazard ซึ่งหมายความวา ผูที่ดําเนินการในเรื่องตางๆจะยังคงมีความไมระมัดระวัง ดวยเหตุที่วาก็ยังไมมีผลลัพธที่จะมากระทบผูที่กอความเสียหายในภายหลัง รูปที่ 1. ตัวเลขหนี้สาธารณะของไทย: ตัวช้ีวัดภาระทางสังคมของคนรุนตอไป

รูปที่ 2. ปริมาณน้าํในเขื่อนภูมิพล

2,5002,7002,9003,1003,3003,5003,7003,9004,1004,3004,500

00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11outstanding public debt,THB bn

6000700080009000

1000011000120001300014000

Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec

Bhumibol Dam level, million cubic meters

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: http://ichpp.egat.co.th/, KBank

จะเห็นไดวาปญหาน้ําทวมในประเทศไทย ณ ปจจุบัน เปนรูปแบบที่คลายกันมากในการที่ไมมี

ผูรับผิดชอบ เปนเพียงแตการกลาวโทษธรรมชาติ จะเห็นไดวา ในครั้งนี้ก็มีทฤษฎีตางๆมากมายเกิดขึ้นเฉกเชนกับในอดีต ดังจะเห็นไดจาก Twitter Blogger และ Facebook ปญหานี้เกิดขึ้นจากการขาดการประสานงานระหวางหนวยงานตาง ๆ ในภาครัฐหรือไม? การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย. (กฟผ) เปนผูควบคุมระดับน้ําในเขื่อนเพื่อเก็บน้ําและใชในการผลิตกระแสไฟฟา ในขณะที่กรมชลประทานเปนผูควบคุมการกระจายน้ํา ปญหาเกิดจากความโลภที่มากจนเกินไปในการกักเก็บน้ําใหไดมากที่สุดเทาที่จะทําได เพื่อใหสามารถเก็บเกี่ยวขาวไดปละ 4 ครั้งเพื่อประโยชนในแงของนโยบายการกําหนดราคาขาวสําหรับคนบางกลุมหรือไม? หากใชเหตุการณในป 2540 เปนเครื่องนําทาง มีโอกาสสูงที่จะไมมีผูรับผิดชอบ โดยสุดทายประชาชนทุกคนก็ตองรับภาระสําหรับการขาดความรับผิดชอบในรูปแบบของหนี้สาธารณะที่เพิ่มขึ้น

การทําใหเหตุการณที่ไมคาดคิดมากอนดูเหมือนเปนภัยพิบัติทางธรรมชาติ เปนการเบนความสนใจจากการที่คนใดคนหนึ่งหรือกลุมบุคคลใดกลุมหนึ่งหลุดพนจากขอกลาวหา แตการกระทําเชนนี้เปนการสงเสริมปญหา moral hazard ถาหากเรื่องนี้เปนภัยพิบัติทางธรรมชาติจริงโดยที่มนุษยไมสามารถจะทําอะไรได เราก็ควรจะยอมรับความจริงที่วานักลงทุนตางชาติจะยายฐานการลงทุนไปประเทศอื่นเนื่องจากประเทศไทยเปนประเทศที่สุมเส่ียงตอการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ มุมมองนี้เปนมุมมองเดียวกันกับที่นักเศรษฐศาสตรมองประเทศญี่ปุนในชวงประสบเหตุการณแผนดินไหวและคลื่นสึนามิที่ไมคาดคิดมากอน วาญี่ปุนจะยายฐานการผลิตมาที่ประเทศไทย

ความคิดนี้ฟงดูมีเหตุผลสําหรับประเทศคูแขงของไทยในดานการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ ที่จะคิดเชนเดียวกัน ดังนั้น ความคิดที่วานักลงทุนตางชาติจะลืมเหตุการณนี้ถือวาไมคอยรอบคอบนัก

Page 7: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

77

7

เพราะวาการสรางความเชื่อม่ันนั้นจําเปนตองใชเวลา และตองอาศัยการดําเนินการที่จริงจังและการเลี่ยนแปลงบางอยางในสังคมไทยไปพรอมๆกัน อาทิ การรับประกันวาเหตุการณดังกลาวจะไมเกิดขึ้นอีกโดยผานการใชจายดานโครงสรางพื้นฐานเพื่อเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการน้ําที่มีอยูอาจกอใหเกิดการทุจริตคอรรัปชั่น และในที่สุดโครงการดังกลาวอาจจะใชเวลายาวนานหรือไมมีวันเสร็จส้ิน ดังที่เห็นไดจากโครงการสนามบินสุวรรณภูมิ โครงการระบบการขนสงทางรถไฟยกระดับในกรุงเทพฯ หรือ “โฮปเวลล” ที่ดําเนินการโดยนายกอรดอน วู บนถนนวิภาวดีรังสิตแนบขนานไปกับรางรถไฟ ดวยเหตุนี้ เราคาดวาส่ิงที่นักลงทุนตางชาติจะทําก็คือการรอดูทีทาของฤดูมรสุมครั้งตอไปเพื่อที่จะประเมินวาสภาพอากาศจะสรางความเสียหายอีกครั้งหรือไม ในชวงหลายปที่ผานมา ไดมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลหลายตอหลายครั้ง และไดมีการทําประชาสัมพันธนโยบายดานตางๆมากมาย แตทวา การดําเนินการจริงนั้นหาไดมีมากมายเทาการทําประชาสมัพันธ

แลวเรื่องนี้เกี่ยวของอยางไรกับอัตราแลกเปลี่ยน ดอลลาร/บาทละ? สรุปส้ันๆไดวา หากความเชื่อม่ันกลับมาอยางรวดเร็ว ตามหลักการแลวนาจะมีการนําเขาสินคาทุนจํานวนมาก ซึ่งทําใหเราพอจะประเมินไดวา จะมีการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดที่สูงขึ้น เนื่องจากการนาํเขามีแนวโนมจะเพิ่มขึ้น แตกําลังการผลิตเพื่อสงออกไดลดลงไปมาก สงผลใหคาเงินบาทออนคาเมื่อเทียบกับดอลลารสหรัฐฯ อยางไรก็ดี เราตองพิจารณาถึงแหลงเงินทุนที่จะมาชดเชยการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดซึ่งเปนส่ิงสําคัญไมแพกัน กลาวคือ ถาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดไดรับการระดมทุนเปนเงินบาท คาเงินบาทเมื่อเทียบกับดอลลารสหรัฐฯนาจะออนคา เพราะจะมีการไหลออกของเงินทุน (บาทเอาไปแลกเปนดอลลารสหรัฐฯ เพื่อซื้อสินคานําเขา) สงผลใหเงินทุนสํารองระหวางประเทศลดลง แตถาหากการนําเขาของสินคาทุนไดรับการชดเชยจากเงินทุนภายนอกเชน JBIC ADB หรือเงินสนับสนุนจากบริษัทแมในตางประเทศ ผลกระทบจากการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดตอ ดอลลาร/บาทก็จะไมมากเทาไรนัก เนื่องจากเงินไหลออกสุทธิ (หลังจากหักลบกับเงินทุนที่ไหลเขามา) ไมไดมีปริมาณมาก อยางไรก็ดี ความสามารถของประเทศในการที่จะเปลี่ยนบัญชีเดินสะพัดใหเกินดุลก็จะเปลี่ยนมุมมองของเราตอคาเงินดอลลาร/บาท โดยกอนหนานี้ ธนาคารแหงประเทศไทยคาดวาการเกินดุลบัญชีเดินสะพัดจะมีมากถึง 6,100 ลานดอลลารสหรัฐฯ ในป 2555 อยางไรก็ตาม ปญหาน้ําทวมทําใหการประเมินดุลบัญชีเดินสะพัดลดลงเปนการขาดดุลถึง 1,700 ลานดอลลารสหรัฐฯ รูปที่ 3 แสดงใหเห็นวาการเกินดุลบัญชีเงินสะพัดสะสมสามารถบงบอกแนวโนมการแข็งคาของคาเงินบาทเมื่อเทียบกับดอลลารสหรัฐฯ และในทางกลับกัน การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดสะสมบงชี้ถึงการออนคาของคาเงินบาทเมื่อเทียบกับดอลลารสหรัฐฯ

Page 8: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

88

8

รูปที่ 3. ดัชนีบัญชีเดินสะพัดของไทยเทียบกับ USD/THB รูปที่ 4. ดัชนีช้ีนําเศรษฐกิจของประเทศในกลุมสมาชิก OECD และปริมาณการสงออกของไทย

-30,000-20,000-10,000

010,00020,00030,00040,00050,00060,000

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11

28303234363840424446

TH current account cumulative, Jan 91 = base, USD mn, left axisUSD/THB, right axis, inverted

-15.0%

-10.0%

-5.0%

0.0%

5.0%

10.0%

15.0%

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11-30%

-20%

-10%

0%

10%

20%

30%

40%

OECD lead indicator (left axis) Thai export volume, 3mth average, push back 6mths

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

Ciao (สวัสดีแบบอิตาลี) หรือ arrivederci (ลากอนแบบอิตาลี) คาเงินยูโร?

ตามวัฒนธรรมตะวันตก เลข 7 เปนเลขของความโชคดี แตทวาอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลที่เกิน 7% ในยูโรโซนเปนลางบอกเหตุที่ไมคอยดีนักเพราะบงบอกถึงความจําเปนในการขอเงินชวยเหลือ เมื่ออัตราผลตอบแทนพันธบัตรเพิ่มขึ้น หนี้ของประเทศในกลุม PIIGS ก็ทวีตัวขึ้นดวยเพราะดอกเบี้ยในวันนี้จะกลายเปนเงินตนของหนี้ในอนาคตในสภาพแวดลอมที่ประเทศเหลานี้มีการขาดดุลงบประมาณ หวังวาการบริหารงานในอนาคตของประเทศไทยที่จะเนนเรื่องการใชจายเพื่อกระตุนเศรษฐกิจในวันนี้ จะไมสงผลใหเกิดภาระหนี้สินในอนาคต ซึ่งจะเปนภาระของคนไทยในรุนหลัง เฉกเชนที่ชาวกรีก ชาวโปรตุเกส ชาวไอริช ชาวสเปน และชาวอิตาเลียนเผชิญอยูในปจจุบันนี้

การลาออกของนายซิลวิโอ แบรลุสโคนี นายกรัฐมนตรีของอิตาลี เปนเหมือนฟางเสนสุดทายที่บงบอกวานักลงทุนไมมีความเชื่อม่ันตอการแกปญหาการคลังของอิตาลี อาจจะเปนเรื่องนาขันที่ผูวาการธนาคารกลางยุโรปคนถัดจากนายฌอง คล็อด ทริเชต ที่หมดวาระไปคือนายมาริโอ ดรากี ก็เปนชาวอิตาเลียน อยางไรก็ดีการเพิ่มมาตรการรัดเข็มขัดที่เขมงวดมากขึ้นเปนเหมือนการเดินไปสูจุดจบทางการเมืองของผูนําอิตาลี ไมวาจะเปนนายแบรลุสโคนีหรือคนใหม คลายกับกรณีของนายจอรจ ปาปนเดรอู ผูนําเหลานี้อยูในภาวะยากลําบากในการยอมรับขอตกลงที่จะทําใหผูอื่นไมพอใจ โดยรัฐบาลที่ใกลลมละลายหรืออยูในภาวะลมละลายแลวมีความจําเปนมากในการขอรับเงินสนับสนุนที่ผูกมาดวยขอเสนอที่ทาทาย เราสามารถเรียกวิกฤติครั้งนี้วาวิกฤตมักกะโรนีไดอยางแทจริง ในขณะที่ในป 2551 ไดถูกเรียกวา "วิกฤติแฮมเบอรเกอร" และป 2540 เปนที่รูจักกันในนาม "วิกฤติตมยํากุง"

Page 9: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

99

9

รูปที่ 5. หนี้สาธารณะตอจีดีพีของประเทศในกลุม PIIGS รูปที่ 6. อัตราผลตอบแทนของพันธบัตรอติาลี สเปน และเยอรมน ี

2040

6080

100

120140

160180

95 96 97 98 99 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

Portugal Ireland Italy Greece Spain

public debt to GDP% EUR inception

0

1

2

3

4

5

6

7

8

Jul-09 Nov-09 Mar-10 Jul-10 Nov-10 Mar-11 Jul-11 Nov-11

Italy Spain Germany 7% line%

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

ผลลัพธจะเปนอยางไรขึ้นอยูกับวาเงินยูโรจะคงไวซึ่งสถานะเงินสํารองระหวางประเทศไดหรือไม มี

แนวโนมวากรีซจะกลับไปใชเงินดราชมา (Drachma) และอิตาลีอาจจะตองกลับไปใชเงินลีรา (Lira) ในฐานะที่ตลาดตราสารหนี้ของอิตาลีเปนตลาดที่ใหญที่สุดเปนอันดับสามรองจากญี่ปุนและสหรัฐอเมริกา จึงเกิดคําถามขึ้นวาอิตาลีจะใหญเกินไปสําหรับการชวยเหลือหรือไม การที่นายดรากีประกาศลดอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางยุโรปเปนขั้นตอนแรกที่จะชวยบรรเทาปญหาหนี้ ในขณะเดียวกัน เปนสัญญาณวายูโร/ดอลลาร Carry Trade (การลงทุนโดยการกูสกุลเงินที่มีดอกเบี้ยต่ําไปลงทุนในสกุลเงินที่ใหดอกเบี้ยสูง โดยการเขาซื้อเงินยูโรและขายดอลลารสหรัฐฯ) มีแนวโนมที่ไมนาสนใจสักเทาไร

รูปที่ 7. ขนาดของตลาดพันธบตัรในประเทศที่พัฒนาแลว รูปที่ 8. อัตราดอกเบี้ยนโยบายของสหรัฐฯ สหราชอาณาจักร ยุโรป และญ่ีปุน

-

2,000

4,000

6,000

8,000

10,000

12,000

14,000

JN US IT GB FR GE SP CA GR BE

Developed Market Bonds Outstanding, USD mn

0

12

3

4

56

7

00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11

US UK Europe Japan

%

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

แลวสหรัฐอเมริกาละ...การไมมีขาวถือวาเปนขาวดี?

การจัดการทางเศรษฐกิจของประเทศสหรัฐอเมริกาก็ไมไดดีเชนกัน หลังจากที่สหรัฐอเมริกาสูญเสียอันดับเครดิตที่ AAA รัฐบาลสหรัฐฯ ก็รีบลนลานเขามาแกปญหาการขาดดุลงบประมาณและหนี้สาธารณะที่เพิ่มขึ้น โดยมีการตั้งคณะกรรมการเขามาดูแลและหาวิธีการที่จะลดการขาดดุลลงเปนจํานวน

Page 10: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

1010

10

ประมาณ 1 ลานลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งคาดวาจะไดรับการเปดเผยภายหลังในเดือนนี้ โดยคาธรรมเนียมประกันความเสี่ยงเครดิตลวงหนา (CDS) ของสหรัฐฯ มีแนวโนมที่ไมคอยจะสูดีนัก และบงชี้ถึงความกังวลวาสหรัฐอเมริกาไมไดเปนที่นาสนใจของนักลงทุนในตลาดขณะนี้ ซึ่งตางจากเมื่อปลายเดือนกรกฎาคมและตนเดือนสิงหาคมที่มีการพูดคุยกันมากเกี่ยวกับการลดอันดับความนาเชื่อจาก AAA รูปที่ 9. คาธรรมเนียมประกันความเสี่ยงเครดิตลวงหนา (CDS) ระยะเวลา 5 ปของสหรัฐอเมริกา

รูปที่ 10. หนี้ของรัฐบาลสหรัฐฯ และระดับที่จํากัดทางกฎหมาย

2025303540455055606570

Jan-11 Feb-11 Mar-11 Apr-11 May-11 Jun-11 Jul-11 Aug-11 Sep-11 Oct-11 Nov-11

US Government CDS, EUR basis, bps

02468

10121416

94 95 96 97 98 99 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11

actual debt, USD trn debt limit, USD trn

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

ขณะที่เรากําลังพูดถึงอิตาลีอยูในขณะนี้ มุมมองเชิงลบดังกลาวก็จะสงผลลัพธกลับมาที่ปญหา

หนี้ของสหรัฐอเมริกาในที่สุด จากขอมูลลาสุด ระดับหนี้ของรัฐบาลกลางสหรัฐฯ อยูสูงถึง 14.98 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ ในขณะที่ขอจํากัดทางกฎหมายอยูที่ 15.19 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ ซึ่งเหลือเพียง 256 พันลานดอลลารสหรัฐฯ กอนที่ถึงเพดานหนี้ที่กฎหมายอนุญาตและกอนที่จะมีการลดอันดับความนาเชื่อถือของสหรัฐอเมริกา พรอมๆ กับแรงผลักดันใหคาเงินดอลลารสหรัฐฯปรับตัวออนคา มุมมองตอคาเงินดอลลารสหรัฐฯ/บาทในขณะนี้... คือมีแนวโนมปรับตัวลงไดอีกเล็กนอย แตยังคงมีความผันผวน

เรายังคงมุมมองวา การออนคาของเงินดอลลารสหรัฐฯ จะยังคงมีอยูและจะหักลางปจจัยเชิงลบของคาเงินบาท เชน การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดจากปญหาอุทกภัย ความตองการสินทรัพยเส่ียงจะสลับไปมาบอยครั้งมากขึ้นตามขาวเชิงลบเกี่ยวกับยุโรปที่เขามาและหายไป เราตองพิจารณาวาเงินยูโรจะประกอบจากประเทศใดบาง ถาเงินยูโรไดรับการสนับสนุนจากประเทศที่ออนแอของสหภาพยุโรป เงินดอลลารสหรัฐฯก็จะไดรับประโยชน แตถาหากเงินยูโรไดรับการสนับสนุนจากประเทศเยอรมนีและประเทศฝรั่งเศส (ซึ่งยังคงมีอันดับเครดิตที่ AAA) เงินดอลลารสหรัฐฯ จะออนคาเมื่อเทียบกับเงินยูโร เปนที่แนนอนวาเรื่องนี้ทั้งหมดจะขึ้นอยูกับการเมืองดังเชนที่เราเห็นจากกรณีของนายปาปนเดรอู และนายแบรลุสโคนี

Page 11: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

1111

11

อีกส่ิงหนึ่งที่เราสังเกตไดคือการเปล่ียนแปลงการบริหารจัดการอัตราแลกเปลี่ยนของธนาคารแหงของประเทศไทย โดยหลังจากที่แบกรับภาระในการรักษาเสถียรภาพของสกุลเงินและเปนผลใหมีเงินดอลลารสหรัฐที่มากเกินไป ธนาคารแหงประเทศไทยมีแนวโนมที่จะปลอยใหคาเงินบาทเคลื่อนไหวตามภาวะตลาดมากขึ้นเพื่อที่จะใหภาคเอกชนลดการพึ่งพาทางการหรือลด moral hazard ดังนั้นเรายังคงแนะนําใหทั้งผูสงออกและผูนําเขาใหความสําคัญกับการปองกันผลกระทบจากความผันผวนของคาเงินมากขึ้น เรามองวาอัตราแลกเปลี่ยน ดอลลาร/บาท จะมีความผันผวนมากขึ้นในชวงไมกี่สัปดาหที่เหลือของปนี้และคาดวาจะไปปดที่ระดับ 30.50 ณ ส้ินป สําหรับป 2555 เรามองวาอัตราแลกเปลี่ยน ดอลลาร/บาทจะมีความผันผวนในกรอบที่กวางขึ้นจากปจจัยที่ไดกลาวไวขางตน โดย ดอลลาร/บาท จะอยูในกรอบ 29.50-33.00 และคาดวาจะปดที่ระดับ 29.50 ในชวงสิ้นป

รูปที่ 11. ความผนัผวนของดอลลาร/บาทรอบระยะ 30 วัน รูปที่ 12. ...แตความผันผวนก็ยังคงเปนระดับที่ต่าํสุดในกลุมคาเงนิภูมิภาค

0123456789

Feb-09

May-09

Aug-09

Nov-09

Feb-10

May-10

Aug-10

Nov-10

Feb-11

May-11

Aug-11

Nov-11

30 day volatility

%

0.002.004.006.008.00

10.0012.0014.0016.00

USD/

CNY

USD/

SGD

USD/

TWD

USD/

KRW

USD/

PHP

USD/

IDR

USD/

INR

USD/

HKD

USD/

MYR

USD/

THB

30 day vols%

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

Page 12: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

1212

12

ตารางที่ 1. ปจจัยที่สําคัญตอการเคลื่อนไหวของ USD/THB

USD/THB ปรับลดลง USD/THB ปรับสูงขึ้น The US economy is still floundering. With unemployment very

elevated at 9%+, economic stimulus no doubt is needed Fiscal constraints means that stimulus in the form of

expansionary fiscal policy is not an option …hence QE3, 4, …. is still needed…..meaning the Fed will

be printing more US dollars to monetize and reduce their indebtedness

The European authorities, despite having demonstrated shortcoming of leadership, solidarity and efficiency in dealing with the sovereign debt / banking crisis, has been able to prevent or postpone a full blown crisis thus far

China proceeds with CNY appreciation. This allows regional currencies including the Thai baht to appreciate as well without significant implications on competitiveness

Thai baht remains undervalued e.g. the Economist Big Mac index estimates Thai baht is 42.3% undervalued relative to the US dollar.

Bureaucracy of the EU system limits the speed of how European

authorities can effectively respond and resolve the crisis and allows the Eurozone to implode into a full fledge sovereign domino defaults and bank runs / closures

Risk aversion kicks in and investors further reduced investment positions in all sorts of risk asset classes including emerging markets equities and bonds

Higher risk perception of the EUR will prompt a shift of reserves away from the 17 nation currency (market share of 27%) and towards the US dollar (market share of 60%)

The Fed is contented with just the 2011 version of “Operation Twist” for the time being. This means that the Fed will not expand its balance sheet and slows down the pace of US dollar printing i.e. M1 money supply

The floods have severely impaired Thailand’s ability to export while expectations for reconstruction suggest a higher capital import bill. The Bank of Thailand now foresees the current account shifting to a deficit of USD 1.7bn instead of previous estimates of USD 6.1 bn surplus

…in conjunction, we now expect the Bank of Thailand to cut rates by 50bps at it next MPC (Monetary Policy Committee) meeting. This reduces the attractiveness of the long THB / short USD trades.

Source: KBank Source: KBank

Page 13: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

1313

13

เราจะฝาน้ําทวมไปดวยกนั

น้ําทวมในประเทศไทยไดทําใหเกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจและสังคมอยางมาก และ

ยังคงเพิ่มขึ้นเมื่อน้ําเขาใกลพ้ืนที่ช้ันในของกรุงเทพฯ

เราสามารถเรียนรูประสบการณของประเทศอื่นเมื่อพวกเขาเผชิญภัยพิบัติที่รุนแรงมากกวาเรา ตัวอยางในที่นี้ช้ีใหเห็นวาผลกระทบทางเศรษฐกิจจากภัยพิบัติทางธรรมชาติมีแนวโนมที่จะเปนเพียงระยะสั้น

การคาระหวางเงินดอลลารสหรัฐฯและเงินบาทคอนขางบาง ซึ่งนําไปสูการเคล่ือนไหวเพียงเล็กนอยของเงินดอลลารสหรัฐฯ/บาทในชวงนี ้

ในชวงเวลาที่มีความไมแนนอนมากขึ้นในประเทศตะวันตกและสภาพคลองเงินดอลลารที่มีมากขึ้น เรานาจะเห็นนักลงทุนมาลงทุนในเงินบาทมากขึ้น อันจะนําไปสูการแข็งคาของเงินบาทในครึ่งหลังของปหนา

เปรียบเทียบผลกระทบทางเศรษฐกิจจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ น้ําทวมในประเทศไทยไดกอใหเกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจและสังคมอยางมาก และยังคง

เพิ่มขึ้นหากน้ําเขาสูพื้นที่ชั้นในของกรุงเทพฯ มีหลายการศึกษาที่คาดการณวาเศรษฐกิจจะเติบโตชาลง และมีความเปนไปไดสูงที่เศรษฐกิจจะหดตัวในไตรมาสสุดทายของปนี้ นักลงทุนดูเหมือนวายังไมมีความแนนอนเกี่ยวกับเศรษฐกิจไทยและแนวโนมของเงินดอลลารสหรัฐฯ/บาทเราสามารถเรียนรูจากประสบการณของประเทศอื่น ๆ ที่เผชิญภัยพิบัติรุนแรงมากยิ่งกวาเรา ตัวอยางเชนการเกิดแผนดินไหวในไตหวัน (1999) และในประเทศญี่ปุน (1995 และ 2011) ลองมาดูการปรับตัวของอัตราแลกเปลี่ยนและเศรษฐกิจของพวกเขากัน

แผนดินไหวในไตหวันที่ทําใหเกิดความเสียหายอยางมากเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 21 กันยายน ป ค.ศ.1999 หรือเรียกวาแผนดินไหว Jiji ซึ่งคราชีวิตคนมากกวา 2,400 ชีวิตในขณะที่กวาหนึ่งหมื่นหนึ่งพันคนไดรับบาดเจ็บผลกระทบทางเศรษฐกิจก็มีความรุนแรงเชนกัน การลงทุนในตลาดหุนถูกปดไปเปนสัปดาห แผนดินไหวยังทําใหเกิดการหยุดชะงักในการผลิตชิ้นสวน RAM ซึ่งมีผลใหราคาของหนวยความจําคอมพิวเตอรเพิ่มสูงขึ้น แมจะมีความเสียหายอยางรายแรงในดานการผลิต เศรษฐกิจในไตรมาสที่สามและไตรมาสที่ส่ีขยายตัว 5.08% และ 6.1% ตามลําดับจากชวงเดียวกันของปกอน การสงออกในเดือนกันยายน ค.ศ.1999 ขยายตัวชาลงที่ 3.5% แตกลับสูงขึ้นอยางรวดเร็วที่ 13.2% ในเดือนถัดไป การสงออกยังคงเติบโตดีจนถึงกลางทศวรรษกอน ทําให USD/TWD ลดลง (เงินดอลลารไตหวันแข็งคา) ดังนั้นผลกระทบจากการเกิดแผนดินไหวตอการเติบโตทางเศรษฐกิจและตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศในไตหวันนั้นมีไมมากนัก

Page 14: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

1414

14

รูปที่ 13. การเปลีย่นแปลงของเงินดอลลารสหรฐัฯ/ดอลลารไตหวนั รูปที่ 14. การเติบโตทางเศรษฐกิจของไตหวัน

25

27

29

31

33

35

37

Nov-95 Nov-97 Nov-99 Nov-01 Nov-03 Nov-05 Nov-07 Nov-09 Nov-11

USD/TWD

-10

-5

0

5

10

15

Jun-95 Jun-97 Jun-99 Jun-01 Jun-03 Jun-05 Jun-07 Jun-09 Jun-11

Taiwan real economic growth (% yoy)

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

ลองมาดูกรณีของประเทศญี่ปุนบาง ญี่ปุนมีประสบการณการเกิดแผนดินไหวใหญในรอบสาม

ทศวรรษที่ผานมาถึงสองครั้ง ครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อ 17 มกราคม ค.ศ.1995 ซึ่งเรียกวาแผนดินไหว Hanshin ที่คราชีวิตเกือบ 6,500 ชีวิต ซึ่ง 4,600 คนมาจากเมืองโกเบ ดัชนีนิคเคอิ 225 รวงลงกวาพันจุดหลังการเกิดแผนดินไหว ผลกระทบทางการเงินเพิ่มขึ้นหลังธนาคาร Barings ลมเนื่องจากนาย Nick Leeson คาดการณผิดพลาดในการลงทุนในญี่ปุนและสิงคโปร จากซื้อขายลวงหนาในตลาดอนุพันธ ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากแผนดินไหวคาดวาประมาณ 2.5% ของ GDP ของญี่ปุนในเวลานั้น อยางไรก็ดีเศรษฐกิจไตรมาสแรกของป ค.ศ. 1995 ขยายตัว 1.2% จากชวงเดียวกันของปกอน เงินดอลลารสหรัฐฯ/เยน มีการปรับตัวอยางรุนแรง เงินดอลลารสหรัฐฯ/เยน ลดลง (เงินเยนแข็งคา) อยางมากจากระดับประมาณ 99 ในวันที่ญี่ปุนถูกแผนดินไหวกระทบ จนถึงระดับต่ํากวา 83 ในชวงปลายเดือนพฤษภาคมในปเดียวกัน แผนดินไหวครั้งลาสุดในญี่ปุนที่กอใหเกิดความเสียหายอยางมากเกิดขึ้นในวันที่ 11 มีนาคม ค.ศ. 2011 ซึ่งเรียกวาแผนดินไหว Tohoku หลังจากที่เกิดแผนดินไหว แรงส่ันสะเทือนไดกอใหเกิดสึนามิที่สงผลใหกวา 4 ลานครัวเรือนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุนไมมีกระแสไฟฟาใช นอกจากนี้ผูคนที่อยูในบริเวณใกลเคียงกับโรงไฟฟานิวเคลียรตองถูกอพยพ รัฐบาลญี่ปุนไดอัดฉีดเงินเพื่อชวยเหลือธนาคารและธุรกิจ ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากแผนดินไหวและคลื่นสึนามิมีมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งตอการทําลายหวงโซอุปทานในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสที่สําคัญ เครื่องจักร และรถยนต เศรษฐกิจญี่ปุนหดตัวประมาณ 1% ในชวงสองไตรมาสที่ผานมา ผลกระทบตอเงินดอลลารสหรัฐฯ/เยน มีความคลายคลึงกับแผนดินไหวกอนหนานี้ เงินดอลลารสหรัฐฯ/เยนลดลงจากระดับประมาณ 82 เมื่อวันที่ 11 มีนาคมถึงระดับต่ํากวา 78 ในชวงนี้ กระทรวงการคลังและธนาคารกลางไดแทรกแซงคาเงินเพื่อปองกันไมใหเงินดอลลารสหรัฐฯ/เยนลดลงรวดเร็วเกินไป จนจะเปนอันตรายตอการสงออกและการฟนตัวทางเศรษฐกิจในประเทศญี่ปุน การ ปรับตัวในตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศในญี่ปุนมีความแตกตางจากไตหวัน จากการที่บริษัทญี่ปุนที่ดําเนินงานในตางประเทศไดสงเงินทุนกลับไปชวยบริษัทแมในญี่ปุน นโยบายของรัฐบาลที่จะอัดฉีดเงินเปน

Page 15: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

1515

15

จํานวนมากเพื่อใหม่ันใจวาบริษัทญี่ปุนมีสภาพคลองเพียงพอ ไดสงผลใหเงินเยนออนคา อยางไรก็ดีเงินเยนยังคงมีแนวโนมแข็งคาไดอยูจากความผันผวนของตลาดโลก รูปที่ 15. การเปลีย่นแปลงของเงินดอลลารสหรฐัฯ/เยน รูปที่ 16. การเติบโตทางเศรษฐกิจของญี่ปุน

708090

100110120130140150

Nov-94 Nov-96 Nov-98 Nov-00 Nov-02 Nov-04 Nov-06 Nov-08 Nov-10

USD/JPY

-12-10

-8-6-4-202468

Jun-95 Jun-97 Jun-99 Jun-01 Jun-03 Jun-05 Jun-07 Jun-09 Jun-11

Japan real economic growth (% yoy)

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

แลวประเทศไทยหละ ประสบการณของประเทศอื่น ๆ แสดงใหเห็นวาผลกระทบทางเศรษฐกิจจาก

ภัยพิบัติทางธรรมชาติมีแนวโนมที่จะเปนผลระยะสั้น นอกเหนือจากไตหวันและญี่ปุนแลว ยังมีฟลิปปนสและออสเตรเลียที่มีประสบการณน้ําทวมในปนี้ น้ําทวมไดกระทบการผลิตทั้งสองประเทศ อยางไรก็ดีผลกระทบทางเศรษฐกิจไมไดมีมากนัก ตรงกันขามผลกระทบจากน้ําทวมในหลายนิคมอุตสาหกรรมในประเทศไทยดูเหมือนวาจะมีมากและมีแนวโนมที่จะทําใหเกิดการหดตัวทางเศรษฐกิจสําหรับไตรมาสสุดทายนี้ ประเด็นที่นาสนใจคือเงินดอลลารสหรัฐฯ/บาทจะเคลื่อนไหวไปในทิศทางใด อัตราแลกเปลี่ยนไดเคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกับสกุลเงินในภูมิภาคตั้งแตน้ําเริ่มทวมในชวงตน วิกฤติหนี้ของกรีซและวิกฤติเศรษฐกิจที่กําลังย่ําแยของอิตาลีมีบทบาทสําคัญตอการเคลื่อนไหวของเงินดอลลารสหรัฐฯ/บาท มากกวาปญหาน้ําทวม คําถามที่ตามมาคือทําไมจึงเปนเชนนั้น ปจจัยสําคัญอันหนึ่งคือมีผูที่เกี่ยวของในตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศจํานวนหนึ่งไดรับผลกระทบจากน้ําทวม อันสงผลใหบริษัทของพวกเขาดําเนินการชาลง มูลคาการซื้อขายเงินดอลลารสหรัฐฯและคาเงินบาทจึงเปนไปอยางเบาบาง เงินดอลลารสหรัฐฯ/บาทดูเหมือนวาจะคงรักษาระดับไวที่ 30.50 ไปจนถึงปลายปนี้ ซึ่งนาจะสอดคลองกับการคาดการณวาน้ําทวมจะยังคงมีผลการทบอยูจนถึงเดือนถัดไป อยางไรก็ดีเราอยากแนะนํานักลงทุนใหใสใจกับขาวเกี่ยวกับปญหาที่เกิดขึ้นจากวิกฤติหนี้ยูโรโซนและการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลงในสหรัฐ เหตุการณเหลานั้นมีแนวโนมที่จะกระทบตอการเคลื่อนไหวของเงินดอลลารสหรัฐฯ/บาทในทิศทางขาขึ้น หรือเงินบาทออนคาได

Page 16: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

1616

16

รูปที่ 17. การเปลีย่นแปลงของเงินดอลลารสหรฐัฯ/บาท รูปที่ 18. การเติบโตทางเศรษฐกิจของไทย

28

30

32

34

36

38

Nov-06 Nov-07 Nov-08 Nov-09 Nov-10 Nov-11

USD/THB

-20

-15-10

-50

510

15

Jun-95 Jun-97 Jun-99 Jun-01 Jun-03 Jun-05 Jun-07 Jun-09 Jun-11

Thailand real economic growth (% yoy)

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

คาเงินบาทหลังจากน้ําทวม

หากเรามองขามวิกฤติน้ําทวมในปจจุบันและลองมองอนาคตดู พบวามีความเปนไปไดสูงที่รัฐบาลจะทําทุกอยางเพื่อปองกันไมใหน้ําทวมเกิดซ้ําขึ้นอีกครั้ง โดยเฉพาะพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม ธุรกิจและพื้นที่อยูอาศัย ดังนั้นเรานาจะเห็นงบการลงทุนภาครัฐเปนจํานวนมากเพื่อปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานและการชลประทาน นอกจากนี้เปนที่แนนอนวารัฐบาลจะมอบเงินชวยเหลือจํานวนมากเพื่อชดเชยผูที่ไดรับผลกระทบจากน้ําทวม เราจะเห็นเงินหมุนเวียนในระบบมากขึ้น บางคนอาจจะถามวารัฐบาลจะหาเงินที่ไหนมาใชจายในโครงการสาธารณะเหลานี้ หากเรามองวา "การจัดเก็บภาษีโดยไมมีผูแทนเทียบเทากับการปกครองแบบเผด็จการอันจะนําไปสูความวุนวายทางการเมือง" ในทํานองเดียวกัน "การมีผูแทนโดยไมตองเสียภาษีก็จะเทียบเทากับการกอหนี้สาธารณะที่สูงขึ้น" มีการมองกันวารัฐบาลจะตองการเงินมากกวา 9 แสนลานบาทเพื่อไปใชในโครงการฟนฟูหลังถูกน้ําทวม หากรัฐบาลกูยืมเงินมากขึ้น หนี้สาธารณะตอ GDP จะพุงสูงจาก 41% ถึง 50% ในอีกไมกี่ปจากนี้ แมวาระดับที่ 50% จะดูคอนขางต่ําเมื่อเทียบกับกรีซและอิตาลี แตเราไมตองการที่จะเดินตามรอยเทาประเทศเหลานี้ ซึ่งอาจทําใหเกิดปญหาทางการคลังได คุณอาจถามวาทางเลือกอื่นคืออะไร ทางเลือกนอกเหนือจากการเพิ่มหนี้ใหมากขึ้นก็คือการเพิ่มภาษี ซึ่งอาจมีความเสี่ยงเหมือนการฆาตัวตายทางการเมือง โดยเฉพาะในชวงนี้ที่คนทุกกลุมอาชีพตางก็ไดรับผลกระทบจากน้ําทวมดวยกันทั้งนั้น อยางไรก็ดีเราไมใชประเทศเดียว เมื่อเร็ว ๆ นี้ประเทศญี่ปุนไดเสนอที่จะเพิ่มภาษีการบริโภคถึง 10% โดยใหมีผลชวงกลางทศวรรษที่ 2010 เพื่อนําเงินมาใชจายเพื่อฟนฟูความเสียหายหลังการเกิดแผนดินไหว และสึนามิ หากเราเพียงแคเล่ือนการชําระเงินออกไปในอนาคตโดยการเพิ่มหนี้ใหมากขึ้น ก็มีโอกาสที่เราจะตองจายดอกเบี้ยมากขึ้น อันจะเปนอุปสรรคตอการลงทุนภาครัฐ ซึ่งจะสงผลลบตอประสิทธิภาพของแรงงาน เนื่องจากสัดสวนทุนตอแรงงานจะลดลง และตอมาก็จะนําไปสูการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ชาลงในอนาคต รัฐบาลอาจจะเพิ่มปริมาณเงินในระบบใหมากขึ้น อันเปนรูปแบบหนึ่งของการแปรหนี้ใหเปนเงิน ดวยการทําใหอัตราเงินเฟอสูงขึ้น และคาของเงินบาทลดลง เพื่อลดภาระหนี้ของภาครัฐ

Page 17: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

1717

17

ดังนั้นมีความเปนไปไดที่ในระยะยาวที่เงินบาทจะออนคาเทียบกับเงินดอลลารสหรัฐฯภายใตสถานการณที่หนี้ภาครัฐเพิ่มสูงขึ้น

แลวผลระยะสั้นเปนอยางไร? เพื่อที่จะตอบคําถามนี้ เราจําเปนตองพิจารณาปฏิกิริยาของนักลงทุนตางชาติตอเหตุการณที่เกิดขึ้น นักลงทุนตางชาติอาจเลือกที่จะยังคงอยูในประเทศไทยหรือยายการผลิตไปยังประเทศอื่น หากนักลงทุนตางชาติยืนยันที่จะอยูในประเทศไทย พวกเขาก็จะตองส่ังซื้อเครื่องจักรมาแทนที่ของที่ไดรับความเสียหายจากน้ําทวม การนําเขาสินคาทุนเหลานี้จะสงผลใหเงินบาทออนคา เครื่องจักรสวนใหญไทยตองนําเขามาจากประเทศญี่ปุนซึ่งจะสงผลใหการขาดดุลการคาของประเทศไทยมีมากขึ้น อันจะทําใหเงินดอลลารสหรัฐฯ/บาทมีแนวโนมขาขึ้น หรือเงินบาทออนคา อยางไรก็ดีผลกระทบนี้นาจะเปนผลชั่วคราวที่จะทําใหเงินบาทเปลี่ยนแปลงไปในชวงไตรมาสแรกของปหนา หลังจากนั้นคาเงินบาทนาจะมีแนวโนมเปล่ียนแปลงตามปจจัยภายนอกที่สําคัญ เชนวิกฤตหนี้ในยูโรโซนและการใชมาตรการ QE 3 เพื่อเพิ่มสภาพคลองของเงินดอลลารสหรัฐฯ อันจะเพิ่มความเปนไปไดใหคาเงินบาทแข็งคาไปในชวงครึ่งหลังของปหนานี้ รูปที่ 19. การนาํเขาเครื่องจักรจากญี่ปุน รูปที่ 20. ความสมัพันธระหวางการนําเขาสินคาทุนกับคาเงินบาท

0

5

10

15

20

25

30

35

Machinery imports, Japan Electrical Machinery imports, Japan

Jan-Sep 2010 Jan-Sep 2011

%

2,000

2,500

3,000

3,500

4,000

4,500

5,000

5,500

6,000

Jan-08 Jul-08 Jan-09 Jul-09 Jan-10 Jul-10 Jan-11 Jul-11

28

29

30

31

32

33

34

35

36

Imports of capital goods (USD mn), left USD/THB, right inv erted

correlation = -0.78

Source: CEIC, KBank Source: CEIC, KBank

Page 18: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

1818

18

A คาดธปท.ลดดอกเบี้ยเพื่อใหเศรษฐกิจฟนตัวเร็วขึ้น

เราคาดวาธปท.จะปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.50% ในการประชุมกนง. วันที่ 30 พ.ย.

และคงอัตราดอกเบี้ยไวในระดับ 3.00% ส้ินปหนา จนกวาจะเห็นการฟนตัวของเศรษฐกิจที่ชัดเจน

หากการลดอัตราดอกเบ้ียนโยบายลาชากวาที่เราประเมินไว เรายังคงประเมินวา อัตราดอกเบ้ียนโยบายจะลดลงสูระดับ 3.00% ชวงไตรมาส 1 ปหนา

ตลาดมีการคาดการณการปรัลดอัตราดอกเบ้ียอยูกอนหนาแลว สังเกตไดจากอัตราดอกเบ้ียระยะ 2 ปที่ต่ํากวาอัตราดอกเบ้ียระยะ 1 ป

การดําเนินนโยบายของธนาคารกลางในภูมิภาคเอเชียเปล่ียนแปลงไป โดยชวงครึ่งปหลังการปรับอัตราดอกเบ้ียนโยบายในหลายประเทศไดหยุดลง และลาสุดอินโดนีเซียและออสเตรเลียตัดสินใจปรับลดอัตราดอกเบ้ียนโยบาย

เดือนกอน เราแนะนําใหนักลงทุนเพิ่มการลงทุนในพันธบัตรระยะยาวหากกนง.สงสัญญาณวาเปนหวงการเติบโตของเศรษฐกิจมากขึ้น (dovish) เดือนนี้ เรายังคงแนะนํากลยุทธแบบเดียวกัน โดยคาดวาอัตราผลตอบแทนระยะสั้นจะลดลงเร็วกวาและนักลงทุนระยะยาวควร ล็อกผลตอบแทนที่สูงในขณะนี้ไว

คาดธปท.ลดดอกเบ้ียครั้งเดียว 50 bp ในรายงานฉบับกอน เราปรับลดเปาหมายอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงจาก 4.00% เปน 3.50%

สําหรับปนี้ และธนาคารแหงประเทศไทย(ธปท.)ไดคงอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ 19 ตุลาคมตามคาด อยางไรก็ดี เรามองวามีโอกาสสูงที่ ธปท.จะปรับลดอัตราดอกเบี้ย 0.50% ในการประชุมนโยบายการเงินครั้งตอไป (30 พ.ย.) เพื่อเปนการพยุงเศรษฐกิจไทยใหฟนตัวเร็วขึ้นจากวิกฤตอุทกภัยและเพื่อเปนการชวยผอนคลายภาวะการเงินในชวงการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกในชวงตอไปอีกดวย ทั้งนี้ เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจไทยมีแนวโนมที่จะไดรับผลกระทบเปนวงกวางมากกวาที่คาดไวกอนหนาจากภาวะอุทกภัยที่ยืดเยื้อและเศรษฐกิจยุโรปและสหรัฐฯเองมีแนวโนมที่จะเติบโตไดต่ํากวาคาดเชนกัน

ตามความคิดเห็นลาสุดจากรองผูวาการธปท.ดานเสถียรภาพการเงิน คุณ สุชาดา กิระกุล เราทราบวา ธปท.อาจจะปรับลดประมาณการอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจลงจาก 2.6% ที่ใหไว ณ วันที่ 19 ต .ค . โดยสภาวะน้ําทวมในเดือนพฤศจิกายนเลวรายลงและคาดวาจะมีผลกระทบตอการผลิตภาคอุตสาหกรรมในวงกวางกวาที่คาดไวเดิม โดยเฉพาะอยางยิ่งจากการเชื่อมโยงทางหวงโซการผลิตของพื้นที่ที่ไมประสบปญหาอุทกภัยและนิคมอุตสาหกรรมจํานวนมากที่ยังคงมีน้ําทวมขัง สําหรับความกังวล

Page 19: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

1919

19

ดานแรงกดดันราคานั้น ลาสุดธปท.เห็นวามีจํากัดในชวงตอไป (จากรายงานแนวโนมเงินเฟอ) ซึ่งตรงกับที่เราประเมินไวเชนกัน ดังนั้น ดานนโยบายการเงินจึงยังพอมีพื้นที่ใหผอนคลายไดเล็กนอยเพื่อชวยฟนฟูเศรษฐกิจเร็วขึ้น นอกจากนี้ เราคาดวาการดอัตราดอกเบี้ยนโยบายจะชวยทําใหความเชื่อม่ันของภาคธุรกิจและผูบริโภคดีขึ้นในชวงตอไป และสังเกตวาดัชนีชี้ความเชื่อม่ันสองตัวนี้ไดลดลงคอนขางมากชวงนี้เนื่องจากปจจัยน้ําทวมและความกังวลสําหรับการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก รูปที่ 21.อัตราผลตอบแทนพันธบัตรช้ีวาตลาดมีการคาดการณเก่ียวกับการลดอัตราดอกเบี้ย RP

รูปที่ 22. การประมาณการอตัราเงินเฟอของธปท. ณ เดือนต.ค.

2.002.252.502.753.003.253.503.754.004.25

Jan-11 Feb-11 Mar-11 Apr-11 May-11 Jun-11 Jul-11 Aug-11 Sep-11 Oct-11 Nov-11

%

policy rate 2y 5y 10y

Government bond yield curve

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

ในชวงตอไป บทบาทสําคัญในการกระตุนเศรษฐกิจจะอยูที่ภาคการคลังและอุปสงคในประเทศโดยรวมจะเริ่มฟนตัวตั้งแตตนป 2555 ทั้งจากกิจกรรมการฟนฟูพื้นที่ตางๆและการเยียวยาภาคครัวเรือน อยางไรก็ตาม การปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายจะทําใหตนทุนการเงินลดลงและชวยใหกิจกรรมทางเศรษฐกิจปรับตัวไดเร็วขึ้น นอกจากนี้ยังจะชวยใหเศรษฐกิจไทยเติบโตอยางแข็งแกรงพอเพื่อรองรับผลกระทบจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกและความเสี่ยงจากปญหาหนี้สินของยุโรป โดยลาสุดเครื่องชี้ตางๆของยุโรปและสหรัฐฯแสดงใหเห็นวาเศรษฐกิจชะลอตัวลงมากกวาที่คาดไว ขณะที่การการแกปญหาหนี้สาธารณะของประเทศที่พัฒนาแลวตางๆอาจตองใชเวลานาน วันที่ 3 พ.ย. ที่ผานมาผูวาธนาคารแหงประเทศไทยไดกลาวเตือน (เปนภาษาอังกฤษ) ในงานสัมมนาวา ในปถัดไป เราจําเปนจะตองพึ่งอุปสงคในประเทศเปนปจจัยหลักในการคับเคลื่อนเศรษฐกิจ ดังนี้

"ผมขอย้ําวาชะตากรรมของประเทศไทยจะขึ้นอยูกับความสําเร็จในการฟนฟูอุปสงคในประเทศ โดยปญหาที่เกิดขึ้นในสหรัฐและยูโรโซนจะยังคงไมไดรับการแกไขและคาดวาจะยังคงอยูในปหนาและในอีกหลายปตอไป"

Page 20: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

2020

20

รูปที่ 23. ดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อภาคการผลติและบริการของยูโรโซน รูปที่ 24. ดัชนคีวามเช่ือม่ันภาคธุรกิจและดัชนีความเช่ือม่ันผูบริโภคของ

ไทย

30

35

40

45

50

55

60

Jan-08 Jul-08 Jan-09 Jul-09 Jan-10 Jul-10 Jan-11 Jul-11Services Manufacturing

Eurozone purchasing manager index

50

60

70

80

90

100

110

120

04 05 06 07 08 09 10 1130

35

40

45

50

55

60

consumer confidence index (LHS) Business sentiment index (RHS) Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

การเคลื่อนไหวในตลาดตราสารหนี้ในชวงทีผ่านมา

การเคลื่อนไหวในตลาดตราสารหนี้ชวงครึ่งหลังของเดือนตุลาคมสะทอนแนวโนมการปรับลดอัตราดอกเบี้ยของธปท. โดยอัตราผลตอบแทนลดลงประมาณ 35bp จากสิ้นเดือนกันยายน (ลดลง 25 - 44bp ตลอดเสนอัตราผลตอบแทน) ณ ส้ินเดือนต.ค. อัตราผลตอบแทนของพันธบัตรอายุ 2-3 ปทรงตัวอยูระดับต่ํากวาอัตราผลตอบแทนของพันธบัตรอายุ 1 ป แสดงใหเห็นวาตลาดมีการคาดการณวาอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นจะลดลงในปหนา ขณะเดียวกัน เราไดตรวจสอบเครื่องชี้อีกตัวหนึ่งซึ่งนาจะสะทอนการคาดการณในตลาดระหวางธนาคาร (interbank) ซึ่งอัตราดอกเบี้ยสว็อประยะ 6 เดือนก็มีแนวโนมลดลงในอีก 6 เดือนขางหนาเชนเดียวกับในตลาดตราสารหนี้ ในเดือน พ.ย. อัตราผลตอบแทนพันธบัตรดีดตัวขึ้นคอนขางมากหลังจากที่อัตราดอกเบี้ย IRS ไดปรับตัวขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐฯ นอกจากนี้ ผลการประมูลของพันธบัตรรัฐบาลอายุ 5 ปตัวใหมมีออกมาไมคอยดีนัก นอกจากนี้ เสนอัตราผลตอบแทนปรับชันขึ้นเล็กนอย ซึ่งเราคาดวาสวนหนึ่งมาจากการขายทํากําไรของนักลงทุนภายหลังที่ได price in การปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายชวงปลายเดือน ต.ค. ทั้งนี้ นักลงทุนสวนหนึ่งอาจมีความกังวลดานแนวโนมการกูยืมของรัฐบาลในชวงตอไปเพื่อการกระตุนเศรษฐกิจและบรรเทาผลกระทบจาก อุทกภัย

Page 21: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

2121

21

รูปที ่25. เสนอตัราผลตอบแทนปรบัตัวชันขึน้ รูปที ่26. ตลาดมีการคาดการณถึงการปรบัลดของอัตราดอกเบีย้ระยะส้ัน

3.29 3.27 3.27 3.26 3.33.36 3.38

3.44 3.47 3.48

3.003.103.203.303.403.503.603.703.803.90

1y 2y 3y 4y 5y 6y 7y 8y 9y 10yTTM

%

09-Nov-11 31-Oct-11 30-Sep-11

Government bond yield curve

-60-40-20

020406080

100

Jan-11 Feb-11Mar-11 Apr-11 May-11 Jun-11 Jul-11 Aug-11 Sep-11 Oct-11 Nov-111.5

2

2.5

3

3.5

4

6m6m IRS change Policy rate (right axis)

bp %

Source: PDMO, KBank Source: PDMO, KBank

รูปที ่27. อัตราดอกเบี้ยในประเทศปรับตัวสูงขึน้เมื่ออัตราผลตอบแทนของสหรัฐฯเริ่มขยับขึ้นหลังจากชวงการประกาศ operation twist เดือนก.ย.

2.75

3.00

3.25

3.50

3.75

4.00

4.25

Jul-11 Aug-11 Sep-11 Oct-11 Nov-110.7

0.9

1.1

1.3

1.5

1.7

1.9

5Y THB bond 5Y IRS 5Y U.S. Treasury(right axis)

%%

Source: PDMO, KBank

อัตราดอกเบ้ียนโยบายในภูมิภาคเอเชียอยูที่จุดเปลี่ยน

หากธปท.ปรับลดอัตราดอกเบี้ย ก็จะเปนการดําเนินนโยบายในทิศทางที่ใกลเคียงกับธนาคารกลางในภูมิภาคเอเชีย อนึ่ง อัตราเงินเฟอของหลายประเทศในเอเชียพุงขึ้นตั้งแตชวงตนป 54 กอนที่จะชะลอตัวลงในไตรมาสที่สาม ดังนั้นธนาคารกลางในภูมิภาคไดทยอยลดการผอนคลายในนโยบายการเงินมาอยางตอเนื่อง ทวาในชวงครึ่งหลังของป เราจะสังเกตไดวาการปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายในประเทศจีน เกาหลี มาเลเซียและออสเตรเลียตางไดหยุดลง และลาสุด ประเทศอินโดนีเซียและออสเตรเลียตัดสินใจปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายโดยใหเหตุผลวาแรงกดดันดานราคาในประเทศปรับตัวลดลงและการผอนคลายนโยบายการเงินชวงนี้เปนการเตรียมพรอมรับมือกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกในระยะตอไป

Page 22: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

2222

22

รูปที่ 28. อัตราดอกเบี้ยนโยบายในภมิูภาค รูปที่ 29. อัตราเงนิเฟอทั่วไปในภูมิภาค

4.50 4.503.25

6.56

8.50

3.00 3.50

1.88

6.00

0123456789

Austr

alia

Philip

pines

Sout

hKo

rea

China Ind

ia

Malay

sia

Thail

and

Taiw

an

Indon

esia

3M ago 1M ago current%

3.5

5.8 5.2 5.53.9

5.5

10.1

3.44.2

1.2

4.4

0

2

4

6

8

10

12

Austr

alia

Hong

Kong

Philip

pines

Singa

pore

Kore

a

China India

Malay

sia

Thail

and

Taiw

an

Indon

esia

3-month ago Latest inflation rate%

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

ตารางที่ 2 ตารางการประมูลพันธบัตรรฐับาลในไตรมาสที่ 1 ปงบประมาณ 2555 หนวย: ลานบาท

Auction Date LB176A LB193A LB157B (Float-rate) Total

02-Nov-11 - 9,000 - 9,000 09-Nov-11 15,000 - - 15,000 16-Nov-11 - - 8,000 8,000 23-Nov-11 - - - - 30-Nov-11 - - - -

Dec-11 - - - - Total 15,000 9,000 8,000 32,000

Source: PDMO, KBank

แนวโนมตลาดในชวงตอไป เสนอัตราผลตอบแทนที่ปรับชันขึ้น (steepened) สวนหนึ่งเปนเพราะเงินทุนไหลเขาจากตางประเทศในตลาดพันธบัตรไดทยอยลดลงเนื่องจากความไมแนนอนในตลาดการเงินโลก ซึ่งทําใหนักลงทุนเลี่ยงความเส่ียงมากขึ้น (lower duration) ในขณะที่นักลงทุนในประเทศยังมีความกังวลเกี่ยวกับแรงกดดันเงินเฟอในระยะสั้นและความเปนไปไดที่จะมีการเปลี่ยนแปลงในการออกพันธบัตรรัฐบาล โดยลาสุดรัฐบาลไดปรับการขาดดุลงบประมาณเปน 4 แสนลานบาท ซึ่งสูงกวาที่ประกาศไวกอนหนานี้ 5 หมื่นลานบาท ปจจัยเหลานี้อาจทําใหพันธบัตรระยะยาวมีความนาสนใจนอยลง อยางไรก็ดี หากสถานการณน้ําทวมยังยื้ดเยื้อตอไป ตลาดมีแนวโนมที่จะคาดการณืการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายมากขึ้น และจะเปนปจจัยใหอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นลดลงเร็วกวาอัตราดอกเบี้ยระยะยาว ดังนั้น เสนอัตราผลตอบแทนมีแนวโนมที่จะคงความชันกวาชวงไตรมาสที่ 3 เดือนกอน เราไดแนะนําใหนักลงทุนเพิ่มการลงทุนในพันธบัตรระยะยาวหากคณะกรรมการนโยบายการเงินสงสัญญาณวาเปนหวงการเติบโตของเศรษฐกิจมากขึ้น (dovish) สําหรับเดือนนี้ เรายังคงแนะนํากลยุทร

Page 23: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

2323

23

แบบเดียวกัน โดยคาดวาอัตราผลตอบแทนระยะสั้นจะลดลงเร็วกวาและนักลงทุนระยะยาวควรล็อคผลตอบแทนที่สูงในขณะนี้ไว ตารางที่ 3 ประมาณการใหมของ KBank

Actual rates 2011 forecasts

% Oct 31th Nov 10th Old New

Policy rate 3.50 3.50 3.50 3.00

2Y 3.26 3.26 3.60 3.10

5Y 3.23 3.30 3.65 3.15

10Y 3.38 3.46 3.80 3.30

Source: KBank, Bloomberg

Page 24: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

2424

24

This page has been left blank intentionally

Page 25: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

2525

25

สรุปภาวะเศรษฐกจิไทย ► เครื่องชี้เศรษฐกิจสําคัญของไทยเดือนสิงหาคม 2554 สวนใหญยังคงอยูในเกณฑที่ดี ► เครื่องชี้เศรษฐกิจสําคัญของไทยเดือนกันยายน 2554 ไดรับผลกระทบจากภาวะอุทกภัยที่

ขยายวงกวางในหลายพื้นที่ของประเทศ ► นอกจากภาคการทองเที่ยวที่ออนแอลง ความเชื่อมั่นและการใชจายของภาคเอกชนยังถดถอย

ลงดวย ► การสงออกขยายตัวชะลอลง YoY ตามที่คาด และสงผลใหการผลิตภาคอุตสาหกรรมหดตัว ► อัตราเงินเฟอทั่วไปเดือนตุลาคม 2554 ปรับขึ้นเล็กนอย โดยศูนยวิจัยกสิกรไทยคาดวา อัตรา

เงินเฟอทั่วไปเฉล่ียอาจมีระดับสูงกวารอยละ 4.0 ในไตรมาส 4/2554 จากการปรับตัวสูงขึ้นของราคาสินคาอุปโภคบริโภค ทามกลางสถานการณที่ผลผลิตดานเกษตรและการขนสงสินคาไดรับผลกระทบจากภาวะอุทกภัย

► จากภาวะอุทกภัยครั้งรุนแรงในรอบกวา 70 ปที่ขยายวงกวางและสรางความสูญเสียตอเศรษฐกิจไทย ศูนยวิจัยกสิกรไทย จึงประเมินวา จีดีพีไตรมาส 4/2554 อาจหดตัวรอยละ 3.3-6.3 (YoY) เทียบกับประมาณการเดิมที่คาดวาจะขยายตัวรอยละ 4.9 สําหรับจีดีพีทั้งป 2554 ไดปรับลดคาดการณลงมาเปนการขยายตัวรอยละ 1.7 ในกรณีพ้ืนฐาน และการขยายตัวรอยละ 0.9 ในกรณีเลวราย

ตารางที่ 1. สรุปเครื่องชี้เศรษฐกิจที่สําคัญของไทย Units: YoY %, or indicated otherwise 2010 2011

YTD. 1Q 2Q 3Q Aug Sep Oct Composite Private Consumption Index 5.9 4.3 4.3 4.3 4.2 5.4 5.0

• Sales Volume of Benzine and Gasohol -1.4 0.3 1.4 0.4 -0.8 2.3 -0.9 • Value-added Tax at 1995 prices 15.5 11.5 10.6 13.3 10.6 13.8 13.5 • Imports of Consumer Goods at 1995 prices 22.6 14.1 16.7 11.6 14.2 17.1 15.7 • Passenger Car Sales 50.7 26.1 60.3 0.3 22.9 26.4 29.6 • Motorcycle Sales 22.9 15.5 14.6 18.2 13.5 26.1 16.4

Private Investment Index (PII) 18.5 10.7 14.8 7.7 8.5 8.5 8.5 • Sales Volume of Domestic Cement 8.8 4.2 3.6 1.4 8.7 10.1 9.5 • Sales Volume of Commercial Cars 42.3 18.2 31.7 3.1 17.1 15.7 25.7 • Imports of Capital Goods at 1995 prices 24.9 16.6 24.5 12.7 11.0 17.0 5.5 • Value of BOI Applications -33.9 73.2 8.1 63.2 182.2 24.2 478.1

Manufacturing Production Index 14.4 -1.0 -2.1 -2.5 1.8 6.8 -0.5 • Industrial Capacity Utilization 63.2 62.1 62.6 59.1 64.5 65.0 65.4

Agriculture Production Index -2.1 8.1 15.9 8.5 -0.3 3.7 1.1 • Agriculture Price Index 25.3 16.8 25.4 17.9 7.7 8.9 9.4

Exports (in $) 28.5 24.6 27.3 19.2 27.3 28.5 18.4 • Unit Value 9.1 6.7 6.7 7.0 6.4 6.7 5.3 • Volume 18.0 16.8 19.3 11.5 19.7 20.3 12.4

Imports (in $) 36.7 29.5 27.0 28.0 33.3 45.8 42.5 • Unit Value 8.1 10.7 8.9 11.5 11.7 11.8 11.1 • Volume 27.1 16.9 16.6 14.7 19.3 30.4 28.3

Trade Balance ($ millions) 32,212 22,935 7,963 7,296 7,676 705 2,419 Current Account ($ millions) 13,661 10,451 5,909 1,396 3,146 -697 404 Broad Money 10.9 16.2 13.2 16.3 16.2 17.4 16.2 Headline CPI 3.3 3.8 3.0 4.1 4.1 4.3 4.0 4.2 USD/THB (Reference Rate) 31.727 30.376 30.556 30.272 30.127 29.884 30.424 30.891 Sources: BOT, MOC, OAE, and OIE

KResearch [email protected]

Page 26: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

2626

26

การสงออกเดือนกันยายน 2554 ขยายตัวชะลอลง YoY ตามที่คาด สัญญาณการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกเริ่มสงผลกระทบที่ชัดเจนมากขึ้นตอการสงออกของไทย

ในเดือนกันยายน 2554 เมื่อประกอบกับการสงออกทองคําที่ลดลง และผลของฐานเปรียบเทียบ สงผลใหการสงออกเติบโตในอัตราที่ชะลอลงเปนเดือนที่ 2 ติดตอกัน มาที่รอยละ 18.4 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปกอน (YoY) จากรอยละ 28.4 ในเดือนสิงหาคม 2554 ซึ่งการขยายตัวชะลอลงดังกลาว เปนผลจากทั้งดานราคาสินคาออกและปริมาณการสงออก

โดยการสงออกทองคําในเดือนกันยายน 2554 มีมูลคา 93.4 ลานดอลลารฯ ลดลงจาก 385.5 ลานดอลลารฯ ในเดือนสิงหาคม 2554 ซึ่งเปนผลจากราคาทองคําในตลาดโลกที่ปรับตัวลง จากการขายทํากําไรทองคําของนักลงทุนเพื่อชดเชยผลขาดทุนจากการรวงลงของราคาหุนและสินคาโภคภัณฑ ทั้งนี้ การสงออกที่ไมรวมทองคํา ปรับตัวดีกวาเมื่อเทียบกับการสงออกที่รวมทองคํา โดยขยายตัวรอยละ 22.7 (YoY) ในเดือนกันยายน เทียบกับการขยายตัวรอยละ 26.7 ในเดือนสิงหาคม รูปที่ 1. การสงออกเดือนกันยายน 54 เติบโตชะลอลงอีก จากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก การลดลงของการสงออกทองคําและผลของฐานเปรียบเทียบ

รูปที่ 2. การขยายตัวที่ชะลอลงเกิดขึ้นจากทั้งดานราคาสินคาออกและปริมาณการสงออก

0

5,000

10,000

15,000

20,000

25,000

Mar-10 Jun-10 Sep-10 Dec-10 Mar-11 Jun-11 Sep-11

Expo

rt Va

lue (U

SD M

illion

)

0%

10%

20%

30%

40%

50%

% Y

oY

Ex ports Ex ports (ex cluding gold)% YoY for Ex ports % YoY for Ex ports ex clud. Gold

-30-20-10

010203040

Oct-09 Mar-11 May-11 Jul-11 Sep-11

% Y

oY

Export Price Import PriceExport Quantity Import Quantity

Sources: BOT, MOC, KResearch Sources: BOT, KResearch

แมจะมีแรงหนุนจากการปรับตัวดีขึ้นของการสงออกสินคาในหมวดยานยนตและชิ้นสวน

(ขยายตัวรอยละ 18.9 (YoY) เทียบกับที่หดตัวรอยละ 1.1 (YoY) ในเดือนสิงหาคม) และยางพารา (ขยายตัวรอยละ 126.1 (YoY) เพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญจากการขยายตัวรอยละ 69.6 (YoY) ในเดือนสิงหาคม) แตการสงออกในหมวดสินคาหลักอื่นๆ ชะลอลง ไมวาจะเปน อิเล็กทรอนิกส เครื่องใชไฟฟา และส่ิงทอ ซึ่งไดรับผลกระทบจากคําส่ังซื้อสินคาจากตลาดโลกที่ออนแรงลง ทามกลางการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกที่นําโดยสหรัฐฯ และสหภาพยุโรป

นอกจากการสงออกไปยังจีนแลว การสงออกไปยังประเทศคูคาสําคัญสวนใหญปรับลดลงจากเดือนกอนหนา นําโดยญี่ปุน อาเซียน สหรัฐฯ และสหภาพยุโรป ขณะที่ เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน การสงออกไปยังสหรัฐฯ เปนเพียงจุดหมายปลายทางเดียวที่ยังคงสามารถรักษาแรงสงของการขยายตัวไวได จากผลของฐานเปรียบเทียบเปนหลัก

Page 27: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

2727

27

รูปที่ 3. การสงออกสินคาในหมวดอิเล็กทรอนิกส และสิ่งทอ ชะลอลงตามคําสั่งซื้อในตลาดโลก

รูปที่ 4. การสงออกไปยังคูคาหลักสวนใหญชะลอตัวลงจากเดือนเดียวกันปกอนในแทบทุกตลาด

(40)(30)(20)(10)

0102030405060

Sep-10 Nov-10 Jan-11 Mar-11 May-11 Jul-11 Sep-11

% Y

oY

Vehicles & Parts Computer & Parts Electrical Appliances

IC and Parts Textile

0102030405060708090

U.S. China Japan EU (15) ASEAN (9) India Middle East

% Y

oY

1Q11 2Q11 Jul-11 Aug-11 Sep-11

Sources: BOT, KResearch Sources BOT, MOC, KResearch

การนําเขาเดือนกันยายน 2554 ลดลงจากที่บันทึกมูลคาสูงสุดเปนประวัติการณในเดือนกอน สงผลใหการขยายตัวชะลอลงมาที่รอยละ 42.6 (YoY) จากรอยละ 45.9 ในเดือนสิงหาคม 2554 ขณะที่ หากไมรวมการนําเขาทองคําที่ทําสถิติสูงสุดเปนประวิติการณในเดือนกันยายน การนําเขาที่ไมรวมทองคําขยายตัวเพียงรอยละ 20.7 (YoY) ชะลอลงอยางมีนัยสําคัญจากการขยายตัวรอยละ 41.2 ในเดือนสิงหาคม 2554

การชะลอตัวของการนําเขาที่ไมรวมทองคํา นอกจากจะสอดคลองกับการสงออกที่ขยายตัวชะลอลงแลว ยังเปนผลจากการนําเขาสินคาทุนที่หดตัวลงแรงดวย หลังจากที่ในเดือนสิงหาคมมีการนําเขาเครื่องจักรในอุตสาหกรรมปโตรเลียม สวนการนําเขาน้ํามันดิบก็ลดลง ตามการปดซอมบํารุงโรงกลั่นน้ํามันในชวงเดือนกันยายนถึงตุลาคม 2554

รูปที่ 5. การนําเขาที่ไมรวมทองคํา ชะลอลงแรง รูปที่ 6. ดุลบัญชีเดินสะพัดพลิกกลับมาเกินดุล

(40)(20)

0204060

80100

Jul-10 Sep-10 Nov-10 Jan-11 Mar-11 May-11 Jul-11 Sep-11

% Y

oY

Imports Imports (excluding gold)Consumer Goods Raw & Intermediate GoodsCapital Goods Crude Oil

(4,000)(3,000)(2,000)(1,000)

01,0002,0003,0004,0005,0006,000

Sep-10 Dec-10 Mar-11 Jun-11 Sep-11

Ext

erna

l Bal

ance

s (U

SD

mill

ion)

Trade Service Current Account Balance

Sources: BOT, MOC, KResearch Sources: BOT, MOC, KResearch

จากการนําเขาที่ลดลง สงผลใหดุลการคาในเดือนกันยายน 2554 บันทึกการเกินดุล 2.4 พันลานดอลลารฯ เพิ่มขึ้นจากการเกินดุล 705 ลานดอลลารฯ ในเดือนสิงหาคม 2554 โดยหากไมรวมรายการทองคํา ดุลการคาก็สะทอนภาพเดียวกัน คือ เกินดุล 5.5 พันลานดอลลารฯ เพิ่มขึ้นจากการเกินดุล 1.9 พันลานดอลลารฯ ในเดือนสิงหาคม ขณะที่ รายไดบริการ สินคาขั้นปฐมภูมิและสินคาทุติยภูมิ ในเดือน

Page 28: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

2828

28

กันยายน 2554 บันทึกยอดขาดดุลถึง 2.0 พันลานดอลลารฯ แยลงจากยอดขาดดุล 1.4 พันลานดอลลารฯ ในเดือนสิงหาคม ตามรายรับจากการทองเที่ยวที่ลดลง ดังนั้น ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือนกันยายนจึงเกินดุล 404 ลานดอลลารฯ พลิกจากที่ขาดดุล 697 ลานดอลลารฯ ในเดือนกอน

ภาคการทองเที่ยวออนแรงลงจากผลของภาวะอุทกภัย

ในเดือนกันยายน 2554 จํานวนนักทองเที่ยวตางชาติอยูที่ 1.49 ลานคน ลดลงจากเดือนสิงหาคม 2554 ที่อยูที่ 1.72 ลานคน โดยขยายตัวรอยละ 22.7 (YoY) ชะลอลงจากการขยายตัวรอยละ 35.4 (YoY) ในเดือนสิงหาคม 2554 ทั้งนี้ ภาวะออนแรงอยางมากจากเดือนกอน เปนผลมาจากความวิตกกังวลที่เพิ่มขึ้นของนักทองเที่ยวตางชาติตอปญหาน้ําทวมที่แผขยายครอบคลุมหลายพื้นที่ในภาคเหนือและภาคกลางของประเทศ

ขณะที่ อัตราการเขาพักแรมเดือนกันยายน 2554 ลดลงมาที่รอยละ 54.81 จากรอยละ 57.74 ในเดือนสิงหาคม 2554 จากการลดลงที่กระจายไปทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ

ทั้งนี้ จากปญหาอุทกภัยที่เลวรายลงในเดือนตุลาคม 2554 ทําใหคาดวาจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติอาจยังคงชะลอตัวลงอีก โดยมีความเปนไปไดที่จะขยายตัวเพียงรอยละ 4 (YoY) เทียบกับเดิมที่คาดวาจะขยายตัวรอยละ 14 (YoY) ขณะที่ ผลกระทบอาจยิ่งชัดเจนมากขึ้นในชวง 2 เดือนสุดทายของป ซึ่งมักจะเปนชวงฤดูกาลทองเที่ยวของนักทองเที่ยวจากยุโรปและสหรัฐฯ แตระดับความรุนแรงของผลกระทบคงจะขึ้นอยูกับพัฒนาการของปญหาน้ําทวมเปนหลัก

รูปที่ 7. จํานวนนกัทองเที่ยวตางชาติลดลง รูปที่ 8. อัตราการเขาพักแรมลดลงเชนกัน

0

500

1000

1500

2000

Sep-10 Dec-10 Mar-11 Jun-11 Sep-11

No.

of F

orei

gn T

ouris

t Arr

ival

s (M

illion

)

0

10

20

30

40

50

60

70

% Y

oY

Foreign Tourist Arrivals (lhs) % YoY (rhs)

01020304050607080

Total Central South North Northeast

%

1Q11 2Q11 Jul-11 Aug-11 Sep-11

Sources: TAT, BOT, KResearch Sources: TAT, BOT, KResearch

การผลิตภาคอุตสาหกรรมออนแรงลงตามการสงออก ในเดือนกันยายน 2554 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ที่รายงานโดยสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม พลิกกลับมาหดตัวรอยละ 0.5 (YoY) จากที่ขยายตัวรอยละ 6.8 ในเดือนสิงหาคม 2554

Page 29: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

2929

29

การหดตัวลงของ MPI เปนผลหลักมาจากการผลิตในหมวดอุตสาหกรรมที่เนนเพื่อสงออกที่หดตัวลงถึงรอยละ 7.3 (YoY) เทียบกับที่ขยายตัวรอยละ 5.9 (YoY) ในเดือนสิงหาคม 2554 นําโดยการผลิตในหมวดฮารดดิสกไดรฟ เครื่องใชไฟฟา ส่ิงทอและเครื่องนุงหม

อยางไรก็ดี การผลิตในหมวดอุตสาหกรรมที่เนนเพื่อจําหนายทั้งในประเทศและสงออกยังคงเติบโตอยางแข็งแกรง โดยขยายตัวรอยละ 22.8 (YoY) เพิ่มขึ้นจากการขยายตัวรอยละ 16.3 (YoY) ในเดือนสิงหาคม 2554 นําโดยการเรงการผลิตในหมวดยานยนต กอนที่นิคมอุตสาหกรรมจะเริ่มไดรับผลกระทบจากภาวะอุทกภัยครั้งรุนแรงในเดือนตุลาคม 2554

สําหรับอัตราการใชกําลังการผลิตเดือนกันยายน 2554 ขยับขึ้นเล็กนอยมาที่รอยละ 65.4 เทียบกับรอยละ 65.0 ในเดือนสิงหาคม 2554

รูปที่ 9. ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมหดตัว จากการเตบิโตที่ชะลอลงของการสงออก

รูปที่ 10. การหดตวันําโดยการผลติในหมวดอุตสาหกรรมที่เนนเพื่อสงออก

-10-8-6-4-202468

10

Sep-10 Dec-10 Mar-11 Jun-11 Sep-11

% Y

oY o

f MPI

50525456586062646668

% C

apac

ity U

tilizati

on R

ate

% Capacity Utilization (rhs) MPI (lhs)

-30-20-10

0102030405060

Jun-10 Sep-10 Dec-10 Mar-11 Jun-11 Sep-11

% Y

oY o

f MPI

exports < 30% 30% < exports < 60% exports > 60%

Sources: OIE, KResearch Sources: OIE, KResearch

ความเชื่อมั่นภาคเอกชนลดลงจากภาวะอุทกภัย โดยดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภค (CCI) เดือนตุลาคม 2554 ลดลงสูระดับต่ําสุดในรอบ 10 ป ภาวะอุทกภัยที่เริ่มตนตั้งแตเดือนกรกฎาคม 2554 และขยายวงกวางขึ้นครอบคลุมมากกวา 30 จังหวัดระหวางชวงเดือนกันยายนถึงตุลาคม 2554 ทําใหภาคเอกชนเพิ่มความระมัดระวังมากขึ้น และสงผลใหความเชื่อม่ันตางๆ ปรับตัวลดลงสอดคลองกันในเดือนกันยายน 2554 ทั้งดัชนีความเชื่อม่ันผูบริโภค (CCI) ดัชนีความเชื่อม่ันภาคอุตสาหกรรม (TISI) และดัชนีความเชื่อม่ันทางธุรกิจ (BSI) โดยดัชนีความเชื่อม่ันภาคธุรกิจ (BSI) ในเดือนกันยายน 2554 ไดปรับลดลงต่ํากวาระดับ 50 เปนครั้งแรกในรอบ 5 เดือนที่ผานมา ขณะเดียวกัน ดัชนีความเชื่อม่ันภาคอุตสาหกรรม (TISI) ในเดือนกันยายน 2554 ก็ไดปรับตัวลดลงต่ํากวาระดับ 100 ในรอบ 10 เดือนเชนเดียวกัน ซึ่งไดตอกย้ําถึงความเชื่อม่ันที่ปรับลดลงของผูประกอบการภายในประเทศ ขณะที่ตัวเลขลาสุดสําหรับดัชนีความเชื่อม่ันผูบริโภคในเดือนตุลาคม 2554 ปรับลดลงสูระดับต่ําสุดในรอบ 10 ปที่ 72.4 จากระดับ 81.8 ในเดือนกันยายน 2554 อันเนื่องมาจากผลของภาวะอุทกภัยที่ขยายมายังกรุงเทพฯ นอกจากนี้ ผูบริโภคยังมีความกังวลเกี่ยวกับความเส่ียงที่เพิ่มขึ้นของสถานการณวิกฤตหนี้ในยูโรโซนซึ่งอาจสงผลในเชิงลบตอภาวะเศรษฐกิจไทยดวย

Page 30: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

3030

30

รูปที่ 11. ความเช่ือม่ันภาคเอกชนถดถอยลงต่ํากวาระดับสําคัญซึ่งบงช้ีถึงความเช่ือม่ันทีแ่ยลง

รูปที่ 12. การบริโภคภาคเอกชนชะลอลงเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน (YoY)

40

45

50

55

60

Apr-10 Jul-10 Oct-10 Jan-11 Apr-11 Jul-11 Oct-11

BSI

60

70

80

90

100

110

120CCI & TISI

BSI BSI (Expected for the next 3 mths) CCI TISI

0

5

10

15

20

25

1Q10 2Q10 3Q10 4Q10 1Q11 2Q11 Jul-11 Aug-11 Sep-11

% Y

oY of

PII a

nd P

CI

Private Consumption Index (PCI) Private Investment Index (PII)

Sources: BOT, UTCC, FTI, KResearch Sources: BOT, KResearch

การใชจายและการลงทุนภาคเอกชนพลิกกลับมาหดตัวอีกครั้ง ทามกลางความเชื่อม่ันภาคเอกชนที่ลดลง สงผลใหดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน (PCI) และดัชนีการลงทุนภาคเอกชน (PII) ในเดือนกันยายน 2554 หดตัวลงจากเดือนกอนหนา หลังจากที่ฟนตัวอยางแข็งแกรงในชวงเดือนสิงหาคม 2554 ขณะที่ เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน ดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน (PCI) ขยายตัวรอยละ 4.9 ชะลอลงจากรอยละ 5.4 ในเดือนสิงหาคม 2554 สวนดัชนีการลงทุนภาคเอกชน (PII) ยังคงขยายตัวรอยละ 8.5 เทากับในเดือนกอน ทั้งนี้ สัญญาณความออนแอปรากฏในเครื่องชี้ดานการบริโภค นําโดยการออนแรงลงของปริมาณจําหนายรถจักรยานยนต ปริมาณการใชน้ํามัน รวมถึงการนําเขาสินคาอุปโภคบริโภค ขณะเดียวกัน การชะลอลงของการนําเขาสินคาทุน และปริมาณจําหนายปูนซีเมนต เปนสาเหตุที่ทําใหดัชนีการลงทุนภาคเอกชนปรับชะลอลงเชนกัน อัตราเงินเฟอทั่วไปในเดือนตุลาคม 2554 ขยับขึ้นเล็กนอย แตจากภาวะอุทกภัยที่ตอเนื่องนาจะสงผลใหราคาสินคาอุปโภคบริโภคยังคงปรับตัวสูงในชวงไตรมาส 4/2554 อัตราเงินเฟอทั่วไป (Headline CPI) ในเดือนตุลาคม 2554 เพิ่มขึ้นเล็กนอยมาอยูที่รอยละ 4.19 (YoY) จากรอยละ 4.03 ในเดือนกันยายน 2554 โดยเปนผลจากดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไปที่เพิ่มขึ้นจากเดือนกอนรอยละ 0.19 เทียบกับที่หดตัวลงรอยละ 0.33 ในเดือนกันยายน 2554 ทั้งนี้ การปรับลดลงของตนทุนพลังงานไดชวยบรรเทาผลจากภาวะอุทกภัยที่ผลักดันใหราคาอาหารและเครื่องดื่มปรับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะผักสด (เรงขึ้นรอยละ 15.24 (MoM)) รวมถึงไขไกและผลิตภัณฑนม (เพิ่มขึ้นรอยละ 0.69 (MoM)) อยางไรก็ดี การเรงตัวของอัตราเงินเฟอทั่วไปดังกลาว ยังคงต่ํากวาระดับที่ตลาดคาดการณ โดยการที่ทางการเขามาควบคุมราคาสินคาจําเปนหลายรายการ รวมถึงการนําเขาสินคาจากตางประเทศ เพื่อแกปญหาสินคาที่ขาดแคลนในประเทศนั้น ไดชวยชะลอการปรบัขึ้นของราคาสินคาตางๆ ในระดับหนึ่ง ทั้งนี้ แมวาราคาสินคาผูบริโภค (ที่สํารวจโดยกระทรวงพาณิชย) จะปรับเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอย แตในมิติของ

Page 31: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

3131

31

รายจายเพื่อการอุปโภคบริโภคนั้น ไดปรับเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ อันเนื่องมาจากผลของความตองการที่เพิ่มขึ้นในยามฉุกเฉิน เนื่องจากการปรับขึ้นของราคาสินคามาจากราคาในหมวดอาหารสดเปนหลัก ดังนั้น อัตราเงินเฟอพื้นฐาน (Core CPI) ที่หักราคาในหมวดอาหารสดและพลังงาน เดือนตุลาคม 2554 จึงเพิ่มขึ้นจากเดือนกอนเพียงรอยละ 0.07 ลดลงจากการเพิ่มขึ้นรอยละ 0.10 (MoM) ในเดือนกันยายน 2554 อยางไรก็ดี ดวยผลของฐานเปรียบเทียบ สงผลใหอัตราเงินเฟอพื้นฐานลดลงมาที่รอยละ 2.89 (YoY) จากรอยละ 2.92 (YoY) ในเดือนกันยายน 2554 สําหรับในไตรมาสที่ 4/2554 นั้น คาดวาราคาสินคาผูบริโภคจะยังคงมีระดับสูง โดยเฉพาะราคาในหมวดอาหารสดซึ่งแหลงผลิตไดรับความเสียหายจากภาวะอุทกภัย รวมทั้งราคาสินคาจําเปนที่อาจยังคงปรับสูงขึ้นจากปญหาการขาดแคลนและอุปสรรคดานการขนสง ดังนั้น อัตราเงินเฟอทั่วไปเฉลี่ยในไตรมาส 4/2554 จึงอาจยังคงมีระดับสูงกวารอยละ 4.0 (YoY) ใกลเคียงกับคาเฉลี่ยที่รอยละ 4.1 ในไตรมาส 3/2554 ขณะที่ อัตราเงินเฟอพื้นฐานเฉลี่ยอาจยังคงยืนระดับใกลเคียงกับคาเฉลี่ยที่รอยละ 2.8 ในไตรมาส 3/2554 ดวยเหตุนี้ ศูนยวิจัยกสิกรไทยจึงปรับเพิ่มกรอบลางของประมาณการอัตราเงินเฟอทั่วไปในป 2554 มาที่รอยละ 3.9 จากประมาณการเดิมที่รอยละ 3.7 ขณะที่ยังคงประมาณการกรอบบนไวตามเดิมที่รอยละ 4.0 รวมทั้งยังคงกรอบประมาณการอัตราเงินเฟอพื้นฐานไวที่รอยละ 2.3-2.6

รูปที่ 13. อัตราเงนิเฟอทั่วไปเดือนตุลาคม 2554 ขยับขึ้นเล็กนอยจากผลของภาวะอุทกภัย

ตารางที่ 2. การประเมินผลกระทบของภาวะอุทกภัยตอเศรษฐกิจไทยไตรมาส 4/2554 และป 2554 โดยศูนยวิจัยกสิกรไทย

-0.5

0.0

0.5

1.0

1.5

Oct-10 Feb-11 Jun-11 Oct-11

% M

oM

0.0

1.0

2.0

3.0

4.0

5.0

% Y

oY

Headline CPI (MoM-lhs) Core CPI (MoM-lhs)Headline CPI (YoY-rhs) Core CPI (YoY-rhs)

Sources: MOC, KResearch Source: KResearch (Preliminary Assessment, as of October 26, 2011) Note: The above loss is net of returned activities after the flooding eases. In our base-case scenario, a possibility of 30 days of moderate flooding in Bangkok is included, while our worst case scenario covers the chance of high flooding in Bangkok lasting up to 45 days.

ภาวะน้ําทวมที่แผขยายเปนวงกวาง นาจะกดดันใหกิจกรรมทางเศรษฐกิจของไทยหดตัวลงในชวงไตรมาสสุดทายของป ซึ่งมีผลตอเนื่องใหอัตราการขยายตัวของจีดีพีป 2554 ชะลอลงมาอยูในกรอบประมาณรอยละ 0.9-1.7

แมภาพรวมของเครื่องชี้เศรษฐกิจไทยในเดือนกันยายน 2554 จะยังคงไมสะทอนภาพในเชิงลบของกิจกรรมทางเศรษฐกิจออกไปในวงกวาง แตศูนยวิจัยกสิกรไทย มองวา ผลกระทบจากภาวะอุทกภัยครั้งรายแรงในรอบหลายทศวรรษของไทย จะใหภาพชัดเจนมากขึ้นในเครื่องชี้เศรษฐกิจเดือนตุลาคม-

Page 32: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

3232

32

พฤศจิกายน 2554 (ที่มวลน้ําเริ่มรุกคืบเขาสูกรุงเทพฯ) กอนที่ทิศทางการฟนตัวจะเริ่มขึ้นบางภาคสวน โดยเฉพาะเครื่องชี้ดานการบริโภคและกิจกรรมกอสรางในเดือนธันวาคม 2554 ซึ่งเปนชวงที่เริ่มเขาสูกระบวนการฟนฟูประเทศหลังระดับน้ําทวมเริ่มลดลง

สําหรับแนวโนมเศรษฐกิจไทยในชวงที่เหลือของปนั้น ศูนยวิจัยกสิกรไทย คาดวา ภาวะน้ําทวมในหลายพื้นที่ของไทย จะสรางความสูญเสียทางเศรษฐกิจเปนมูลคาประมาณ 2.42-3.31 แสนลานบาท โดยจะกระทบทั้งในภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และบริการ ซึ่งภาวะดังกลาว จะกดดันใหเศรษฐกิจไทยสูญเสียโมเมนตัมการขยายตัวอยางชัดเจนในชวงไตรมาสที่ 4/2554 โดยอัตราการหดตัวของจีดีพีนาที่จะอยูในกรอบรอยละ 3.3-6.3 (YoY) เทียบกับประมาณการเดิมกอนชวงน้ําทวมที่คาดวาจะขยายตัวประมาณรอยละ 4.9 (YoY)

โดยระดับความรุนแรงของการหดตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในชวงเวลาดังกลาว จะขึ้นอยูกับ 2 สมมติฐาน คือ กรณีพื้นฐานที่ระดับน้ําทวมขังในกรุงเทพฯ มีคาเฉลี่ยประมาณ 50 ซม. (30-150 ซม.) กินเวลาประมาณ 1 เดือน และกรณีเลวรายที่ระดับน้ําทวมขังในกรุงเทพฯ มีคาเฉลี่ยที่สูงขึ้นเปน 80 ซม. และกินเวลานานมากขึ้นเปน 1 เดือนครึ่ง

จากการที่ปญหาน้ําทวมครั้งใหญของประเทศ และภาวะความเสี่ยงของเศรษฐกิจตางประเทศ เปนปจจัยลบที่มีนัยสําคัญคอนขางมากตอกิจกรรมทางเศรษฐกิจของไทยในชวงครึ่งปหลัง ทําใหศูนยวิจัยกสิกรไทย คาดการณในกรณีพ้ืนฐานวา อัตราการขยายตัวของจีดีพีป 2554 นาที่จะชะลอลงมาอยูที่รอยละ 1.7 และมีโอกาสชะลอลงรุนแรงมาที่รอยละ 0.9 ในกรณีเลวราย

สําหรับประเด็นที่จะมีผลผูกพันตอแนวโนมเศรษฐกิจไทยในชวงป 2555 นั้น คือ แผนการฟนฟูประเทศหลังระดับน้ําทวมลดลง ทั้งในสวนที่กระตุนโดยตรงจากโครงการภาครัฐ และมาตรการสวนอื่นๆ ที่สนับสนุนและเสริมสรางบรรยากาศการลงทุนในประเทศ ซึ่งรัฐบาลจะตองเรงดําเนินการทันที เพื่อกระตุนโมเมนตัมการใชจายในประเทศกลับมา ชวยชดเชยผลกระทบที่ไมแนนอนของทิศทางเศรษฐกิจโลกในชวงปขางหนา โดยศูนยวิจัยกสิกรไทย คาดวา อัตราการขยายตัวของจีดีพีป 2555 นาจะอยูในกรอบประมาณรอยละ 3.5-4.8 โดยมคีากลางกรณีพ้ืนฐานที่รอยละ 4.3

ตารางที่ 3. ประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554-2555 โดยศูนยวิจัยกสิกรไทย %YoY 2010 2011F 2012F

Base Case

Worst Case

Forecast Range

Base Case

GDP Growth 7.8 1.7 0.9 3.5-4.8 4.3

Private Consumption 4.8 2.7 2.5 2.4-3.3 2.8

Total Investment 9.4 4.9 4.0 4.5-6.0 5.5

Gov. Budget (% of GDP)

-2.9 -3.2 -3.3 -5.8 to -3.7 -4.8

Exports 28.5 16.7 15.5 2.0-8.0 5.0

Headline Inflation 3.3 3.9 4.0 3.5-4.5 3.9

Source: KResearch (as of October 26, 2011)

Page 33: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

3333

33

สําหรับแนวโนมอัตราเงินเฟอของไทยนั้น ศูนยวิจัยกสิกรไทย ประเมินวา ระดับราคาสินคาผูบริโภคหลายรายการนาที่จะทรงตัวอยูในระดับสูงในชวงที่เหลือของป 2554 กอนที่จะกลับเขาสูภาวะที่เปนปกติมากขึ้นในชวงตนป 2555 ดังนั้น ศูนยวิจัยกสิกรไทย จึงยังคงตัวเลขคาดการณสําหรับอัตราเงินเฟอทั่วไปในป 2555 ไวที่ระดับรอยละ 3.9 เทากับตัวเลขคาดการณในป 2554 อยางไรก็ดี ยังคงตองติดตามหลายปจจัยที่จะมีผลตอทิศทางเงินเฟอในชวงปขางหนา ไดแก การยกเลิกมาตรการบรรเทาภาระคาครองชีพของประชาชน การทยอยขยับขึ้นของราคาพลังงานในประเทศ ตลอดจนคาจางแรงงานทั้งในสวนของบุคลากรภาครัฐ และภาคเอกชน แนวโนมในเดือนถัดไป ภาวะอุทกภัยที่รุนแรงขึ้นในเดือนตุลาคม 2554 นาจะสงผลกดดันมากขึ้นตอเครื่องชี้เศรษฐกิจไทย โดยนอกจากความเชื่อม่ันภาคเอกชนและภาคการผลิต นาจะมีทิศทางถดถอยลงแลว คาดวา การสงออกของไทยนาจะเผชิญภาวะหดตัวลงเมื่อเทียบกับเดือนกอนหนาอยางตอเนื่อง (MoM) ซึ่งยอมจะทําใหอัตราการเติบโตของการสงออกเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน (YoY) ชะลอลงจากรอยละ 18.4 ในเดือนกันยายน 2554 อยางมีนัยสําคัญ สําหรับทิศทางอัตราเงินเฟอในเดือนพฤศจิกายน 2554 นั้น คาดวา อัตราเงินเฟอทั่วไปจะสูงขึ้นวาระดับรอยละ 4.19 (YoY) ในเดือนตุลาคม 2554 โดยไดรับแรงหนุนอยางตอเนื่องจากการปรับตัวขึ้นของราคาสินคาในกลุมอาหารและสินคาอุปโภคบริโภคที่จําเปน ขณะที่ อัตราเงินเฟอพื้นฐานก็นาจะสูงขึ้นกวาระดับรอยละ 2.89 ในเดือนตุลาคมดวยเชนกัน

Page 34: KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)

3434

34

Disclaimer For private circulation only. The foregoing is for informational purposes only and not to be considered as an offer to buy or sell, or a solicitation of an offer to buy or sell any security. Although the information herein was obtained from sources we believe to be reliable, we do not guarantee its accuracy nor do we assume responsibility for any error or mistake contained herein. Further information on the securities referred to herein may be obtained upon request.