labour situation in quarter 1/2556 report

67
รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (เดือนมกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖)

Upload: phuket-mol

Post on 24-Mar-2016

214 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

Labour situation in quarter 1/2556 Report

TRANSCRIPT

Page 1: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต

ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖

(เดือนมกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖)

Page 2: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖)

สํานักงานแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไดจัดทํารายงานสถานการณแรงงานรายไตรมาส ๑/ ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖) ขึ้นโดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อประชาสัมพันธขอมูลความเคลื่อนไหวดานแรงงานในจังหวัดและเพื่อเผยแพรสถิติการวิเคราะหสถานการณแรงงานจากขอมูลของหนวยงานในสังกัดกระทรวงแรงงานและหนวยงานอื่น ๆ ในจังหวัดภูเก็ต เพื่อความสะดวกในการศึกษาและนําขอมูลไปใชประโยชนในการเผยแพรประชาสัมพันธสําหรับหนวยงาน องคกร ตลอดจนผูที่สนใจ โดยเนื้อหาประกอบดวย

๑) สถานการณดานแรงงาน

๑.๑) กําลังแรงงาน การมีงานทํา การวางงาน ๑.๒) การจัดหางานและการสงเสริมการมีงานทํา ๑.๓) การพัฒนาศักยภาพแรงงาน ๑.๔) การคุมครองแรงงานและสวัสดิการแรงงาน ๑.๕) การประกันสังคม

ขอมูลที่ปรากฏในรายงานสถานการณแรงงานฉบับนี้ ไดรับความอนุเคราะหอยางดียิ่งในการสนับสนุนขอมูล จากสวนราชการตาง ๆ ไดแก สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ต สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดภูเก็ต ศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัดภูเก็ต สํานักงานประกันสังคมจังหวัดภูเก็ต สํานักงานพาณิชยจังหวัดภูเก็ต สํานักงานสถิติจังหวัดภูเก็ต สํานักงานพัฒนาธุรกิจการคาจังหวัดภูเก็ต สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดภูเก็ต สํานักงานคลังจังหวัดภูเก็ต ทําใหการดําเนินงานจัดทํารายงานสถานการณแรงงานมีความสมบูรณยิ่งขึ้น จึงขอขอบคุณทุกหนวยงานที่เกี่ยวของมา ณ โอกาสนี้ สํานักงานแรงงานจังหวัดภูเก็ต หวังเปนอยางยิ่งวารายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ตฉบับนี้ จะเปนประโยชนแกหนวยงานที่เกี่ยวของและผูสนใจทั่วไป ทั้งนี้ สํานักงานแรงงานจังหวัดภูเก็ตมีความยินดีเปนอยางยิ่งหากทานมีขอคิดเห็นหรือขอเสนอแนะอันเปนประโยชนเพื่อจะไดดําเนินการปรับปรุงตอไป

สํานักงานแรงงานจังหวัดภูเก็ต

พฤษภาคม ๒๕๕๖

คํานํา

Page 3: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖)

หนา บทสรุปผูบริหาร ๑

๑ สภาพเศรษฐกิจจังหวัดภูเก็ต ๑.๑) ขอมูลทั่วไป ๕ ๑.๒) จํานวนประชากร ๖ ๑.๓) สรุปภาวะเศรษฐกิจจังหวัดภูเก็ต ๗ ๑.๔) ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด ๙ มูลคา สัดสวน และอัตราการขยายตัว ๙ รายไดเฉลี่ยตอหัว ๑๑ ๑.๕) ดัชนีราคาผูบริโภคจังหวัดภูเก็ตเดือนธันวาคม ๒๕๕๕ และป ๒๕๕๕ ๑๒

๒ สถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ๒.๑) กําลังแรงงาน การมีงานทํา การวางงาน กําลังแรงงาน ๑๔ การมีงานทํา ๑๖ การวางงาน ๒๐ แรงงานนอกระบบ ๒๑ ๒.๒) การจัดหางานและการสงเสริมการมีงานทํา

การจัดหางานในจังหวัดภูเก็ต ๒๕ การจัดหางานตางประเทศ ๒๖ แรงงานตางดาว ๒๘ การสงเสริมการมีงานทํา ๓๐

๒.๓) การพัฒนาศักยภาพแรงงาน การฝกเตรียมเขาทํางาน ๓๑ การฝกยกระดับฝมือแรงงาน ๓๑ การทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน ๓๒ ๒.๔) การคุมครองแรงงานและสวัสดิการแรงงาน การตรวจคุมครองแรงงาน ๓๓ การตรวจความปลอดภัยในการทํางาน อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอมในการทํางาน ๓๔ การแรงงานสัมพันธ ๓๕ ๒.๕) การประกันสังคม จํานวนสถานพยาบาลหลักในสังกัดประกันสังคม ๓๘ การใชบริการกองทุนประกันสังคม ๔๐ การใชบริการกองทุนเงินทดแทน ๔๑ การเลิกกิจการและเลิกจางงาน ๔๔

สารบัญ

Page 4: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖)

๓. ตัวชี้วัดภาวะแรงงาน อัตราการมีสวนรวม ๔๖ อัตราการจางงาน ๔๗ อัตราการบรรจุงาน ๔๘ อัตราการวางงาน ๔๙ อัตราการไมปฏิบัติตามขอกฎหมายของสถานประกอบการ ๕๐ อัตราสถานประกอบการที่เขาสูระบบประกันสังคม ๕๑ภาคผนวก ๕๒

สารบัญ (ตอ)

Page 5: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖)

หนา ตารางที่ ๑-๑ จํานวนประชากรจังหวัดภูเก็ตจําแนกตามอําเภอและเพศ ๖

ตารางที่ ๑-๒ มูลคาผลิตภัณฑจังหวัดภูเก็ต ณ ราคาคงที่ป ๒๕๓๑ ๙ จําแนกตามสาขาการผลิต พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔

ตารางที่ ๑-๓ รายไดเฉลี่ยตอหัวของประชากร พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ ๑๑

ตารางที่ ๑-๔ ดัชนีราคาผูบริโภคจังหวัดภูเก็ต จําแนกตามหมวดสินคา ๑๓ เดือนธันวาคม ๒๕๕๔ และป ๒๕๕๕ ป ๒๕๕๐=๑๐๐

ตารางที่ ๒-๑ กําลังแรงงาน จําแนกตามเพศและสถานภาพแรงงาน ป ๒๕๕๔-๒๕๕๕ ๑๔

ตารางที่ ๒-๒ จํานวนและสัดสวนของประชากร จําแนกตามกําลังแรงงานป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต ๑๖ ตารางที่ ๒-๓ จํานวนของผูทํางานจําแนกตามเพศและรายอุตสาหกรรม รายไตรมาสป ๒๕๕๕ ๑๗ ในจังหวัดภูเก็ต

ตารางที่ ๒-๔ จํานวนผูมีงานทํา จําแนกตามอาชีพรายไตรมาส ป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต ๑๘

ตารางที่ ๒-๕ ผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษารายไตรมาส ป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต ๑๙

ตารางที่ ๒-๖ จํานวนผูวางงาน และอัตราการวางงาน จําแนกตามรายไตรมาส ป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต ๒๐

ตารางที่ ๒-๗ จํานวนแรงงานนอกระบบจําแนกรายอุตสาหกรรม ป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต ๒๑ ตารางที่ ๒-๘ จํานวนแรงงานแรงงานนออกระบบจําแนกรายอาชีพ ป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต ๒๒

ตารางที่ ๒-๙ จํานวนแรงงานนอกระบบ จําแนกตามอายุป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต ๒๓

ตารางที่ ๒-๑๐ จํานวนแรงงานนอกระบบ จําแนกตามระดับการศึกษา ป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต ๒๔

ตารางที่ ๒-๑๑ ตําแหนงงานวาง ผูลงทะเบียนสมัครงาน และการบรรจุงาน ๒๕ป ๒๕๕๖ ในจังหวัดภูเก็ต

ตารางที่ ๒-๑๒ จํานวนแรงงานไทยที่ลงทะเบียนแจงความประสงคเดินทางไปทํางานตางประเทศ ๒๖ จําแนกตามระดับการศึกษา ป ๒๕๕๖ ของจังหวัดภูเก็ต

ตารางที่ ๒-๑๓ จํานวนแรงงานไทยที่ไดรับอนุมัติใหเดินทางไปทํางานตางประเทศ ๒๗ จําแนกตามวิธีการเดินทาง ป ๒๕๕๖ ของจังหวัดภูเก็ต

ตารางที่ ๒-๑๔ จํานวนแรงงานไทยที่ขออนุมัติเดินทางไปทํางานตางประเทศ ๒๘ จําแนกตามภูมิภาคที่เดินทางไปทํางาน ป ๒๕๕๖ ของจังหวัดภูเก็ต

ตารางที่ ๒-๑๕ จํานวนแรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานคงเหลือ ๒๙

ตารางที่ ๒-๑๖ กิจกรรมที่ดําเนินการเพื่อสงเสริมการมีงานทําจําแนกตามประเภทกิจกรรม ๓๐ ป ๒๕๕๖ ของจังหวัดภูเก็ต

ตารางที่ ๒-๑๗ การฝกยกระดับฝมือแรงงานจําแนกตามกลุมอาชีพป ๒๕๕๖ ในจังหวัดภูเก็ต ๓๑

สารบัญตาราง

Page 6: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖)

หนา

ตารางที่ ๒-๑๘ การทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานจําแนกตามกลุมอาชีพ ป ๒๕๕๖ ในจังหวัดภูเก็ต ๓๒

ตารางที่ ๒-๑๙ การตรวจคุมครองแรงงาน จําแนกตามสถานประกอบการ ป ๒๕๕๖ ในจังหวัดภูเก็ต ๓๓

ตารางที่ ๒-๒๐ การตรวจความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ๓๔ จําแนกตามขนาดของสถานประกอบการ ในจังหวัดภูเก็ต

ตารางที่ ๒-๒๑ จํานวนองคการนายจาง จําแนกตามประเภทองคการ ในจังหวัดภูเก็ต ๓๕

ตารางที่ ๒-๒๒ จํานวนองคการลูกจาง จําแนกตามประเภทองคการ ในจังหวัดภูเก็ต ๓๕

ตารางที่ ๒-๒๓ ขอเรียกรอง ขอพิพาท และขอขัดแยง ป ๒๕๕๖ ของจังหวดัภูเก็ต ๓๖

ตารางที่ ๒-๒๔ การสงเสริมการจัดสวัสดิการแรงงานจําแนกกิจกรรมที่สงเสริม ในจังหวัดภูเก็ต ๓๗

ตารางที่ ๒-๒๕ จํานวนสถานประกอบการและผูประกันตนจําแนกตามอุตสาหกรรม ๓๘ ป ๒๕๕๖ ในจังหวัดภูเก็ต ตารางที่ ๒-๒๖ จํานวนสถานพยาบาลในสังกัดประกันสังคม จําแนกตามประเภทสถานพยาบาล ๓๙ ในจังหวัดภูเก็ต

ตารางที่ ๒-๒๗ การใชบริการกองทุนประกันสังคม จําแนกตามประเภทประโยชนทดแทน ๔๐ (ไมเนื่องจากการทํางาน) ป ๒๕๕๖ ในจังหวัดภูเก็ต

ตารางที่ ๒-๒๘ การใชบริการกองทุนประกันสังคม จําแนกตามประเภทประโยชนทดแทน ๔๑ (เนื่องจากการทํางาน) ป ๒๕๕๖ ในจังหวัดภูเก็ต

ตารางที่ ๒-๒๙ การประสบอันตรายหรือเจ็บปวยเนื่องจากการทํางาน จําแนกตามความรายแรง ๔๒ และขนาดสถานประกอบกจิการ (ในกองทุน) ในจังหวัดภูเก็ต

ตารางที่ ๒-๓๐ จํานวนสถานประกอบการและลูกจางที่อยูในขายกองทุนเงินทดแทน จําแนกตาม ๔๓ สถานประกอบการ ในจังหวัดภูเก็ต

ตารางที่ ๒-๓๑ จํานวนสถานประกอบการที่เลิกกิจการหรือหยุดกิจการชั่วคราว ในจังหวัดภูเก็ต ๔๔

ตารางที ่ ๒-๓๒ เปรียบเทียบจํานวนผูขึ้นทะเบียนขอรับประโยชนทดแทน ในจังหวัดภูเก็ต ๔๕

ตารางที่ ๓-๑ อัตราการมีสวนรวมในกําลังแรงงาน ในจังหวัดภูเก็ต ๔๖

ตารางที่ ๓-๒ อัตราการจางงานใน/นอกภาคเกษตร ในจังหวัดภูเก็ต ๔๗

ตารางที่ ๓-๓ อัตราการบรรจุงานตอผูสมัครงาน ตําแหนงงานวาง ในจังหวัดภูเก็ต ๔๘

ตารางที่ ๓-๔ อัตราการวางงานในจังหวัดภูเก็ต ๔๙

ตารางที่ ๓-๕ อัตราการไมปฏิบัติตามขอกฎหมายคุมครองแรงงาน กฎหมายความปลอดภัย ๕๐ อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ในจังหวัดภูเกต็ ตารางที่ ๓-๖ อัตราสถานประกอบการที่เขาสูระบบประกันสังคม ในจังหวัดภูเก็ต ๕๑

สารบัญตาราง (ตอ)

Page 7: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖)

หนา แผนภูมิที่ ๑-๑ สัดสวนของประชากรชายและหญิง ขอมูล ณ เดือนกันยายน ๒๕๕๕ ๖

แผนภูมิที่ ๑-๒ สัดสวนการกระจายตวัของประชากรในแตละอําเภอของจังหวัดภูเก็ต ๖

แผนภูมิที่ ๑-๓ เปรียบเทียบ GPP ภาคเกษตรและนอกเกษตร ป ๒๕๕๐ – ๒๕๕๓ ๑๐

แผนภูมิที่ ๑-๔ ๕ อันดับสาขาการผลิตที่อัตราการขยายตัวเฉลี่ยสูงสุด ๑๐ แผนภูมิที่ ๑-๕ รายไดเฉลีย่ตอหัวของประชากร พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ ๑๑ แผนภูมิที่ ๒-๑ เปรียบเทียบจํานวนผูอยูในกําลังแรงงาน ของจังหวัดภูเก็ต ๑๕ ป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๒ เปรียบเทียบผูมีงานทําจังหวัดภูเก็ต จําแนกตามสถานภาพการทํางาน ๑๖ ป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๓ เปรียบเทียบผูทํางานในภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร ๑๘ ป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๔ อาชีพที่มีผูทํางานอยูมากที่สุด จําแนกตามอาชีพ ๕ อันดับแรก ๑๙ ป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๕ สัดสวนผูมีงาน จําแนกตามระดับการศึกษาของจังหวัดภูเก็ต ๒๐ ป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๖ เปรียบเทียบอัตราการวางงาน ป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต ๒๐

แผนภูมิที่ ๒-๗ อัตราสาขาการผลิตที่มีแรงงานนอกระบบทํางานอยูมากที่สุด ในจังหวัดภูเก็ต ๒๒ แผนภูมิที่ ๒-๘ ๕ อันดับสาขาอาชีพที่มีแรงงานนอกระบบทํางานอยูมากที่สุด ในจังหวัดภูเก็ต ๒๓แผนภูมิที่ ๒-๙ สัดสวนของแรงงานนอกระบบ จําแนกตามอายุ ป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต ๒๓ แผนภูมิที่ ๒-๑๐ สัดสวนสวนของแรงงานนอกระบบ จําแนกตามระดับการศึกษาป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต ๒๔

แผนภูมิที่ ๒-๑๑ เปรียบเทียบตําแหนงงานวาง ผูลงทะเบียนสมัครงาน และการบรรจุงาน ๒๕ ในจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๑๒ สัดสวนของแรงงานไทยที่แจงความประสงคเดินทางไปทํางานตางประเทศ ๒๖

จําแนกตามระดับการศึกษา แผนภูมิที่ ๒-๑๓ สัดสวนของแรงงานไทยที่ไดรับอนุมัติใหเดินทางไปทํางานตางประเทศ ๒๗

จําแนกตามวิธีการเดินทาง

แผนภูมิที่ ๒-๑๔ จํานวนแรงงานไทยที่ขออนุมัติเดินทางไปทํางานตางประเทศ จําแนกตามภูมิภาค ๒๘ ที่เดินทางไปทํางาน ในจังหวัดภูเก็ต แผนภูมิที่ ๒-๑๕ เปรียบเทียบจํานวนแรงงานตางดาวถูกกฎหมายและผดิกฎหมายที่ไดรับการผอนผัน ๒๙ ป ๒๕๕๔ และป ๒๕๕๕ ของจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๑๖ เปรียบเทียบจํานวนผูไดรับประโยชนจากกิจกรรมที่ดําเนินการเพื่อสงเสริม ๓๐ การมีงานทําประเภทตางๆ ในจังหวัดภูเก็ต

สารบัญแผนภูมิ

Page 8: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖)

หนา

แผนภูมิที่ ๒-๑๗ เปรียบเทียบจํานวนผูเขารับการทดสอบและผูผานการทดสอบฝมือแรงงาน ๓๒ จําแนกตามกลุมอาชีพ ในจังหวัดภูเก็ต แผนภูมิที่ ๒-๑๘ เปรียบเทียบจํานวนผูเขารับการฝกและผูผานการฝกยกระดับฝมือแรงงาน ๓๓ จําแนกตามกลุมอาชีพ ในจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๑๙ เปรียบเทียบสถานประกอบการที่ปฏิบัติถูกตอง / ไมถูกตอง ๓๔ ตามกฎหมายคุมครองแรงงาน ในจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๒๐ เปรียบเทียบสถานประกอบการที่ปฏิบัติถูกตอง / ไมถูกตองตามจากการตรวจ ๓๕

ความปลอดภัยในการทํางาน อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ในจังหวัดภูเก็ต แผนภูมิที่ ๒-๒๑ สัดสวนองคการนายจางประเภทตางๆ ในจังหวัดภูเก็ต ๓๕ แผนภูมิที่ ๒-๒๒ สัดสวนองคการลูกจางประเภทตางๆ ในจังหวัดภูเก็ต ๓๖

แผนภูมิที่ ๒-๒๓ จํานวนสถานประกอบการที่มีขอเรียกรอง ขอพิพาท ขอขัดแยง ๓๗ ป ๒๕๕๖ ในจังหวัดภูเก็ต แผนภูมิที่ ๒-๒๔ อันดับประเภทอุตสาหกรรมที่มีจํานวนผูประกันตนมากที่สุด ในจังหวัดภูเก็ต ๓๙

แผนภูมิที่ ๒-๒๕ เปรียบเทียบสัดสวนของสถานพยาบาลในสังกัดประกันสังคม ๓๙ จําแนกตามประเภทสถานพยาบาล ในจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๒๖ จํานวนผูใชบริการของกองทุนประกันสังคม จําแนกตามประเภท ๔๐ ประโยชนทดแทน (ไมเนื่องจากการทํางาน) ในจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๒๗ จํานวนผูใชบริการของกองทุนเงินทดแทนจําแนกตามประเภท ๔๑ ความรายแรง (เนื่องจากการทํางาน) ในจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๒๘ จํานวนผูประสบอันตรายหรือเจ็บปวย เนื่องจากการทํางาน ๔๒ จําแนกตามขนาดสถานประกอบการ ในจังหวัดภูเก็ต แผนภูมิที่ ๒-๒๙ จํานวนสถานประกอบการและลูกจาง ที่อยูในเครือขายกองทุนเงินทดแทน ๔๓ จําแนกตามขนาดสถานประกอบการ ในจังหวัดภูเก็ต แผนภูมิที่ ๒-๓๐ จํานวนสถานประกอบการที่เลิกกิจการ/หยุดกิจการชั่วคราวและลูกจางที่ถูกเลิกจาง ๔๔ จําแนกตามขนาดสถานประกอบการ ในจังหวัดภูเก็ต แผนภูมิที่ ๒-๓๑ จํานวนผูขึ้นทะเบียนขอรับประโยชนทดแทนที่สํานักงานจัดหางาน ในจังหวัดภูเก็ต ๔๕

สารบัญแผนภูมิ (ตอ)

Page 9: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๑) ขอมูลทั่วไป

๑.๑ ประชากรและการปกครอง จากขอมูลของที่ทําการปกครองจังหวัดภูเก็ต ณ มีนาคม ๒๕๕๖ จังหวัดภูเก็ตมีประชากรทั้งสิ้น

๓๖๓,๓๘๒ คน แบงเปนเพศชาย จํานวน ๑๗๑,๙๒๕ คน และเพศหญิงจํานวน ๑๙๑,๔๕๗ คน ความหนาแนนของประชากร ๖๖๙ คนตอตารางกิโลเมตร มีจํานวนครัวเรือนตามทะเบียนบานทั้งสิ้น ๒๐๒,๐๑๖ หลังคาเรือน

การปกครองจังหวัดภูเก็ต แบงการบริหารราชการสวนภูมิภาคออกเปน ๓ อําเภอ ประกอบดวย อําเภอเมืองภูเก็ต อําเภอกะทู อําเภอถลาง มีตําบล ๑๗ ตําบล และ ๙๕ หมูบาน ๕๘ ชุมชน การบริหารราชการสวนทองถิ่น จํานวน ๑๙ แหง ประกอบดวย องคการบริหารสวนจังหวัด ๑ แหง เทศบาลตําบล ๙ แหง เทศบาลเมือง ๒ แหง เทศบาลนคร ๑ แหง และองคการบริหารสวนตําบล ๖ แหง

๑.๒) สภาพเศรษฐกิจ

- ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด จากขอมูลการรายงานผลิตภัณฑมวลรวมภาคและจังหวัด โดยสํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติในป ๒๕๕๔ ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดภูเก็ต มีมูลคา ๑๐๔,๖๑๖ ลานบาท เปนมูลคาในภาคการเกษตร ๔,๒๔๗ ลานบาท (รอยละ ๔.๘๑) และมูลคานอกภาคเกษตร ๘๓,๙๓๕ ลานบาท (รอยละ ๙๔.๙๙) สาขาการผลิตที่มีสัดสวนสูงสุด ๕ อันดับแรก ไดแก สาขาโรงแรมและภัตตาคาร (รอยละ ๓๓.๑๑) สาขาอื่นๆ (รอยละ ๓๑.๗๕) สาขาการขนสง สถานที่เก็บสินคา และการคมนาคม (รอยละ ๒๒.๗๙) สาขาการขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนตฯ (รอยละ ๗.๐๐) และสาขาตัวกลางทางการเงิน (รอยละ ๕.๓๕)

- รายไดประชากร ในป ๒๕๕๔ ประชากรจังหวัดภูเก็ตมีรายไดเฉลี่ยตอคนตอป เทากับ ๓๔๕,๒๖๙ บาท และหากเปรียบเทียบกับป ๒๕๕๓ ที่มีรายไดเฉลี่ยคนละ ๓๒๕,๑๕๒ บาท/ป พบวามีสัดสวนเพิ่มขึ้นรอยละ ๖.๑๙

- ดัชนีราคาผูบริโภค (ชุดทั่วไป ประเทศ) ณ เดือนมีนาคม ๒๕๕๖ เทากับ ๑๐๔.๗๓ เมื่อเทยีบกับเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๖ สูงขึ้นรอยละ ๐.๐๗ และพิจารณาเทียบกับเดือนมีนาคม ๒๕๕๕ ดัชนีสูงขึน้รอยละ ๒.๖๙ - ภาวะการลงทุน ณ เดือนมีนาคม ๒๕๕๖ จังหวัดภูเก็ตมีการจดทะเบียนนิติบุคคลตั้งใหมทั้งสิ้น ๒๕๗.๔๐ ลานบาท โดยการจดทะเบียนนิติบุคคลตั้งใหมเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันของปที่ผานมาหดตัว รอยละ ๕.๔๓ และมูลคาสงออกสินคาภายในประเทศ ๑,๐๗๗.๐๘ ลานบาท หดตัวรอยละ ๕๘.๒๑ เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันของปที่ผานมาที่ขยายตัวรอยละ ๕๙.๙๑ ในขณะที่ยอดรถยนตพาณิชยทีจ่ดทะเบียนใหมมีจํานวน ๓๑๔ คัน หดตัวรอยละ ๑๙.๐๗ จากที่ขยายตัวรอยละ ๔๘.๖๖ ในเดือนเดียวกันของปทีผ่านมา - การจดทะเบียนโรงงาน สําหรับการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการมาขอจดทะเบียน ณ สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖) จํานวน ๒๓๔.๓๐ ลานบาท จํานวนโรงงานอุตสาหกรรมในเดือนนี้มีจํานวน ๑๐ แหง นขณะที่จํานวนความตองการแรงงานภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นในระบบจํานวน ๑๒๕ สําหรับในสวนของกิจการที่มีการเปดกิจการดําเนินการใหม ๔ ราย คือ กิจการผลิตเฟอรนิเจอร (นายสมหวัง เพียรธัญกรณ) กิจการผลิตวงกบ/บานประตู (นางสุพรรณ พันธสน) กิจการซอมเครื่องจักรกล (บจก.อริยะอีควิปเมนท) กิจการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ (บจก.ภูเก็ตคอนกรีต) และไมมีกิจการที่แจงปดในชวงเวลาดังกลาว

บทสรุปผูบริหาร

Page 10: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๒) สรุปสถานการณดานแรงงานของจังหวัด ๒.๑) กําลังแรงงาน จากขอมูลการสํารวจภาวการณทํางานของประชากรในจังหวัดภูเก็ตไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๖ สรุปรายละเอียดไดดังนี้ จังหวัดภูเก็ตมีประชากรในวัยทํางาน (อายุ ๑๕ ปขึ้นไป) จํานวน ๒๓๒,๗๑๕ คน ผูที่อยูในกําลังแรงงานรวม จํานวน ๑๗๐,๖๔๕ คน จําแนกเปนผูมีงานทํา จํานวน ๑๖๙,๓๕๔ คน (รอยละ ๙๙.๒๔ของผูอยูในกําลังแรงงานทั้งหมด) , ผูวางงาน จํานวน ๑,๒๙๑ คน (รอยละ ๐.๗๖)

๒.๒) การมีงานทํา ผูมีงานทําในจังหวัดภูเก็ตไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๕ จํานวนทั้งสิ้น ๑๖๙,๓๕๔ คน (รอยละ ๙๙.๒๔ของผูอยูในกําลังแรงงานทั้งหมด) เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ ๐.๗๔ พบวาเปนผูทํางานในภาคเกษตรกรรม จํานวน ๘,๙๘๙ คน (รอยละ ๕.๓๑ ของผูมีงานทําทั้งหมด) เพ่ิมขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ ๑.๖๓ และทํางานนอกภาคเกษตรกรรม จํานวน ๑๖๐,๓๖๕ คน (รอยละ ๙๔.๖๙) ลดลงจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ ๐.๘๙ เมื่อพิจารณาจําแนกเปนรายสาขายอย พบวาสาขานอกภาคเกษตรกลุมผูทํางานนอกภาคเกษตรกรรมจะทํางานในสาขาโรงแรมและภัตตาคาร มากที่สุด จํานวน ๔๑,๓๕๑ คน (รอยละ ๒๔.๔๒ ของจํานวนผูมีงานทําทั้งหมด) รองลงมาคือ สาขาการขายสง การขายปลีกฯ จํานวน ๓๙,๓๑๐ คน (รอยละ ๒๓.๒๑) และสาขาการบริหารและสนับสนุน จํานวน ๑๒,๖๖๖ คน (รอยละ ๗.๔๘)

๒.๓) การวางงาน ผูวางงานในจังหวัดภูเก็ตไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๕ จํานวนทั้งสิ้น ๑,๒๙๑ ราย (คิดเปนอัตราการวางงานเทากับรอยละ ๐.๗๖) ทั้งนี้เมื่อพิจารณากลุมผูวางงานจําแนกตามเพศแลว พบวาเพศหญิงจะมีอัตราการวางงานต่ํากวาเพศชาย โดยเพศหญิงมีอัตราการวางงานรอยละ ๐.๖๗ และเพศชายมีอัตราการวางงาน รอยละ ๐.๘๔และเมื่อเปรียบเทียบกับชวงเดียวกันของปทีผ่านมาในไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๔ มีอัตราการวางงานเพิ่มขึ้น

๒.๔) แรงงานนอกระบบ จากขอมูลของสํานักงานสถิติจังหวัดภูเก็ตในป ๒๕๕๕ พบวามีผูมีงานทํา ซึ่งเปนแรงงานนอกระบบ (นอกระบบประกันสังคม) จํานวนทั้งสิ้น ๖๔,๐๐๒ คน (คิดเปนรอยละ ๓๗.๗๙ ของผูมีงานทําทั้งหมด) โดยสวนใหญเปนแรงงานนอกภาคเกษตร จํานวน ๕๘,๔๘๕ คน (รอยละ ๙๑.๓๘ ของแรงงานนอกระบบทั้งหมด) และในภาคเกษตรมีจํานวน ๕,๕๑๗ คน (รอยละ ๘.๖๒) จําแนกตามอายุ พบวา สวนใหญมีอายุในชวง ๔๐-๔๔ ป รองลงมาคือ ผูมีอายุ ๔๕-๔๙ ป และอายุ ๕๐-๕๔ป สวนชวงอายุ ๑๕-๑๙ ปมีแรงงานนอกระบบนอยที่สุด เมื่อพิจารณาจําแนกตามตามอุตสาหกรรม พบวา อุตสาหกรรมที่มีจํานวนแรงงานนอกระบบสูงสุด ๕ อันดับแรก คือ ๑) สาขาการขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนต ๒๐,๐๑๖ คน(รอยละ ๓๑.๒๗) ๒) สาขาโรงแรมและภัตตาคาร ๑๒,๐๘๒ คน (รอยละ ๑๘.๘๘) ๓) สาขาการขนสง สถานที่เก็บสินคา และการคมนาคม จํานวน ๘,๒๑๒ คน (รอยละ ๑๒.๖๙) ๔) สาขาเกษตรกรรม จํานวน ๕,๕๑๗ คน (รอยละ ๘.๖๒) ๕) สาขาการผลิต จํานวน ๔,๖๓๒ คน (รอยละ ๗.๒๔) ตามลําดับ เมื่อพิจารณาแรงงานนอกระบบจําแนกตามอาชีพ พบวา ผูมีงานทําในอาชีพตางๆ สูงสุด ๕ อันดับแรกคือ ๑) พนั กงานบริ การและพนั กงานในร านค า และตลาดจํ านวน ๓๐,๙๙๕ คน (ร อยละ ๔๘.๔๓) ๒) ผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝมือ และธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวของ จํานวน ๘,๒๗๐ คน (รอยละ ๑๒.๙๒) ๓) ผูปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักร และผูปฏิบัติงานดานการประกอบ จํานวน ๘,๑๔๖ คน (รอยละ ๑๒.๗๓) ๔) อาชีพขั้นพื้นฐานตางๆ ในดานการขาย และการใหบริการ จํานวน ๕,๗๑๙ คน (รอยละ ๘.๙๔) และ ๕) ผูบัญญัติกฎหมาย ขาราชการระดับอาวุโส และผูจัดการ จํานวน ๔,๕๘๑ คน (รอยละ ๗.๑๖) ตามลําดับ สําหรับดานการศึกษา พบวาแรงงานนอกระบบสวนใหญมีการศึกษาในระดับต่ํากวาประถมศึกษา จํานวน ๑๖,๕๔๖ คน (รอยละ ๒๕.๘๕ ของแรงงานนอกระบบทั้งหมด) รองลงมาคือ ระดับอุดมศึกษาจํานวน ๑๒,๖๕๓ คน (รอยละ ๑๙.๗๗) และระดับประถมศึกษา จํานวน ๑๐,๕๙๓ คน (รอยละ ๑๖.๕๕)

Page 11: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๒.๕) การบริการจัดหางานในจังหวัดภูเก็ต จากขอมูลสถิติของสํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ตพบวา มีตําแหนงงานวางที่แจงผานสํานักงานจัดหางานจังหวัดผานระบบ ON-LINE ชวงเดือนมกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖ จํานวนทั้งสิ้น ๑,๙๑๐ อัตรา เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ ๖๓.๕๓ ผูลงทะเบียนสมัครงานชวงเดือนมกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖ มีจํานวนทั้งสิ้น ๙๗๕ อัตรา ลดลงจากชวงเดียวกันของปกอน รอยละ ๒.๙๙ บรรจุงานมีจํานวนทั้งสิ้น ๑,๘๓๑ อัตรา เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ ๖๒.๙๐

๒.๖) แรงงานตางดาว ณ มีนาคม ๒๕๕๖ จังหวัดภูเก็ตมกีลุมแรงงานตางดาวเขาเมืองถูกกฎหมายที่ไดรับอนุญาตทํางานคงเหลือ จํานวน ๘๘,๓๒๖ คน จําแนกตามประเภทการไดรับอนุญาต มาตรา ๙ ประเภทพิสูจนสัญชาติ (MOU) มากที่สุด จํานวน ๗๗,๙๓๑ คน (รอยละ ๘๘.๒๓ ของแรงงานตางดาวเขาเมืองถูกกฎหมายทั้งหมด) ประเภทชั่วคราวทั่วไป จํานวน ๘,๔๐๗ คน (รอยละ ๙.๕๒) ประเภทนําเขา จํานวน ๑,๗๖๙ คน (รอยละ ๒.๐๐) ตามลําดับ เม่ือเปรียบเทียบจํานวนแรงงานตางดาวเขาเมืองถูกกฎหมายในชวงเดือนกันของปกอนเพิ่มขึ้นรอยละ ๒๔.๑๒ กลุมแรงงานตางดาวเขาเมืองผิดกฎหมายท่ีไดรับผอนผันใหทํางานตามมติคณะรัฐมนตรีคงเหลือ จํานวน ๒๒๑ คน โดยเปนชนกลุมนอยทั้งหมด (รอยละ ๑๐๐) เม่ือเปรียบเทียบกับชวงเดือนเดียวกันของปกอน พบวา แรงงานตางดาวเขาเมืองผิดกฎหมายที่ไดรับอนุญาตทํางานคงเหลือเพิ่มขึ้น รอยละ ๑๓๗.๖๓

๒.๗) แรงงานไทยในตางประเทศ ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ มีแรงงานในจังหวัดภูเก็ตที่ลงทะเบียนแจงความประสงคเดินทางไปทํางานตางประเทศ จํานวน ๗ คน แรงงานที่ไปลงทะเบียนสวนใหญจบการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน ๓ คน (รอยละ ๔๒.๘๖) รองลงมาคือ ระดับปวช. ปวส. ปวท.อนุปริญญา จํานวน ๒ คน (รอยละ ๒๘.๕๗) และระดับมัธยมศึกษา จํานวน ๒ คน (รอยละ ๒๘.๕๗) ตามลําดับ

จําแนกการอนุมัติเดินทางไปทํางานตางประเทศตามภูมิภาค จํานวน ๑๗๘ คน สวนใหญจะไปทํางานในภูมิภาคเอเชียมากที่สุด จํานวน ๑๓๙ คน (รอยละ ๗๘.๐๙ ของแรงงานไทยที่ไปทํางานตางประเทศทั้งหมด) รองลงมาคือ ภูมิภาคอื่นๆ จํานวน ๑๙ คน (รอยละ ๑๐.๖๗) และภูมิภาคอเมริกา จํานวน ๑๕ คน (รอยละ ๘.๔๓) ตามลําดับ จําแนกตามวิธีการเดินทางพบวา สวนใหญเปนประเภท Re-Entry คือกลับไปทํางานอีกครั้งหนึ่งโดยการตออายุสัญญา จํานวน ๑๑๖คน (รอยละ ๖๕.๑๖) รองลงมาเดินทางดวยตนเอง จํานวน ๖๒ คน (รอยละ ๓๔.๘๓)

๒.๘) การพัฒนาศักยภาพแรงงาน สําหรับการฝกยกระดับฝมือแรงงานไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ พบวา มีผูเขารับการฝกยกระดับฝมือแรงงานทั้งสิ้น ๑,๑๑๖ คน โดยเมื่อพิจารณาตามกลุมอาชีพ พบวามีการฝกยกระดับฝมือแรงงานในกลุมธุรกิจและบริการมากที่สุด จํานวน ๙๐๗ คน (รอยละ ๘๑.๒๗ ของผูเขารับการฝกทั้งหมด) รองลงมาไดแก กลุมเกษตรอุตสาหกรรมศิลป จํานวน ๑๖๙ คน (รอยละ ๑๕.๑๔) และกลุมอุตสาหกรรม จํานวน ๔๐ คน (รอยละ ๓.๕๘) ตามลําดับ ผูผานการฝกยกระดับฝมือแรงงานทั้งสิ้น ๑,๐๒๗ คน โดยเมื่อพิจารณาตามกลุมอาชีพมีผูผานการฝกทั้งหมด (รอยละ ๙๒.๐๒ ของผูเขารับการฝกยกระดับฝมือแรงงานสาขาดังกลาว) พบวา กลุมธุรกิจและบริการมีผูผานการฝกมากที่สุด และกลุมเกษตรอุตสาหกรรม ตามลําดับ

๒.๙) การคุมครองแรงงาน จากการตรวจแรงงานจําแนกตามขนาดของสถานประกอบการ ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ พบวา มีสถานประกอบการที่ผานการตรวจทั้งสิ้น ๑๕๔ แหง และลูกจางที่ผานการตรวจ จํานวน ๑๓,๙๒๓ คน จากผลการตรวจพบวา สถานประกอบกิจการทั้งหมดปฏิบัติถูกตองตามกฎหมายทั้งหมด จํานวน ๑๕๔แหง

๒.๑๐) การตรวจความปลอดภัยในการทํางาน อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ มีการตรวจความปลอดภัยในการทํางาน อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานสถานประกอบการที่ผ านการตรวจทั้ งสิ้น ๔๙ แหง และมีลูกจ างที่ ผ านการตรวจ จํานวน ๓,๑๔๘ คน

Page 12: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

จากผลการตรวจพบวาสถานประกอบกิจการทั้งหมดปฏิบัติถูกตองตามกฎหมาย จํานวน ๔๙ แหง (รอยละ ๑๐๐.๐๐ ของสถานประกอบการที่ผานการตรวจทั้งสิ้น)

๒.๑๑) การแรงงานสัมพันธ พบวาในชวงไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ มีสมาคมนายจาง จํานวน ๒๑ แหง และในสวนจํานวนองคการลูกจางมีสหภาพแรงงาน ๑๙ แหง มีสหพันธแรงงาน ๒ แหง

๒.๑๒) การประกันสังคม

- สถานประกอบการ และผูประกันตนในระบบประกันสังคม จังหวัดภูเก็ตมีสถานประกอบการ ที่ขึ้นทะเบียนประกันสังคม จํานวน ๕,๗๙๙ แหง และผูประกันตนรวมทั้ งสิ้น ๖๙,๒๐๕ คน จําแนก ตามอุตสาหกรรม พบวา สวนใหญเปนอุตสาหกรรมประเภทกิจการอื่นๆ รองลงมาคือ อุตสาหกรรมการคา และอุตสาหกรรมการขนสง การคมนาคม ตามลําดับ จําแนกรายอุตสาหกรรม พบวา สวนใหญเปนอุตสาหกรรมประเภทกิจการอื่นๆ รองลงมาคือ อุตสาหกรรมการคา และอุตสาหกรรมการขนสง คมนาคม ตามลําดับ

- สถานพยาบาลหลักในสังกัดประกันสังคม จังหวัดภูเก็ตมีสถานพยาบาลในเครือขายประกันสังคมจํานวน ๔ แหง ของรัฐบาล ๓ แหง และเอกชน ๑ แหง ประกอบดวย สถานพยาบาลในสังกัดประกันสังคมของรัฐ ไดแก โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต โรงพยาบาลปาตอง และโรงพยาบาล อบจ.ภูเก็ต และสถานพยาบาลของเอกชน ไดแก โรงพยาบาลมิชชั่นภูเก็ต

- การใชบริการประกันสังคม ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ จํานวนผูประกันตนของจังหวัดภูเก็ตที่มาใชบริการกองทุนประกันสังคม (ไมเนื่องจากการทํางาน) จํานวน ๔,๔๓๕ คน โดยประเภทประโยชนทดแทนท่ีผูประกันตน มาใชบริการสูงสุด ไดแก กรณีวางงาน จํานวน ๑,๕๖๗ คน (รอยละ ๓๕.๓๓) รองลงมาคือ กรณีสงเคราะหบุตร จํานวน ๑,๑๑๕ คน (รอยละ ๒๕.๑๔) และกรณคีลอดบุตร จํานวน ๙๖๗ คน (รอยละ ๒๑.๘๐ ตามลําดับ

- สถานประกอบการ และลูกจ างในขายกองทุนเงินทดแทน สถานประกอบการที่ อยู ใน ขายกองทุนเงินทดแทนจังหวัดภูเก็ต จํานวน ๙,๑๕๓ แหง ลูกจาง ๑๒๕,๖๒๓ คน พิจารณาตามสถานประกอบการ พบวา สถานประกอบการที่มีลูกจาง ๑-๙ คนมากที่สุด จํานวน ๗,๑๓๔ แหง ลูกจาง ๒๔,๓๖๕ คน รองลงมาคือสถานประกอบการท่ีมีลูกจาง๑๐-๑๙ คน จํานวน ๑,๐๒๓ แหง ลูกจาง ๑๓,๖๓๑ คน และสถานประกอบการท่ีมีลูกจาง ๒๐-๔๙ คน จํานวน ๕๕๗ คน ลูกจาง ๑๖,๗๙๓ คน ตามลําดับ

- กองทุนเงินทดแทน จังหวัดภูเก็ตมีผูใชบริการกองทุนเงินทดแทน (เนื่องจากการทํางาน) จํานวนทั้งสิ้น ๑๓๖ คน โดยประเภทประโยชนความรายแรงที่ผูประกันตนมาใชบริการสูงสุด พบวา หยุดงานไมเกิน ๓ วัน จํานวน ๗๙ คน (รอยละ ๕๘.๐๘) รองลงมาคือ หยุดงานเกิน ๓ วัน จํานวน ๕๓คน(รอยละ ๓๘.๙๗),สูญเสียอวัยวะบางสวน จํานวน ๒ คน (รอยละ ๑.๔๗) และตาย จํานวน ๒ คน (รอยละ ๑.๔๗) ตามลําดับ

- การใชบริการประกันสังคม ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ จํานวนผูประกันตนของจังหวัดภูเก็ตที่มาใชบริการกองทุนประกันสังคม (ไม เนื่องจากการทํางาน) จํานวน ๔,๔๓๕ คน โดยประเภทประโยชนทดแทน ที่ผูประกันตนมาใชบริการสูงสุด ไดแก วางงาน จํานวน ๑,๕๑๗ คน (รอยละ ๓๕.๓๓) รองลงมาคือ กรณีสงเคราะหบุตร จํานวน ๑,๑๑๕ คน (รอยละ ๒๕.๑๔) และกรณคีลอดบุตร จํานวน ๙๖๗ คน (รอยละ ๒๑.๐๘) ตามลําดับ

Page 13: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๑.๑) ขอมูลทั่วไป

ที่ตั้งและขนาด จังหวัดภูเก็ตเปนจังหวัดในภาคใตตอนบนของประเทศไทย ตั้งอยูระหวางละติจูดที ่๗ องศา ๔๕ ลิปดา ถึง ๘ องศา ๑๕ ลิปดาเหนือ และลองจิจูดที ่๙๘ องศา ๑๕ ลิปดา ถึง ๙๘ องศา ๔๐ ลิปดาตะวันออก มีลักษณะเปนเกาะ จัดเปนเกาะที่มีขนาดใหญที่สุดของประเทศไทย ตั้งอยูทางทิศตะวันตกของภาคใตในทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย มีเกาะบริวาร ๓๒ เกาะ สวนกวางที่สุดของเกาะภูเก็ตเทากับ ๒๑.๓ กิโลเมตร สวนยาวที่สุดของเกาะภูเก็ตเทากับ ๔๘.๗ กิโลเมตร เฉพาะเกาะภูเก็ตมีพื้นที่ ๕๔๓.๐๓๔ ตารางกิโลเมตร สวนเกาะบริวารมีพื้นที ่๒๗ ตารางกิโลเมตร รวมพื้นที่ทั้งหมด ๕๗๐.๐๓๔ ตารางกิโลเมตรหรือ ๓๕๖,๒๗๑.๒๕ ไร อยูหางจากกรุงเทพมหานคร ตามเสนทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔ และทางหลวงจังหวัดหมายเลข ๔๐๒ รวมระยะทาง ๘๖๗ กิโลเมตร หรือ ๖๘๘ กิโลเมตร ทางอากาศ

ทิศเหนือ ติดชองแคบปากพระจังหวัดพังงา เชื่อมโดยสะพานสารสิน และสะพานเทพกระษัตร ี ทิศตะวันออก ติดทะเลเขตจังหวัดพังงา ทิศใต ติดทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย ทิศตะวันตก ติดทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย

การปกครอง จังหวัดภูเก็ต แบงการบริหารราชการสวนภูมิภาคออกเปน ๓ อําเภอ ประกอบดวย อําเภอเมืองภูเก็ต อําเภอกะทู อําเภอถลาง มีตําบล ๑๗ ตําบล และ ๙๕ หมูบาน ๕๘ ชุมชน การบริหารราชการสวนทองถิ่น จํานวน ๑๙ แหง ประกอบดวย องคการบริหารสวนจังหวัด ๑ แหง เทศบาลตําบล ๙ แหง เทศบาลเมือง ๒ แหง เทศบาลนคร ๑ แหง และองคการบริหารสวนตําบล ๖ แหง

ตารางแสดงขอมูลเขตการปกครอง

อําเภอ พื้นที่ (ตร.กม.) ระยะหางจากจังหวัด (กม.)

จํานวน

ตําบล หมูบาน ชุมชน

เมืองภูเก็ต ๒๒๔.๐๐๐ ๑ ๘ ๔๔ ๒๓

กะทู ๖๗.๐๓๔ ๑๒ ๓ ๖ ๒๖

ถลาง ๒๕๒.๐๐๐ ๑๙ ๖ ๔๕ ๙

รวม ๕๔๓.๐๓๔ - ๑๗ ๙๖ ๕๘ ที่มา: ที่ทําการปกครองจังหวัดภูเก็ต

๑. สภาพเศรษฐกิจจังหวัดภูเก็ต

Page 14: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๑.๒) จํานวนประชากร

จากขอมูลของที่ทําการปกครองจังหวัดภูเก็ต ณ มีนาคม ๒๕๕๖ จังหวัดภูเก็ตมีประชากรทั้งสิ้น ๓๖๓,๓๘๒ คน แบงเปนเพศชาย จํานวน ๑๗๑,๙๒๕ คน และเพศหญิงจํานวน ๑๙๑,๔๕๗ คน ความหนาแนนของประชากร ๖๖๙ คนตอตารางกิโลเมตร มีจํานวนครัวเรือนตามทะเบียนบานทั้งสิ้น ๒๐๒,๐๑๖ หลังคาเรือน

เมื่อพิจารณาจํานวนประชากรรายอําเภอ พบวา อําเภอเมืองมีจํานวนประชากรมากที่สุดเทากับ ๒๒๓,๓๐๔ คน (คิดเปนรอยละ ๖๑.๔๕ ของประชากรทั้งจังหวัด) รองลงมาอําเภอถลาง มีจํานวนประชากรเทากับ ๘๙,๒๐๘ คน (รอยละ ๒๔.๕๕) และ อําเภอกะทู มีจํานวนประชากรเทากับ ๕๐,๘๗๐ คน (รอยละ ๑๔.๐๐ ตามลําดับ (ตาราง ๑-๑)

ตารางที่ ๑-๑ จํานวนประชากรจังหวัดภูเก็ตจําแนกตามอําเภอและเพศ สําดับที ่ อําเภอ/กิ่งอําเภอ จํานวนประชากร (คน) รอยละ (%)

ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ๑ เมือง ๑๐๔,๓๕๓ ๑๑๘,๙๕๑ ๒๒๓,๓๐๔ ๔๖.๗๓ ๕๓.๒๗ ๑๐๐.๐๐ ๒ กะทู ๒๔,๑๒๙ ๒๖,๗๔๑ ๕๐,๘๗๐ ๔๗.๔๓ ๕๒.๕๗ ๑๐๐.๐๐ ๓ ถลาง ๔๓,๔๔๓ ๔๕,๗๖๕ ๘๙,๒๐๘ ๔๘.๗๐ ๕๑.๓๐ ๑๐๐.๐๐ รวม ๑๗๑,๙๒๕ ๑๙๑,๔๕๗ ๓๖๓,๓๘๒ ๑๔๓ ๑๕๗ ๓๐๐

ที่มา: ที่ทําการปกครองจังหวัดภูเก็ต หมายเหต:ุ ขอมูล ณ เดือนมีนาคม ๒๕๕๖

Page 15: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๑.๓) สรุปภาวะเศรษฐกิจจังหวัดภูเก็ต

จังหวัดภูเก็ตเปนจังหวัดที่มีสภาพทางเศรษฐกิจดี โดยเศรษฐกิจสวนใหญขึ้นอยูกับธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง กับการทองเที่ยว จากขอมูลของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติพบวาในป พ.ศ. ๒๕๕๓ จังหวัดภูเก็ตมีมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด ณ ราคาประจําป (GPP) เทากับ ๙๗,๕๖๙ ลานบาท เปนมูลคาในภาคการเกษตร ๖,๓๗๗ ลานบาท (รอยละ ๖.๕๔) และมูลคานอกภาคเกษตร ๙๑,๑๙๑ ลานบาท (รอยละ ๙๓.๔๖) และมีมูลคาผลิตภัณฑจังหวัดตอหัว (Per Capita GPP) เทากับ ๓๒๔,๓๘๕ บาทตอคนตอป

โครงสรางเศรษฐกิจจังหวัดภูเก็ต พบวาสาขาการผลิตที่มีสัดสวนสูงสุด ๕ อันดับแรก ไดแก สาขาโรงแรมและภัตตาคาร (รอยละ ๓๑.๕๖) ,สาขาการขนสง สถานที่เก็บสินคาและการคมนาคม (รอยละ ๒๒.๖๙) ,สาขาการ ขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนตฯ (รอยละ ๖.๖๘) ,สาขาการกอสราง (รอยละ ๖.๐๗) และ การบริหารราชการแผนดินและการปองกันประเทศ รวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ (รอยละ ๕.๒๒)

ภาพรวมของเศรษฐกิจจังหวัดภูเก็ต ณ เดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๖ รายงานโดยสํานักงานคลังจังหวัดภูเก็ต พบวา ขยายตัว เม่ือเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันของปที่ผานมา เปนผลมาจากเครื่องชี้ดานการทองเท่ียวซึ่งเปนเศรษฐกิจหลักของจังหวัดขยายตัว สงผลใหธุรกิจตอเนื่องเกี่ยวกับการทองเที่ยวพากันขยายตัวตามไปดวย แตอยางไรก็ดี มีเครื่องชี้วัดบางตัวที่ปรับตัวลดลง อาทิเชน ดานเกษตร ประมง อุตสาหกรรม การเงิน และการจางงานเปนตน แตเครื่องชี้ดังกลาวมิใชโครงสรางหลักของจังหวัด จึงยังคงทําใหภาพรวมเศรษฐกิจของจังหวัดขยายตัว จากปจจัยที่มีผลตอการเจริญเศรษฐกิจจังหวัดดังนี้

ปจจัยบวก ที่สงผลใหเศรษฐกจิจังหวัดขยายตวั คือ นโยบายกระตุนเศรษฐกิจ และการเรงรัดการใชเงินของภาครัฐตลอดจนความรวมมอืระหวางภาครัฐและเอกชนในการจัดกิจกรรมกระตุนเศรษฐกิจทั้งภายในจังหวัด ภายในประเทศ และตางประเทศ

ปจจัยลบ ที่เปนอุปสรรคตอการขยายตวัทางเศรษฐกิจของจังหวัด คือ ปญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของนักทองเที่ยวภายในจังหวัด ปญหาการจราจร วิกฤตหนี้สาธารณะยุโรป ภาวะเงินเฟอ และคาเงินบาทที่แข็งตัว

สําหรับภาวะเศรษฐกิจจังหวัดภูเก็ตในเดือนมีนาคม ๒๕๕๖ คาดวาจะขยายตัว เนื่องจากยังคงอยูในฤดูกาลการทองเที่ยวประกอบกับความรวมมือกันระหวางหนวยงานรัฐกับภาคเอกชนในการทําโรดโชวในตางประเทศ เพื่อสงเสริมการขายในตลาดดตางๆที่เปนตลาดหลักและตลาดใหม จะสามารถดึงใหนักทองเที่ยวเขามายังจังหวัดภูเก็ตไดเพิ่มขึ้นอีกทางหนึ่ง

ภาคการเกษตร

ยางพารา หดตัว จากผลผลิตยางพาราผานตลาดประมูลยางในเดือนนี้ พบวามีปริมาณ ๑๑๑,๖๑๗ กิโลกรัม หดตัวรอยละ ๓๘.๘๑ หลังจากที่หดตัวรอยละ ๒๘.๗๓ ในเดือนเดียวกันของปที่ผานมา สําหรับในสวน ของราคายางพาราแผนดิบคุณภาพ ๓ ราคา ๘๓.๒๕ บาท/กิโลกรัม หดตัวรอยละ ๒๓.๒๙ เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันของปที่ผานมาซึ่งหดตัวรอยละ ๒๖.๐๕

ประมง ชะลอตัว โดยปริมาณสัตวน้ําขึ้นทาในเดือนนี้มีจํานวน ๒,๗๐๕.๖๑ เมตริกตัน ขยายตัวรอยละ ๓.๖๖ เมื่อเปรียบเทียบกับชวงเดียวกันของปที่ผานมาที่ขยายตัวรอยละ ๖๖.๑๔ โดยคิดเปนมูลคา ๑๓๙.๐๘ ลานบาท ซึ่งชะลอตัวรอยละ ๘.๘๓ จากที่ขยายตัวรอยละ ๘๖.๐๓ ในเดือนเดียวกันของปที่ผานมา

Page 16: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

อุตสาหกรรม ชะลอตัว จํานวนทุนจดทะเบียนโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการมาขอจดทะเบียน ณ สํานักงานอุตสาหกรรม ณ สิ้นเดือนนี้มจีํานวน ๑๔,๑๘๒.๙๑ ลานบาท ชะลอตวัรอยละ ๑.๙๘ จากที่ขยายตัวรอยละ ๔.๐๔ ในชวงเดือนเดียวกันของปที่ผานมา จํานวนโรงงานอุตสาหกรรมในเดือนนี้มีจํานวน ๔๗๗ แหง ขยายตวัรอยละ ๔.๓๘จากที่ขยายตัวรอยละ ๑.๗๘ ในเดือนเดียวกันของปที่ผานมา ในขณะที่จํานวนแรงงานภาคอุตสาหกรรมมีจํานวน ๘,๐๓๒ คน ชะลอตัวรอยละ ๓.๓๐ จากที่ขยายตวัรอยละ ๓.๕๐ ในเดือนเดียวกันของปที่ผานมา สําหรับในสวน ของกิจการที่มีอยูเดิมไมมีการเลิกกิจการ แตมีโรงงานที่เปดกิจการดําเนินการใหม ๓ ราย คือ บริษัท คานเรือสิกิจ จํากัด บริษัท เซรามิค ออฟ ภูเก็ต จํากัด และ บริษัท ภูเก็ตคาซีเมนต จํากัด

นอกภาคการเกษตร การทองเที่ยวและบริการ ขยายตัว จํานวนผูโดยสารที่เดินทางเขาออกผานทาอากาศยานนานาชาติภูเก็ตจํานวน ๑,๐๓๔,๘๘๙ คน ขยายตัวรอยละ ๒๑.๘๐ ในขณะที่จํานวนผูโดยสารระหวางประเทศที่เดินทางผานดานตรวจคนเขาเมืองจังหวัดภูเก็ตจํานวน ๒๙๓,๘๐๗ คน ขยายตัวรอยละ ๓๗.๔๓ จากทีข่ยายตัวรอยละ ๑๐.๖๙ ในเดือนเดียวกันของปที่ผานมา นอกจากนี้เมื่อพิจารณาจํานวนเครื่องบินขึ้นลงพบวาขยายตวัจํานวน ๖,๐๕๑ คน พบวาขยายตัวรอยละ ๑๘.๖๗ จากทีข่ยายตัวรอยละ ๒.๓๕ ในเดือนเดียวกันของปที่ผานมา

การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ขยายตัว พิจารณาจํานวนรถยนตจดทะเบียนใหมจํานวน ๑,๕๔๕ คัน ขยายตัวรอยละ ๓๘.๓๒ จากเดิมที่ขยายตัวรอยละ ๑.๗๖ ในเดือนเดียวกันของปที่ผานมา และจํานวนรถจักรยานยนตจดทะเบียนใหม จํานวน ๒,๒๔๒ คัน หดตัวรอยละ ๑๕.๔๙ จากเดิมที่หดตัวรอยละ ๗.๓๗ และจํานวนรถยนตบรรทุกจดทะเบียนใหม จํานวน ๒๑ คัน ซึ่งเทียบกับเดือนเดียวกันของปที่ผานมาในสวนของภาครัฐมีการจัดเก็บภาษีมูลคาเพิ่มไดในเดือนนี้ จํานวน ๓๖๒.๒๔ ลานบาท ขยายตัวรอยละ ๑๙.๐๙ จากเดิมที่ขยายตัวรอยละ ๗.๔๒ ในเดือนเดียวกันของปที่ผานมา

ภาวะการลงทุน หดตัว ทุนจดทะเบียนนิติบุคคลมีจํานวน ๒๕๗.๔๐ ลานบาท หดตัวรอยละ ๓๐.๗๕ เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันของปที่ผานมาที่หดตัวรอยละ ๕.๔๓ และการสงออกสินคาภายในประเทศมีมูลคา ๑,๐๗๗.๐๘ ลานบาท หดตัวรอยละ ๕๘.๒๑ เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันของปที่ผานมาขยายตัวรอยละ ๕๙.๙๑ ในขณะที่ยอดรวมรถยนตพาณิชยที่จดทะเบียนใหมมีจํานวน ๓๑๔ คัน หดตัวรอยละ ๑๙.๐๗ จากทีข่ยายตัวรอยละ ๔๘.๖๖ในเดือนเดียวกนัของปที่ผานมา

การใชจายเงินภาครัฐ หดตัว พิจารณาจากยอดการเบิกจายเงินงบประมาณภาพรวมปรับตัวเพิ่มขึ้นจากเดิม โดยเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันของปที่ผานมา ผลการเบิกในเดือนนี้ จํานวน ๒๘๗.๑๗ ลานบาท หดตัวรอยละ ๒๑.๗๔ จากเดิมที่ขยายตัวรอยละ ๕๙.๑๗ ในเดือนเดียวกันของปที่ผานมา หากพิจารณาลงในรายละเอียดพบวาการเบิกจายงบลงทุน เบิกจายได จํานวน ๕๐.๖๙ ลานบาท ขยายตัวรอยละ ๑๒๒.๙๑ เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันของปที่ผานมา สวนการเบิกจายงบประจํา เบิกจายได จํานวน ๒๓๖.๔๘ ลานบาท หดตัวรอยละ ๓๑.๓๐ จากทีข่ยายตัวรอยละ ๖๘.๗๖ เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันของปที่ผานมา

Page 17: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๑.๔) ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด

๑) มูลคา สัดสวน และอัตราการขยายตัว

จากขอมูลการรายงานผลิตภัณฑมวลรวมภาคและจังหวัด โดยสํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติในป ๒๕๕๔ ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดภูเก็ต มีมูลคา ๑๐๔,๖๑๖ ลานบาท เปนมูลคาในภาคการเกษตร ๕,๖๘๑ ลานบาท (รอยละ ๕.๔๓) และมูลคานอกภาคเกษตร ๙๘,๙๓๔ ลานบาท (รอยละ ๙๔.๕๗) สาขาหลักที่มีมูลคาสูงที่สุดในป ๒๕๕๔ ไดแก สาขาโรงแรมและภัตตาคาร มีมูลคา ๓๔,๖๓๘ ลานบาท รองลงมาไดแกสาขา การขนสง สถานที่เก็บสินคา และการคมนาคม มีมูลคา ๒๓,๘๔๔ ลานบาท และสาขาการขายสง ขายปลีก การซอมแซมยานยนตฯ มีมูลคา ๗,๓๒๒ ลานบาท ตามลําดับ (ตารางที่ ๑-๒)

สวนสาขานําซึ่งเปนสาขาที่มีอัตราการขยายตัวสูงที่สุดของจังหวัด ไดแก การบริหารราชการแผนดินและการปองกันประเทศ รวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ มีการขยายตัวในป ๒๕๕๐-๒๕๕๓ เฉลี่ยรอยละ ๓๖.๙๖

ตารางที่ ๑-๒ มูลคาผลิตภัณฑจังหวัดภูเก็ต ณ ราคาประจําป จําแนกตามสาขาการผลิต พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔

(หนวย: ลานบาท) สาขาการผลิต ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔p สัดสวน

รอยละ ของ GPP

อัตราการขยายตัว ป ๒๕๕๑-๒๕๕๔

ภาคเกษตร ๕,๒๑๒ ๔,๘๓๓ ๔,๕๖๒ ๕,๑๘๓ ๕,๖๘๑ ๕.๔๓ ๕.๕๔ เกษตรกรรม การลาสัตว และการปาไม ๒,๔๑๔ ๒,๓๒๗ ๑,๘๑๒ ๒,๕๓๑ ๒,๙๔๖ ๒.๘๒ ๘.๑๘ การประมง ๒,๗๙๗ ๒,๕๐๖ ๒,๗๕๐ ๒,๖๕๒ ๒,๗๓๕ ๒.๖๑ ๒.๙๖ ภาคนอกเกษตร ๗๙,๗๕๙ ๘๖,๐๗๖ ๘๑,๓๓๘ ๙๒,๖๑๖ ๙๘,๙๓๔ ๙๔.๕๗ ๔.๗๕ การทําเหมืองแรและเหมืองหิน ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ การผลิตอุตสาหกรรม ๑,๙๒๐ ๒,๐๓๕ ๑,๖๒๓ ๒,๑๑๘ ๒,๖๗๓ ๒.๕๖ ๙.๕๑ การไฟฟา แกส และการประปา ๑,๕๙๖ ๑,๖๕๕ ๒,๐๓๓ ๒,๑๓๔ ๒,๒๓๓ ๒.๑๓ ๑๐.๕๐ การกอสราง ๕,๓๙๑ ๕,๖๕๓ ๔,๑๐๐ ๖,๐๔๕ ๔,๘๓๔ ๔.๖๒ -๕.๐๙ การขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนต จักรยานยนต ของใชสวนบุคคลและของใชในครัวเรือน

๖,๒๑๒ ๖,๐๙๕ ๗,๒๐๙ ๗,๕๐๘ ๗,๓๒๒ ๗.๐๐ ๖.๓๑

โรงแรมและภัตตาคาร ๓๐,๘๖๙ ๓๐,๐๔๗ ๒๕,๙๖๙ ๓๑,๐๖๕ ๓๔,๖๓๘ ๓๓.๑๑ ๔.๘๕ การขนสง สถานที่เก็บสินคา และการคมนาคม ๑๖,๙๑๐ ๑๙,๖๔๐ ๑๙,๙๘๒ ๒๒,๖๐๓ ๒๓,๘๔๔ ๒๒.๗๙ ๖.๖๘ ตัวกลางทางการเงนิ ๔,๒๐๕ ๔,๗๘๑ ๔,๔๙๐ ๔,๕๓๓ ๕,๕๙๓ ๕.๓๕ ๕.๓๗ บริการดานอสังหาริมทรัพย การใหเชา และบริการทางธุรกิจ ๔,๒๓๐ ๔,๗๑๑ ๔,๕๓๕ ๔,๔๘๗ ๕,๐๙๓ ๔.๘๗ ๒.๖๓

การบริหารราชการแผนดินและการปองกันประเทศ รวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ ๑,๙๘๔ ๔,๗๓๓ ๔,๙๓๑ ๕,๐๙๐ ๕,๓๘๘ ๕.๑๕ ๔.๔๒

การศึกษา ๑,๕๖๘ ๑,๖๑๖ ๑,๔๙๖ ๑,๖๐๖ ๑,๕๗๖ ๑.๕๑ -๐.๘๓ การบริการดานสขุภาพและงานสังคมสงเคราะห ๑,๐๐๘ ๑,๐๙๖ ๑,๓๗๔ ๑,๕๕๓ ๑,๖๕๗ ๑.๕๘ ๑๔.๗๗ การใหบริการชุมชน สังคม และบริการสวนบุคลอื่น ๆ ๓,๗๙๑ ๓,๙๓๕ ๓,๔๘๖ ๓,๗๘๖ ๔,๐๑๖ ๓.๘๔ ๐.๖๘ ลูกจางในครัวเรอืนสวนบุคคล ๗๔ ๗๙ ๑๑๒ ๘๘ ๖๗ ๐.๐๖ -๕.๓๙ ผลิตภัณฑจังหวดั (ลานบาท) ๘๔,๙๗๑ ๙๐,๙๐๙ ๘๕,๘๙๙ ๙๗,๘๐๐ ๑๐๔,๖๑๖ ๑๐๐.๐ ๔.๗๙

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

Page 18: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๑๐

หมายเหตุ : r หมายถึง revised หรือการปรับปรุงขอมูลยอนหลัง

P หมายถึง preliminary หรือปที่ไดจากการประมวลผลขอมูลเบื้องตน

Page 19: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๑๑

๒) รายไดเฉลี่ยตอหัว

ในป ๒๕๕๔ ประชากรจังหวัดภูเก็ตมีรายไดเฉลี่ยตอคนตอป เทากับ ๓๔๕,๒๖๙บาท และ หากเปรียบเทียบกับป ๒๕๕๓ ที่มีรายไดเฉลี่ยคนละ ๓๒๕,๑๕๒บาท/ป พบวามีสัดสวนเพิ่มขึ้นรอยละ ๖.๑๘(ตารางที่ ๑-๓)

ตารางที่ ๑-๓ รายไดเฉลี่ยตอหัวของประชากร พ.ศ. ๒๕๔๐ - ๒๕๕๔

สาขาการผลิต ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔

รายไดเฉลี่ยตอหัว (บาท) ๒๙๖,๗๑๘ ๓๑๓,๗๔๑ ๒๘๙,๓๕๘ ๓๒๕,๑๕๒ ๓๔๕,๒๖๙ จํานวนประชากร (๑,๐๐๐ คน) ๒๘๙ ๒๙๓ ๒๙๗ ๓๐๑ ๓๐๓ ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

Page 20: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๑๒

๑.๕) ดัชนีราคาผูบริโภคของภาคใตเดือนมีนาคม ๒๕๕๖

สํานักงานพาณิชยจังหวัดภูเก็ต รวมกับ สํานักสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจการคา กระทรวงพาณิชย และจังหวัดภูเก็ต ขอรายงานความเคลื่อนไหวของดัชนีราคาผูบริโภคจังหวัดภูเก็ต (Consumer Price Index of Province : CPI-P) ประจําเดือนมีนาคม ๒๕๕๖ โดยสรุปดังนี้ การประมวลผลดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไปของประเทศ มีรายการสินคาและบริการที่ใชคํานวณ จํานวน ๔๑๗ รายการ ครอบคลุมสินคาหมวดอาหารและเครื่องดื่ม เครื่องนุงหม เคหสถาน การตรวจรักษาและบริการสวนบุคคล ยานพาหนะ การขนสงและการสื่อสาร การบันเทิง การอาน การศึกษาและการศาสนา ยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล เพื่อนํามาคํานวณดัชนีราคาผูบริโภคของจังหวัดภูเก็ต ไดผลดังนี้

๑. ดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไปของประเทศ เดือนมีนาคม ๒๕๕๖ ป ๒๕๕๔ ดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไปของประเทศ เทากับ ๑๐๐ และเดือนมีนาคม ๒๕๕๖ เทากบั ๑๐๔.๗๓ เทียบกับเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๖ เทากับ ๑๐๔.๖๖ สูงขึ้นรอยละ ๐.๐๗ หากเทียบกับเดือนมีนาคม ๒๕๕๕ สูงขึ้นรอยละ ๒.๖๙) และเมื่อเทียบเฉลี่ยทั้งป ๒๕๕๖ กับป ๒๕๕๕ สูงขึ้นรอยละ ๓.๐๙ ๒. ดัชนีราคาผูบริโภคของภาคใต เดือนมกราคม-มีนาคม ๒๕๕๖ ป ๒๕๕๐ ดัชนีราคาผูบริโภคของภาคใต เทากับ ๑๐๐ สําหรับเดือนมีนาคม ๒๕๕๖ เทากับ ๑๐๕.๕๖ และเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๖ เทากับ ๑๐๕.๓๙

การเปลี่ยนแปลงดัชนีราคาผูบริโภคภาคใต เดือนมีนาคม ๒๕๕๖ เมื่อเทียบกับ - เดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๖ สูงข้ึนรอยละ ๐.๑๖

- เดือนมีนาคม ๒๕๕๕ สูงขึ้นรอยละ ๒.๗๖ - เทียบเฉลี่ยทั้งป ๒๕๕๖ กับป ๒๕๕๕ สูงขึ้นรอยละ ๓.๐๕

๓. ดัชนีราคาผูบริโภคภาคใต เดือน มีนาคม ๒๕๕๖ เทียบกับเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๖ สูงขึ้นรอยละ ๐.๑๖ (เดือนมีนาคม ๒๕๕๕ เพิ่มขึ้นรอยละ ๒.๗๖) เปนผลจากการปรับราคาสูงขึ้นของสินคาหมวดอาหารและเครื่องดื่ม รอยละ ๐.๕๒ และหมวดเคหสถาน ๐.๐๓ ๓.๑) ดัชนีหมวดอาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นรอยละ ๐.๕๒ มีสาเหตุจากผักและผลไมเปนสําคัญ โดยดัชนีสูงขึ้นรอยละ ๓.๐๓ (กะหล่ําปลี ผักกาดขาว ผักคะนา ผักบุง ผักชี ตนหอม มะเขือเทศ หอมแดง สับปะรด มะมวง) หมวดปลาและสัตวน้ํา สูงขึ้นรอยละ ๐.๖๘ เครื่องประกอบอาหาร สูงขึ้นรอยละ ๐.๖๒ (น้ํามันพืช มะพราวผล) สําหรับสินคาที่ปรับราคาลดลง ไดแก เปด ไก ไขและผลิตภัณฑนม ตามปริมาณที่เขาสูตลาดมากขึ้น ๓.๒) ดัชนีหมวดอื่น ๆ ที่ไมใชอาหารและเครื่องดื่ม ลดลงรอยละ ๐.๐๖ เปนผลจากการปรับราคาขายปลีกน้ํามันเชื้อเพลิงภายในประเทศสูงขึ้น ตามภาวะราคาของตลาดโลก สงผลใหหมวดพาหนะ การขนสง และการสื่อสาร ลดลงรอยละ ๐.๑๗ นอกจากนี้ สินคาและบริการอื่นท่ีมีการปรับราคาลดลง ไดแก สิ่งที่เกี่ยวกับความสะอาด ลดลงรอยละ ๐.๒๗ และยานพาหนะน้ํามันเชื้อเพลิง ลดลงรอยละ ๐.๒๕

๔) ถาพิจารณาเทียบกับเดือนมีนาคม ๒๕๕๕ ดัชนีสูงขึ้นรอยละ ๒.๗๖ จากการสูงขึ้นของดัชนีหมวดอาหารและเครื่องดื่ม รอยละ ๓.๗๕ ไดแก ผักและผลไม รอยละ ๘.๗๕ ปลาและสัตวน้ํา รอยละ ๘.๕๓เนื้อสัตว เปดไกและสัตวน้ํา สูงขึ้นรอยละ ๖.๐๔ เครื่องดื่มไมมีแอลกอฮอล รอยละ ๒.๙๗ สําหรับหมวดอื่นๆ ไมใชอาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นรอยละ ๒.๐๗ เปนผลจากหมวดไฟฟา เชื้อเพลิง น้ําประปา แสงสวาง สูงขึ้นรอยละ ๑๕.๔๕ หมวดยาสูบ และเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล สูงขึ้นรอยละ ๖.๗๒ (สุรา เบียร บุหรี่) หมวดพาหนะ การขนสง และการสื่อสาร สูงขึ้นรอยละ ๑.๖๘ (น้ํามันเชื้อเพลิง คาโดยสารสาธารณะ คาซื้อยานพาหนะ) หมวดเคหสถาน สูงขึ้นรอยละ ๓.๐๓ (วัสดุกอสราง คาแรง คาไฟฟา เชื้อเพลิง และน้ําประปา)

Page 21: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๑๓

หมวดการตรวจรักษาและบริการสวนบุคคล สูงขึ้นรอยละ ๐.๘๕ (คายาและเวชภัณฑ คาใชจายสวนบุคคล) หมวดการบันเทิง การอาน การศึกษาและการศาสนา สูงขึ้นรอยละ ๐.๓๔ (คาอุปกรณกีฬาและเครื่องเลน คาใชจายเกี่ยวกับสัตวเลี้ยง)

๕) เมื่อพิจารณาดัชนีเฉลี่ยทั้งป ๒๕๕๖ เทียบกับป ๒๕๕๕ สูงขึ้นรอยละ ๓.๐๕ จากการสูงขึ้นของดัชนีหมวดอาหารและเครื่องดื่ม รอยละ ๓.๗๓ ประกอบดัวย ผักและผลไม รอยละ ๑๐.๔๙ ปลาละสัตวน้ํา รอยละ ๖.๙๗ เนื้อสัตว เปดไก และสัตวน้ํา รอยละ ๓.๗๘ อาหารบริโภค-ในบาน รอยละ ๒.๗๔ เครื่องดื่มไมมีแอลกอฮอล รอยละ ๒.๘๗ ไขและผลิตภัณฑนม รอยละ ๒.๑๒ สวนหมวดอื่น ๆ ไมใชอาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นรอยละ ๒.๕๕ จากการสูงขึ้นกลุมอาหารสดและพลังงาน รอยละ ๖.๗๗ หมวดยาสูบ และเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล รอยละ ๖.๗๑ ไฟฟาเชื้อเพลิง น้ําประปาและแสงสวาง รอยละ ๑๕.๘๒ ยานพาหนะและน้ํามันเชื้อเพลิง รอยละ ๔.๑๑

ตารางที ่๑-๔ ดัชนีราคาผูบริโภคจังหวัดภูเก็ต จําแนกตามหมวดสินคา ไตรมาส ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖)

ป ๒๕๕๐ = ๑๐๐

หมวด มีนาคม ๒๕๕๖

ดัชนีราคาผูบริโภครวม ๑๐๕.๕๖ หมวดอาหารและเครื่องดื่ม ๑๐๘.๒๖ หมวดอื่นๆไมใชอาหารและเครื่องดื่ม ๑๐๓.๖๕ ดัชนีราคาผูบริโภคพื้นฐาน ๑๐๓.๑๐

* ดัชนีราคาผูบริโภคพื้นฐาน คือ ดัชนีราคาผูบริโภคชุดทั่วไปที่หักรายการสินคากลุมอาหารสดและสินคากลุมพลังงาน ที่มา : สํานักงานพาณิชยจังหวัดภูเก็ต

Page 22: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๑๔

สถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต นําเสนอในประเด็นตางๆ ตามลําดับ คือ ๒.๑) กําลังแรงงาน การมีงานทํา การวางงาน

๒.๒) การจัดหางานและการสงเสริมการมีงานทํา ๒.๓) การพัฒนาศักยภาพแรงงาน

๒.๔) การคุมครองแรงงานและสวัสดิการแรงงาน ๒.๕) การประกันสังคม ๒.๑) กําลังแรงงาน การมีงานทํา และการวางงาน

๑) กําลังแรงงาน

สํานักงานสถิติจังหวัดภูเก็ต จากขอมูลการสํารวจภาวการณทํางานของประชากรในจังหวัดภูเก็ตไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๕ สรุปรายละเอียดไดดังนี้ จังหวัดภูเก็ตมีประชากรในวัยทํางาน (อายุ ๑๕ ปขึ้นไป) จํานวน ๒๓๒,๗๑๕ คน ผูที่อยูในกําลังแรงงานรวม จํานวน ๑๗๐,๖๔๕ คน จําแนกเปนผูมีงานทํา จํานวน ๑๖๙,๓๕๔คน (รอยละ ๙๙.๒๔ ของผูอยูในกําลังแรงงานทั้งหมด), ผูวางงาน จํานวน ๑,๒๙๑คน (รอยละ ๐.๗๖)ซึ่งหากเปรียบเทียบกับชวงเดือนกันของปกอน พบวา กําลังแรงงานโดยรวมมีสัดสวนของผูมีงานทําลดลงรอยละ ๐.๗๔ และอัตราการวางงานเพิ่มขึ้น รอยละ ๐.๕๖ เมื่อเปรียบเทียบการมีงานทําจําแนกตามเพศ ไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๕ พบวา อัตราสวนของการ มีงานทําเพศชายสูงกวาเพศหญิง กลาวคือ เพศชายมีอัตราสวนของการมีงานทํา จํานวน ๙๑,๒๒๗คน (รอยละ๕๓.๐๐) เพศหญิงมีอัตราสวนของการมงีานทํา จํานวน ๗๘,๑๒๘ คน (รอยละ๔๖.๐๐) เม่ือพิจารณาในภาพรวมอัตราการมีงานทําไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๕ ซึ่งคํานวณจากสัดสวนผูมีงานทํา ตอผูอยูในกําลังแรงงานมีอัตรารอยละ ๙๙.๒๔ นั่นหมายความวา จํานวนผูอยูในกําลังแรงงาน ๑๐๐ คน จะมีงานทําทั้งสิ้น ๙๙ คน (ตารางที่ ๒-๑)

ตารางที่ ๒-๑ ประชากรและกําลังแรงงาน จําแนกตามเพศและสถานภาพแรงงานไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕

หนวย: คน สถานภาพแรงงาน

ไตรมาส ๔ ป ๕๔ ไตรมาส ๔ ป ๕๕

ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ประชากรรวม ๑๔๙,๘๐๒ ๑๕๔,๒๒๗ ๓๐๔,๐๒๙ ๑๕๑,๒๗๒ ๑๕๕,๖๗๐ ๓๐๖,๙๔๒

ผูมีอายุ ๑๕ ปขึ้นไป ๑๑๑,๙๒๕ ๑๑๗,๙๓๔ ๒๒๙,๘๕๙ ๑๑๓,๓๐๖ ๑๑๙,๔๐๙ ๒๓๒,๗๑๕ ๑ ผูอยูในกําลังแรงงาน ๙๑,๑๒๙ ๗๗,๓๓๕ ๑๖๘,๔๖๔ ๙๑,๙๙๔ ๗๘,๖๕๒ ๑๗๐,๖๔๕ ๑.๑ ผูมีงานทํา ๙๐,๘๙๙ ๗๗,๒๐๙ ๑๖๘,๑๐๘ ๙๑,๒๒๗ ๗๘,๑๒๘ ๑๖๙,๓๕๔ ๑.๒ ผูวางงาน ๒๓๐ ๑๒๗ ๓๕๖ ๗๖๗ ๕๒๔ ๑,๒๙๑ ๑.๓ ผูที่รอฤดูกาล - - ๐ ๐ ๐ ๐ ๒. ผูไมอยูในกําลังแรงงาน ๒๐,๗๙๖ ๔๐,๕๙๙ ๖๑,๓๙๕ ๒๑,๓๑๒ ๔๐,๗๕๗ ๖๒,๐๗๐ ๒.๑ ทํางานบาน ๒,๑๒๖ ๒๕,๐๔๐ ๒๗,๑๖๖ ๕๕๖ ๒๐,๖๓๓ ๒๑,๑๘๘ ๒.๒ เรียนหนังสือ ๗,๖๑๒ ๗,๘๗๖ ๑๕,๔๘๘ ๘,๒๓๔ ๘,๘๐๒ ๑๗,๐๓๖ ๒.๓ อื่นๆ ๑๑,๐๕๙ ๗,๖๘๓ ๑๘,๗๔๑ ๑๒,๕๒๓ ๑๑,๓๒๒ ๒๓,๘๔๕ ที่มา: สํานักงานสถิติจังหวัดภูเก็ต หมายเหต ุ : ๑.อัตราการมีงานทําจังหวัด = ผูมีงานทําในจังหวดั x๑๐๐ ผูอยูในกําลังแรงงานในจังหวัด

๒.อัตราการวางงานจังหวัด = ผูวางงานในจังหวัด x ๑๐๐ ผูอยูในกําลังแรงงานในจังหวัด

๒. สถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต

Page 23: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๑๕

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวดัภูเก็ต หมายเหตุ ขอมูล ณ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๕

แผนภูมิที่ ๒-๑ เปรียบเทียบจํานวนผูอยูในกําลังแรงงานและไมอยูในกําลังแรงงาน ของจังหวัดภูเก็ต

ไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕

ผูที่มีอายุ ๑๕ ปขึ้นไป ๒๓๒,๗๑๕ คน

ผูอยูในกําลังแรงงาน ๑๗๐,๖๔๕ คน

ผูไมอยูในกําลังแรงงาน ๖๒,๐๗๐ คน

ผูมีงานทํา ๑๖๙,๓๕๔ คน

ผูวางงาน ๑,๒๙๑ คน

ผูรอฤดูกาล ๐ คน

ทํางานบาน ๒๑,๑๘๘ คน

เรียนหนังสือ ๑๗,๐๓๖ คน

อื่นๆ ๒๓,๘๔๕ คน

Page 24: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๑๖

๒) การมีงานทํา ๒.๑) ผูมงีานทําจําแนกตามสถานภาพการทํางาน

ผูมีงานทําในจังหวัดภูเก็ตไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๕ จํานวนทั้งสิ้น ๑๖๙,๓๕๔ คน (รอยละ ๙๙.๒๔ ของผูอยูในกําลังแรงงานทั้งหมด) เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ ๐.๗๔ แบงออกเปนกลุมตางๆ ตามสถานภาพการทํางานพบวา ผูมีงานทําสวนใหญเปนกลุมลูกจางเอกชน จํานวน ๙๐,๖๕๑ คน เพิ่มขึ้นรอยละ ๓.๕๖ รองลงมาไดแก กลุมทํางานสวนตัว จํานวน ๔๒,๙๔๑ คน เพิ่มขึ้นรอยละ ๑๒.๖๓ และกลุมชวยธุรกิจครัวเรือน จํานวน ๑๔,๙๒๘ คน ลดลงรอยละ ๓.๑๐ ตามลําดับ (ตารางที ่๒-๒)

ตารางที่ ๒-๒ ผูมีงานทําจําแนกตามเพศและสถานภาพการทํางาน ของจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕

หนวย: คน

สถานภาพการทํางาน ไตรมาส ๔ ป ๕๔ ไตรมาส ๔ ป ๕๕ ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม

นายจาง ๙,๑๒๔ ๓,๒๕๐ ๑๒,๓๗๔ ๖,๔๓๓ ๔,๐๕๙ ๑๐,๔๙๒ ลูกจางรัฐบาล ๙,๑๖๓ ๕,๔๙๙ ๑๔,๖๖๒ ๕,๖๐๗ ๔,๖๑๘ ๑๐,๒๒๕ ลูกจางเอกชน ๔๒,๖๔๓ ๔๔,๘๘๙ ๘๗,๕๓๒ ๔๘,๕๒๐ ๔๒,๑๓๒ ๙๐,๖๕๑ ทํางานสวนตัว ๒๔,๘๙๗ ๑๓,๒๓๙ ๓๘,๑๓๖ ๒๗,๑๙๑ ๑๕,๗๕๐ ๔๒,๙๔๑ ชวยธุรกิจครัวเรือน ๕,๐๗๓ ๑๐,๓๓๒ ๑๕,๔๐๕ ๓,๔๗๕ ๑๑,๔๕๓ ๑๔,๙๒๘ การรวมกลุม ๐ ๐ ๐ ๐ ๑๑๗ ๑๑๗

รวม ๙๐,๘๙๙ ๗๗,๒๐๙ ๑๖๘,๑๐๘ ๙๑,๒๒๗ ๗๘,๑๒๘ ๑๖๙,๓๕๔ ที่มา: สํานักงานสถิติจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๒ เปรียบเทียบจํานวนผูมีงานทําจําแนกตามสถานภาพการทํางานของจังหวัดภูเก็ต

ไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕

Page 25: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๑๗

๒.๒) ผูมีงานทําจําแนกรายอุตสาหกรรม

ผูมีงานทํา ไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๕ จํานวน ๑๖๙,๓๕๔ คน พบวาเปนผูทํางานในภาคเกษตรกรรม จํานวน ๘,๙๘๙ คน (รอยละ ๕.๓๑ ของผูมีงานทําทั้งหมด) เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ ๑.๖๓ และทํางานนอกภาคเกษตรกรรม จํานวน ๑๖๐,๓๖๕ คน (รอยละ ๙๔.๖๙ ของผูมีงานทําทั้งหมด) ลดลงจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ ๐.๘๙ เมื่อพิจารณาจําแนกเปนรายสาขายอย พบวาสาขานอกภาคเกษตร กลุมผูทํางานในสาขาโรงแรมและภัตตาคารมากที่สุด จํานวน ๔๑,๓๕๑คน (รอยละ ๒๔.๔๒) รองลงมาคือ สาขาการขายสง การขายปลีกฯ จํานวน ๓๙,๓๑๐คน (รอยละ ๒๓.๒๑) และสาขาการบริหารและการสนับสนุน

จํานวน ๑๒,๖๖๖ คน (รอยละ ๗.๔๘) (ตารางที ่๒-๓)

ตารางที่ ๒-๓ ผูมีงานทําจําแนกตามเพศและรายอุตสาหกรรม ไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕

หนวย: คน อุตสาหกรรม

ไตรมาส ๔ ป ๕๔ ไตรมาส ๔ ป ๕๕

ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ภาคเกษตรกรรม ๔,๒๗๔ ๑,๙๗๔ ๖,๒๔๗ ๖,๐๒๕ ๒,๙๖๔ ๘,๙๘๙ ๑. เกษตรกรรม การลาสัตว การปาไม และการประมง ๔,๒๗๔ ๑,๙๗๔ ๖,๒๔๗ ๖,๐๒๕ ๒,๙๖๔ ๘,๙๘๙ นอกภาคเกษตรกรรม ๘๖,๖๒๕ ๗๕,๒๓๕ ๑๖๑,๘๖๑ ๘๕,๒๐๒ ๗๕,๑๖๓ ๑๖๐,๓๖๕ ๒. การทําเหมืองแร และเหมืองหิน ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๓. การผลิต ๗,๔๖๒ ๑,๑๖๓ ๘,๖๒๔ ๖,๘๙๓ ๕,๖๖๐ ๑๒,๕๕๓ ๔. การไฟฟา กาซ และการประปา ๓๕๐ ๐ ๓๕๐ ๐ ๐ ๐ ๕. การกอสราง ๘,๗๓๑ ๗๕๔ ๙,๔๘๖ ๙,๗๒๗ ๒,๒๐๗ ๑๑,๙๓๔ ๖. การขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนตรถจักรยานยนตของใชสวนบุคคล และของใชในครัวเรือน

๒๐,๗๘๐ ๑๘,๐๑๒ ๓๘,๗๙๒ ๒๑,๔๖๑ ๑๗,๘๔๙ ๓๙,๓๑๐

๗. โรงแรม และภัตตาคาร ๑๘,๑๓๗ ๒๘,๗๘๗ ๔๖,๙๒๓ ๑๕,๕๗๐ ๒๕,๗๘๑ ๔๑,๓๕๑ ๘. การขนสง สถานที่เก็บสินคา และการคมนาคม ๘,๘๑๕ ๑,๐๑๖ ๙,๘๓๒ ๗,๕๖๒ ๑๗๐ ๗,๗๓๒ ๙. การเปนสื่อกลางทางการเงิน ๑,๒๕๘ ๑,๑๖๓ ๒,๔๒๑ ๑,๑๙๑ ๑,๒๑๒ ๒,๔๐๓ ๑๐. กิจการดานอสังหาริมทรัพย การใหเชา และกิจกรรมทางธุรกิจ

๑,๗๘๗ ๗๙๕ ๒,๕๘๒ ๙๐๘ ๑,๑๒๔ ๒,๐๓๒

๑๑. การบริหารราชการ และการปองกนัประเทศ รวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ

๖,๙๑๗ ๒,๓๒๖ ๙,๒๔๒ ๔,๓๘๗ ๒,๘๕๒ ๗,๒๓๙

๑๒. การศึกษา ๗๙๕ ๔,๐๐๖ ๔,๘๐๑ ๑,๘๓๘ ๑,๔๕๒ ๓,๒๙๐ ๑๓. งานดานสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห ๖๓๐ ๑,๖๕๑ ๒,๒๘๒ ๗๘๓ ๒,๔๘๖ ๓,๒๖๙ ๑๔. กิจกรรมดานบริการชุมชน สังคม และการบริการ สวนบุคคลอื่น ๆ

๒,๒๔๙ ๖,๘๓๗ ๙,๐๘๖ ๑,๖๐๐ ๖,๔๑๗ ๘,๐๑๗

๑๕. ลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคล ๕๗ ๑,๖๔๖ ๑,๗๐๓ ๔๕๘ ๑,๗๑๖ ๒,๑๗๔ ๑๖. องคการระหวางประเทศและองคการตางประเทศอื่นๆ และสมาชิก

๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๗. การจัดหาน้ํา บําบัดน้ําเสีย ๐ ๘๐ ๘๐ ๐ ๐ ๐ ๑๘. ขอมูลขาวสารและการสื่อสาร ๙๖๐ ๑๙๕ ๑,๑๕๕ ๘๒๓ ๑๙๖ ๑,๐๑๙ ๑๙. กิจกรรมทางวิชาชีพและเทคนิค ๑,๓๗๒ ๑,๓๑๖ ๒,๖๘๘ ๑,๘๐๑ ๕๑๙ ๒,๓๒๐ ๒๐. การบริหารและการสนับสนุน ๓,๐๗๖ ๒,๐๘๑ ๕,๑๕๗ ๘,๑๔๔ ๔,๕๒๒ ๑๒,๖๖๖ ๒๑. ศิลปะความบันเทิง นันทนาการ ๓,๒๕๐ ๓,๔๐๘ ๖,๖๕๘ ๒,๐๕๖ ๑,๐๐๐ ๓,๐๕๖ ๒๒. ไมทราบ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

รวม ๙๐,๘๙๙ ๗๗,๒๐๙ ๑๖๘,๑๐๘ ๙๑,๒๒๗ ๗๘,๑๒๗ ๑๖๙,๓๕๔

ที่มา: สํานักงานสถิติจังหวัดภูเก็ต

Page 26: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๑๘

แผนภูมิที่ ๒-๓ เปรียบเทียบจํานวนผูทํางานในภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร

ไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕

๒.๓) ผูมีงานทําจําแนกตามอาชีพ ไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๕ พบวา อาชีพที่มีผูทํางานมากที่สุด ๕ อันดับแรก ไดแก อาชีพพนักงาน

บริการและพนักงานในรานคาและตลาด จํานวน ๕๕,๖๖๒คน (คิดเปนรอยละ ๓๒.๘๗) รองลงมาไดแกอาชีพผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝมือ และธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวของ จํานวน ๒๓,๑๘๙ คน (รอยละ ๑๓.๖๙) อาชีพอาชีพขั้นพ้ืนฐานตางๆ ในดานการขาย และการใหบริการ จํานวน ๒๑,๐๙๐ คน (รอยละ ๑๒.๕๔) อาชีพผูอาชีพผูประกอบวิชาชีพดานเทคนิคสาขาตางๆ และอาชีพที่เกี่ยวของ จํานวน ๑๖,๑๑๓ (รอยละ๙.๕๑) และอาชีพผูผูปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักรและผูปฏิบัติงานดานการประกอบจํานวน ๑๔,๖๘๔ คน (รอยละ๘.๖๗) (ตารางที ่๒-๔)

ตารางที่ ๒-๔ ผูมีงานทําจําแนกตามอาชีพ ไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕

หนวย: คน อาชีพ ไตรมาส ๔ ป ๕๔ ไตรมาส ๔ ป ๕๕

ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ๑. ผูบัญญัติกฎหมาย ขาราชการระดับอาวุโส และผูจัดการ ๘,๑๖๓ ๓,๐๒๐ ๑๑,๑๘๓ ๖,๙๔๘ ๒,๙๓๖ ๙,๘๘๔ ๒. ผูประกอบวิชาชีพดานตางๆ ๔,๗๔๘ ๖,๔๙๑ ๑๑,๒๓๙ ๕,๒๖๗ ๓,๗๓๙ ๙,๐๐๕ ๓. ผูประกอบวิชาชีพดานเทคนิคสาขาตางๆ และอาชีพ ที่เกี่ยวของ

๓,๘๔๖ ๘,๔๑๓ ๑๒,๒๕๙ ๗,๐๔๓ ๙,๐๗๐ ๑๖,๑๑๓

๔. เสมียน เจาหนาที ่ ๒,๖๖๖ ๕,๖๗๓ ๘,๓๓๙ ๑,๙๓๒ ๖,๙๗๐ ๘,๙๐๒ ๕. พนักงานบริการและพนกังานในรานคา และตลาด ๒๔,๙๗๖ ๓๒,๒๘๑ ๕๗,๒๕๗ ๒๒,๑๔๒ ๓๓,๕๑๙ ๕๕,๖๖๒ ๖. ผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตร ๔,๑๕๔ ๒,๓๙๕ ๖,๕๔๙ ๗,๒๓๓ ๓,๕๙๐ ๑๐,๘๒๓ ๗. ผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝมือ และธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวของ

๑๘,๕๒๗ ๒,๓๐๗ ๒๐,๘๓๔ ๑๗,๙๕๗ ๕,๒๓๓ ๒๓,๑๘๙

๘. ผูปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักรและผูปฏิบัติงาน ดานการประกอบ

๑๒,๗๗๗ ๗๖๘ ๑๓,๕๔๕ ๑๓,๗๒๑ ๙๖๔ ๑๔,๖๘๔

๙. อาชีพขั้นพื้นฐานตางๆ ในดานการขาย และการใหบริการ ๑๑,๐๔๓ ๑๕,๘๖๐ ๒๖,๙๐๓ ๘,๙๘๒ ๑๒,๑๐๘ ๒๑,๐๙๐ ๑๐. คนงานซึ่งมิไดจําแนกไวในหมวดอื่น ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

ยอดรวม ๙๐,๘๙๙ ๗๗,๒๐๙ ๑๖๘,๑๐๘ ๙๑,๒๒๗ ๗๘,๑๒๘ ๑๖๙,๓๕๔

ที่มา: สํานักงานสถิติจังหวัดภูเกต็

Page 27: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๑๙

แผนภูมิที่ ๒-๔ อาชีพที่มีผูทํางานมากที่สุด ๕ อันดับแรก ไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๕ ของจังหวัดภูเก็ต

๒.๔) ผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จและเพศ

เมื่อพิจารณาผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษาที่จบ พบวาไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๕ แรงงาน สวนใหญมีการศึกษาในระดับอุดมศึกษา จํานวน ๔๑,๘๐๑คน (รอยละ ๒๔.๐๐) ของจํานวนผูมีงานทําทั้งหมด) รองลงมาไดแกระดับประถมศึกษา จํานวน ๒๘,๔๒๖ คน (รอยละ ๑๖.๐๐) และรองลงมาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน ๒๗,๒๒๕คน (รอยละ๑๖.๐๐) (ตารางที ่๒-๕)

ตารางที่ ๒-๕ ผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษา ของจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕ หนวย: คน

ระดับการศึกษา ไตรมาส ๔ ป ๕๔ ไตรมาส ๔ ป ๕๕ ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม

๑. ไมมีการศึกษา ๑,๙๓๓ ๓,๔๖๗ ๕,๔๐๐ ๒,๑๓๔ ๑,๗๔๑ ๓,๘๗๕ ๒. ต่ํากวาประถมศึกษา ๒๑,๒๓๒ ๒๗,๓๐๖ ๔๘,๕๓๘ ๑๑,๘๙๓ ๑๐,๙๒๙ ๒๒,๘๒๓ ๓. ประถมศึกษา ๑๔,๖๓๕ ๑๔,๓๙๔ ๒๙,๐๒๘ ๑๕,๕๒๓ ๑๒,๙๐๓ ๒๘,๔๒๖ ๔. มัธยมศึกษาตอนตน ๒๒,๘๒๖ ๑๙,๓๘๙ ๔๒,๒๑๕ ๑๖,๒๐๐ ๘,๕๔๑ ๒๔,๗๔๑ ๕. มัธยมศึกษาตอนปลาย ๑๘,๙๖๔ ๑๕,๕๒๓ ๓๔,๔๘๘ ๑๖,๗๙๗ ๑๐,๔๒๗ ๒๗,๒๒๕ - สายสามัญ ๑๔,๗๘๗ ๑๐,๑๘๙ ๒๔,๙๗๖ ๑๒,๓๑๘ ๘,๒๑๗ ๒๐,๕๓๕ - สายอาชีวศึกษา ๓,๒๘๒ ๕,๐๖๓ ๘,๓๔๕ ๔,๔๗๙ ๒,๒๑๐ ๖,๖๙๐ - สายวิชาการศึกษา ๘๙๕ ๒๗๑ ๑,๑๖๗ ๐ ๐ ๐ ๖. อุดมศึกษา ๒๑,๙๒๐ ๒๖,๖๕๔ ๔๘,๕๗๕ ๑๙,๒๙๓ ๒๒,๕๐๘ ๔๑,๘๐๑ - สายวิชาการ ๑๕,๘๖๔ ๑๗,๔๖๗ ๓๓,๓๓๑ ๑๓,๕๘๑ ๑๕,๐๐๒ ๒๘,๕๘๓ - สายวิชาชีพ ๕,๓๔๓ ๕,๙๒๗ ๑๑,๒๗๑ ๕,๓๖๒ ๕,๓๘๘ ๑๐,๗๕๐ - สายวิชาการศึกษา ๗๑๓ ๓,๒๖๐ ๓,๙๗๓ ๓๕๐ ๒,๑๑๘ ๒,๔๖๘ ๗. การศึกษาอื่น ๆ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๘. ไมทราบ ๑๐,๔๑๖ ๑๑,๒๐๑ ๒๑,๖๑๗ ๙,๓๘๕ ๑๑,๐๗๘ ๒๐,๔๖๙

รวม ๑๑๑,๙๒๕ ๑๑๗,๙๓๔ ๒๒๙,๘๕๙ ๙๑,๒๒๗ ๗๘,๑๒๘ ๑๖๙,๓๕๔ ที่มา: สํานักงานสถิติจังหวัดภูเก็ต

Page 28: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๒๐

แผนภูมิที่ ๒-๕ สัดสวนของผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษา ของจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๕

๓) การวางงาน

ผูวางงานในจังหวัดภูเก็ตไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๕ จํานวนทั้งสิ้น ๑,๒๙๑ ราย (คิดเปนอัตราการวางงานเทากับรอยละ ๐.๗๖) ทั้งนี้เมื่อพิจารณากลุมผูวางงานจําแนกตามเพศแลว พบวาเพศหญิงจะมีอัตรา การวางงานต่ํากวาเพศชาย โดยเพศหญิงมีอัตราการวางงานรอยละ ๐.๖๗ และเพศชายมีอัตราการวางงาน รอยละ ๐.๘๔ และเมื่อเปรียบเทียบกับชวงเดียวกันของปที่ผานมาในไตรมาส ๔ป ๒๕๕๔ มีอัตราการวางงานเพิ่มขึ้น (ตารางที่ ๒-๖)

ตารางที่ ๒-๖ จํานวนผูวางงาน และอัตราการวางงาน ของจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕

หนวย: คน

ระดับการศึกษา ไตรมาส ๔ ป ๕๔ ไตรมาส ๔ ป ๕๕

ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม กําลังแรงงาน ๙๑,๑๒๙ ๗๗,๓๓๕ ๑๖๘,๔๖๔ ๙๑,๒๒๗ ๗๘,๑๒๘ ๑๖๙,๓๕๔ จํานวนผูวางงาน ๒๓๐ ๑๒๗ ๓๕๖ ๗๖๗ ๕๒๔ ๑,๒๙๑ อัตราการวางงาน ๐.๒๕ ๐.๑๖ ๐.๒๑ ๐.๘๔ ๐.๖๗ ๐.๗๖ ที่มา: สํานักงานสถิติจังหวัดภูเก็ต หมายเหต:ุ อัตราการวางงาน = (ผูไมมีงานทํา/กําลังแรงงานรวม)X๑๐๐

แผนภูมทิี่ ๒-๖ เปรียบเทียบอัตราการวางงานไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕ ของจังหวัดภูเก็ต

Page 29: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๒๑

๔) แรงงานนอกระบบ

สําหรับกลุมแรงงานนอกระบบนั้น จากขอมูลของสํานักงานสถิติจังหวัดในป ๒๕๕๕ พบวา มีผูม ีงานทําอยูซึ่งเปนแรงงานนอกระบบ (นอกระบบประกันสังคม) จํานวนทั้งสิ้น ๖๔,๐๐๒ คน (คิดเปนรอยละ ๓๗.๗๙ ของผูมีงานทําทั้งหมด) ทั้งนี้แรงงานนอกระบบเหลานี้สวนใหญเปนแรงงานนอกภาคเกษตร จํานวน ๕๘,๔๘๕ คน (รอยละ ๙๑.๓๘ ของแรงงานนอกระบบทั้งหมด) ในขณะที่ในภาคเกษตรมีจํานวน ๕,๕๑๗ คน (รอยละ ๘.๖๒) เมื่อพิจารณาจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบวา อุตสาหกรรมที่มีจํานวนแรงงาน นอกระบบสูงสุด ๕ อันดับแรก คือ ๑) สาขาการขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนต ๒๐,๐๑๖ คน(รอยละ ๓๑.๒๗) ๒) สาขาโรงแรมและภัตตาคาร ๑๒,๐๘๒ คน (รอยละ ๑๘.๘๘) ๓) สาขาการขนสง สถานที่เก็บสินคา และการคมนาคม จํานวน ๘,๑๒๑ คน (รอยละ ๑๒.๖๙) ๔) สาขาเกษตรกรรม จํานวน ๕,๕๑๗ คน (รอยละ ๘.๖๒) และ ๕) สาขาการผลิต จํานวน ๔,๖๓๒ คน (รอยละ ๗.๒๔) ตามลําดับ (ตารางที่ ๒-๗)

หมายเหตุ: รอยละของแรงงานนอกระบบ = (จํานวนผูทํางานนอกระบบ / จํานวนผูมีงานทําทั้งหมด) X๑๐๐

ตารางที่ ๒-๗ จํานวนแรงงานนอกระบบจําแนกรายอุตสาหกรรม ป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต หนวย: คน

ประเภทอุตสาหกรรม จํานวนแรงงานนอกระบบ ชาย หญิง รวม

๑. เกษตรกรรม ๔,๙๑๘ ๕๙๙ ๕,๕๑๗ ๒. การทําเหมืองแร และเหมืองหิน ๐ ๐ ๐ ๓. การผลิต ๑,๘๘๖ ๒,๗๔๕ ๔,๖๓๒ ๔. การไฟฟา กาซ และการประปา ๐ ๐ ๐ ๕. การจัดหาน้ํา การบําบัดน้ําเสีย ๘๑ ๐ ๘๑ ๖. การกอสราง ๓,๓๙๘ ๐ ๓,๓๙๘ ๗. การขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนต รถจักรยานยนต ของใชสวนบุคคล และของใชในครัวเรือน

๙,๔๐๓ ๑๐,๖๑๓ ๒๐,๐๑๖

๘. การขนสง สถานที่เก็บสินคา และการคมนาคม ๘,๑๒๑ ๐ ๘,๑๒๑

๙. โรงแรม และภัตตาคาร ๔,๘๘๔ ๗,๑๙๙ ๑๒,๐๘๒

๑๐. ขอมูลขาวสาร การสื่อสาร ๒๒๗ ๓๘๖ ๖๑๔

๑๑. กิจกรรมดานการเงิน ๔๒๙ ๑๒๒ ๕๕๒

๑๒. กิจการดานอสังหาริมทรัพย การใหเชา และกิจกรรมทางธุรกิจ ๓๙๐ ๑๕๗ ๕๔๗

๑๓. กิจกรรมทางวิชาชีพ ๒๙๒ ๗๐ ๓๖๓

๑๔. กิจกรรมการบริหาร ๘,๑๒๑ ๐ ๘,๑๒๑

๑๕. การบริหารราชการ และการปองกนัประเทศ รวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ ๓๐๙ ๑๕๗ ๔๖๕ ๑๖. การศึกษา ๒๑๗ ๐ ๒๑๗ ๑๗. งานดานสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห ๑๐๔ ๑๘๐ ๒๘๓ ๑๘. ลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคล ๐ ๐ ๐ ๑๙. ศิลปะ บันเทิง ๔๓๗ ๐ ๔๓๗ ๒๐. กิจกรรมดานบริการชุมชน สังคม และการบริการสวนบุคคลอื่น ๆ ๑,๗๕๕ ๒,๗๕๖ ๔,๕๑๐ ๒๑. การจางงานในครัวเรือนสวนบุคคล ๐ ๐ ๐ ๒๒. องคการระหวางประเทศและองคการตางประเทศอื่นๆ และสมาชิก ๐ ๐ ๐

๒๓. ไมทราบ ๐ ๐ ๐

รวม ๓๘,๒๔๖ ๒๕,๗๕๔ ๖๔,๐๐๒

ที่มา: สํานักงานสถิติจังหวัดภูเก็ต หมายเหต:ุ ใชขอมูลจํานวนแรงงานนอกระบบ ณ ไตรมาสที่ ๔ ป ๒๕๕๕

Page 30: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๒๒

แผนภูมทิี่ ๒-๗ อัตราสาขาการผลิตที่มีแรงงานนอกระบบทํางานอยูมากที่สุดป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต

เมื่อพิจารณาแรงงานนอกระบบจําแนกตามอาชีพ พบวา ผูมีงานทําในอาชีพตางๆ สูงสุด ๕ อันดับแรกคือ ๑) พนักงานบริการและพนักงานในรานคา และตลาดจํานวน ๓๐,๙๙๕ คน (รอยละ ๔๘.๔๓) ๒) ผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝมือ และธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวของ จํานวน ๘,๒๗๐ คน (รอยละ ๑๒.๙๒) ๓) ผูปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักร และผูปฏิบัติงานดานการประกอบ จํานวน ๘,๑๔๖ คน (รอยละ ๑๒.๗๓) ๔) อาชีพขั้นพื้นฐานตางๆ ในดานการขาย และการใหบริการ จํานวน ๕,๗๑๙ คน (รอยละ ๘.๙๔) ๕) ผูบัญญัติกฎหมาย ขาราชการระดับอาวุโส และผูจัดการ จํานวน ๔,๕๘๑ คน (รอยละ ๗.๑๖) ตามลําดับ (ตารางที่ ๒-๘)

ตารางที่ ๒-๘ จํานวนแรงงานนอกระบบจําแนกรายอาชีพ ป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต

หนวย: คน ประเภทอาชีพ จํานวนแรงงานนอกระบบ

ชาย หญิง รวม ๑. ผูบัญญัติกฎหมาย ขาราชการระดับอาวุโส และผูจัดการ ๓,๘๖๕ ๗๑๖ ๔,๕๘๑ ๒. ผูประกอบวิชาชีพดานตางๆ ๑๗๐ ๕๐ ๒๒๑ ๓. ผูประกอบวิชาชีพดานเทคนิคสาขาตางๆ และอาชีพที่เกี่ยวของ ๘๐๙ ๔๐๓ ๑,๒๑๑ ๔. เสมียน ๑๓๘ ๓๑๘ ๔๕๗ ๕. พนักงานบริการและพนกังานในรานคา และตลาด ๑๒,๘๐๙ ๑๘,๑๘๖ ๓๐,๙๙๕ ๖. ผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตร ๓,๘๗๖ ๕๒๗ ๔,๔๐๒ ๗. ผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝมือ และธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวของ ๕,๑๙๖ ๓,๐๗๔ ๘,๒๗๐ ๘. ผูปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักร และผูปฏิบัติงานดานการประกอบ ๘,๑๔๖ ๐ ๘,๑๔๖ ๙. อาชีพขั้นพื้นฐานตางๆ ในดานการขาย และการใหบริการ ๓,๒๓๙ ๒,๔๘๐ ๕,๗๑๙ ๑๐. คนงานซึ่งมิไดจําแนกไวในหมวดอื่น ๐ ๐ ๐

ยอดรวม ๓๘,๒๔๘ ๒๕,๗๕๔ ๖๔,๐๐๒ ที่มา: สํานักงานสถิติจังหวัดภูเก็ต หมายเหต:ุ ใชขอมูลจํานวนแรงงานนอกระบบ ณ ไตรมาสที่ ๔ ป ๒๕๕๕

Page 31: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๒๓

แผนภูมิที่ ๒-๘ ๕ อันดับสาขาอาชีพที่มีแรงงานนอกระบบทํางานอยูมากที่สุดป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต

เมื่อพิจารณาแรงงานนอกระบบ จําแนกตามอายุ พบวา สวนใหญมีอายุในชวง ๔๐-๔๔ ป จํานวน ๑๒,๘๐๘ คน (รอยละ ๒๐.๐๑) รองลงมาคือผูมีอายุ ๔๕-๔๙ ป จํานวน ๑๑,๐๓๖ คน (รอยละ ๑๗.๒๔) และอาย ุ๕๐-๕๔ ป จํานวน ๙,๑๙๖ คน (รอยละ ๑๔.๓๗) สวนชวงอายุที่มีนอยที่สุดคือ ๑๕-๑๙ ป จํานวน ๘๔๙ คน (รอยละ ๑.๓๓) (ตารางที่ ๒-๙)

ตารางที่ ๒-๙ จํานวนแรงงานนอกระบบ จําแนกตามอายุป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต

ชวงอาย ุจํานวนแรงงานนอกระบบ

ชาย หญิง รวม ๑๕-๑๙ ๕๑๐ ๓๓๙ ๘๔๙ ๒๐-๒๔ ๗๓๖ ๖๓๕ ๑,๓๗๑ ๒๕-๒๙ ๒,๓๑๓ ๕๖๗ ๒,๘๘๐ ๓๐-๓๔ ๓,๖๘๐ ๑,๗๖๐ ๕,๔๔๐ ๓๕-๓๙ ๔,๖๐๕ ๓,๕๗๘ ๘,๑๘๒ ๔๐-๔๔ ๗,๕๕๐ ๕,๒๕๗ ๑๒,๘๐๘ ๔๕-๔๙ ๖,๑๓๓ ๔,๙๐๔ ๑๑,๐๓๖ ๕๐-๕๔ ๕,๗๐๓ ๓,๔๙๓ ๙,๑๙๖ ๕๕-๕๙ ๒,๙๒๑ ๒,๕๔๒ ๕,๔๖๓

๖๐ ขึ้นไป ๔,๐๙๗ ๒,๖๗๙ ๖,๗๗๖ รวม ๓๘,๒๔๘ ๒๕,๗๕๔ ๖๔,๐๐๒

แผนภูมทิี่ ๒-๙ สัดสวนของแรงงานนอกระบบ จําแนกตามอายุป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต

Page 32: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๒๔

สําหรับดานการศึกษา พบวา แรงงานนอกระบบสวนใหญมีการศึกษาในระดับต่ํากวาประถมศึกษา จํานวน ๑๖,๕๔๖ คน (รอยละ ๒๕.๘๕ ของแรงงานนอกระบบทั้งหมด) รองลงมาคือ ระดับอุดมศึกษา จํานวน ๑๒,๖๕๓ คน (รอยละ ๑๙.๗๗) และระดับประถมศึกษา จํานวน ๑๐,๕๙๓ คน (รอยละ ๑๖.๕๕) (ตารางที่ ๒-๑๐)

ตารางที่ ๒-๑๐ จํานวนแรงงานนอกระบบ จําแนกตามระดับการศึกษาป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต

ระดับการศึกษา จํานวนแรงงานนอกระบบ ชาย หญิง รวม

ไมมีการศึกษา ๑,๑๒๓ ๑๓๓ ๑,๒๕๗ ต่ํากวาประถมศึกษา ๙,๑๖๕ ๗,๓๘๑ ๑๖,๕๔๖ ประถมศึกษา ๖,๓๓๘ ๔,๒๕๕ ๑๐,๕๙๓ มัธยมศึกษาตอนตน ๖,๐๔๙ ๒,๘๑๖ ๘,๘๖๕ มัธยมศึกษาตอนปลาย ๔,๕๗๕ ๔,๐๔๐ ๘,๖๑๕ - สายสามัญ ๒,๖๕๓ ๓,๑๗๖ ๕,๘๒๙ - สายอาชีวศึกษา ๑,๙๒๒ ๘๖๔ ๒,๗๘๖ - สายวิชาการศึกษา ๐ ๐ ๐ อุดมศึกษา ๗,๓๘๙ ๕,๒๖๔ ๑๒,๖๕๓ - สายวิชาการ ๕,๒๕๕ ๓,๗๐๔ ๘,๙๕๙ - สายวิชาชีพ ๑,๙๓๒ ๙๗๑ ๒,๙๐๓ - สายวิชาการศึกษา ๒๐๒ ๕๘๙ ๗๙๑ อื่นๆ ๐ ๐ ๐ ไมทราบ ๓,๖๐๙ ๑,๘๖๔ ๕,๔๗๓

รวม ๓๘,๒๔๘ ๒๕,๗๕๔ ๖๔,๐๐๒ ที่มา: สํานักงานสถิติจังหวัดภูเก็ต หมายเหต:ุ ใชขอมูลจํานวนแรงงานนอกระบบ ณ ไตรมาสที่ ๔ ป ๒๕๕๕

แผนภูมิที่ ๒-๑๐ สัดสวนของแรงงานนอกระบบ จําแนกตามระดับการศึกษาป ๒๕๕๕ ในจังหวัดภูเก็ต

Page 33: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๒๕

๒.๒ การจัดหางานและสงเสริมการมีงานทํา

๑) การจัดหางานในจังหวัดภูเก็ต

๑.๑) ตําแหนงงานวาง ผูสมัครงาน และการบรรจุงาน จําแนกตามเพศ

จากขอมูลสถิติของสํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ตพบวา มีตําแหนงงานวางที่แจงผานสํานักงานจัดหางานจังหวัดผานระบบ ON-LINE ชวงเดือนมกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖ จํานวนทั้งสิ้น ๑,๙๑๐ อัตรา เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ ๖๓.๕๓ ผูลงทะเบียนสมัครงานชวงเดือนมกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖ มจีํานวนทั้งสิ้น ๙๗๕ อัตรา ลดลงจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ ๒.๙๙ บรรจุงานมีจํานวนทั้งสิ้น ๑,๘๓๑ อัตรา เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ ๖๒.๙๐ (ตารางที่ ๒-๑๑)

เมื่อเปรียบเทียบภาพรวมของการจัดหางานตามเพศในชวงเดือนมกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖ พบวาตําแหนงงานวางสวนใหญจะไมระบุเพศจํานวน ๘๗๕ อัตรา(รอยละ ๔๕.๘๑ ของตําแหนงงานวางทั้งหมด) รองลงมาเพศหญิง จํานวน ๖๒๕ อัตรา(รอยละ ๓๒.๗๒) และเพศชาย จํานวน ๔๑๐ อัตรา (รอยละ ๒๑.๔๗) ตามลําดับ การที่ตําแหนงงานวางมากกวาครึ่งไมไดระบุเพศแสดงใหเห็นวาสถานประกอบการหรือนายจาง พิจารณาเห็นวางานโดยทั่วไปไมวาชายหรือหญิงก็สามารถทําไดเชนกัน หรือไมมีความแตกตาง ในเรื่องเพศ ในอีกประการหนึ่งนายจางพิจารณาเห็นวาการไมระบุเพศจะมีผลดีในดานโอกาสการคัดเลือกมากกวาการระบุเพศ เมื่อพิจารณาจํานวนผูลงทะเบียนสมัครงาน พบวามีเพศหญิงลงทะเบียนสมัครงาน จํานวน ๕๑๐ อัตรา (รอยละ ๕๒.๓๑) และเพศชาย จํานวน ๔๖๕ อัตรา (รอยละ ๔๗.๙๖) และเมื่อพิจารณาการบรรจุงานนั้น พบวา เปนเพศหญิง จํานวน ๙๖๘ อัตรา (รอยละ ๕๒.๘๗) และเพศชาย จํานวน ๔๖๕ อัตรา (รอยละ ๔๗.๑๓)

ตารางที่ ๒-๑๑ ตําแหนงงานวาง ผูลงทะเบียนสมัครงาน และการบรรจุงานของจังหวัดภูเก็ต ชวงเดือนมกราคม – มีนาคม ป ๒๕๕๕ และ ๒๕๕๖

ป ตําแหนงงานวาง (อัตรา)

ผูลงทะเบียนสมัครงาน (คน)

บรรจุงาน (คน)

ชาย หญิง ไมระบ ุ รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ม.ค.-มี.ค. ๕๕ ๓๐๕ ๒๖๔ ๕๙๙ ๑,๑๖๘ ๔๒๗ ๕๗๘ ๑,๐๐๕ ๔๒๑ ๗๐๓ ๑,๑๒๔ ม.ค.-มี.ค. ๕๖ ๔๑๐ ๖๒๕ ๘๗๕ ๑,๙๑๐ ๔๖๕ ๕๑๐ ๙๗๕ ๘๖๓ ๙๖๘ ๑,๘๓๑

ที่มา: สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมทิี่ ๒-๑๑ เปรียบเทียบตําแหนงงานวาง ผูลงทะเบียนสมัครงาน และการบรรจุงาน ชวงเดือนมกราคม – มีนาคม ป ๒๕๕๕ และ ๒๕๕๖

หมายเหต ุ เนื่องจากระบบขอมูลของสํานักงานจัดหางานทัว่ประเทศอยูในระหวางปรับปรุงจึงไมสามารถ ดึงขอมูลตําแหนงงานวาง ผูสมัครงาน และการบรรจุงานไดครบถวน

Page 34: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๒๖

๒) การจัดหางานตางประเทศ

๒.๑) จํานวนแรงงานไทยที่แจงความประสงคไปทํางานในตางประเทศ

ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ มีแรงงานในจังหวัดภูเก็ตที่ลงทะเบียนแจงความประสงคเดินทางไปทํางานตางประเทศ จํานวน ๗ คน เปนชาย ๓ คน (รอยละ ๔๒.๘๖) และหญิง ๔ คน (รอยละ ๕๗.๑๔) แรงงาน ไทยที่ไปลงทะเบียนสวนใหญจบการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน ๓ คน (รอยละ ๔๒.๘๖) รองลงมาคือ ระดับอนุปริญญา (ปวช. ปวส. ปวท.) จํานวน ๒ คน (รอยละ ๒๘.๕๗) และระดับมัธยมศึกษา จํานวน ๒ คน (รอยละ ๒๘.๕๗) ตามลําดับ

สําหรับแรงงานชายที่แจงความประสงคไปทํางานตางประเทศ จบการศึกษาระดับปวช. ปวส. ปวท. อนุปริญญา จํานวน ๒ คน (รอยละ ๖๖.๖๗ ของแรงงานชายทั้งหมด) รองลงมาคือ ระดับปริญญาตรี จํานวน ๑ คน (รอยละ ๓๓.๓๓) สวนแรงงานหญิงที่แจงความประสงคฯ สวนใหญจบการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน ๒ คน (รอยละ ๕๐.๐๐ ของแรงงานหญิงทั้งหมด) รองลงมาไดแก ระดับมัธยมศึกษา จํานวน ๒ คน (รอยละ ๕๐.๐๐) ตามลําดับ (ตารางที ่๒-๑๒)

ตารางที่ ๒-๑๒ จํานวนแรงงานไทยที่ลงทะเบียนแจงความประสงคเดินทางไปทํางานตางประเทศ จําแนกตามระดับการศึกษา ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ จังหวัดภูเก็ต

หนวย: คน

ระดับการศึกษา จํานวน (คน)

ชาย หญิง รวม ประถมศึกษา ๐ ๐ ๐ มัธยมศึกษา ๐ ๒ ๒ ปวช. ปวส. ปวท. อนุปริญญา ๒ ๐ ๒ ปริญญาตร ี ๑ ๒ ๓ ปริญญาโท ๐ ๐ ๐ ปริญญาเอก ๐ ๐ ๐

รวม ๓ ๔ ๗ ที่มา: สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๑๒ สัดสวนของแรงงานไทยที่แจงความประสงคเดินทางไปทํางานตางประเทศ จําแนกตามระดับการศึกษา

Page 35: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๒๗

๒.๒) จํานวนแรงงานไทยที่ไดรับใบอนุมัติใหไปทํางานตางประเทศ

การอนุญาตใหแรงงานไทยไปทํางานตางประเทศไดของจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม-มีนาคม) พบวามีจํานวนทั้งสิ้น ๑๗๘ คน โดยเมื่อพิจารณาตามวิธีการเดินทางพบวา สวนใหญ เปนประเภท Re-Entry คือกลับไปทํางานอีกครั้งหนึ่งโดยการตออายุสัญญา จํานวน ๑๑๖ คน (รอยละ ๖๕.๑๖) รองลงมาเดินทางดวยตนเอง จํานวน ๖๒ คน (รอยละ ๓๔.๘๓) (ตารางที ่๒-๑๓)

ตารางที่ ๒-๑๓ จํานวนแรงงานไทยที่ไดรับอนุมัติใหเดินทางไปทํางานตางประเทศ จําแนกตามวิธีการเดินทาง ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ ของจังหวัดภูเก็ต

หนวย: คน

วิธีการเดินทาง จํานวน (คน)

บริษัทจัดหางานจัดสง ๐ Re-Entry ๑๑๖ เดินทางดวยตนเอง ๖๒ นายจางพาไปฝกงาน ๐ นายจางพาไปทํางาน ๐ กรมการจัดหางานจดัสง ๐

รวม ๑๗๘ ที่มา: สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๑๓ สัดสวนของแรงงานไทยที่ไดรับอนุมัติใหเดินทางไปทํางานตางประเทศ จําแนกตามวิธีการเดินทาง

๒.๓) ภูมิภาคที่แรงงานไทยเดินทางไปทํางาน

แรงงานไทยที่เดินทางไปทํางานตางประเทศตามที่ไดรับอนุญาตในสวนใหญจะไปทํางานในภูมิภาคเอเชียมากที่สุด จํานวน ๑๓๙ คน (รอยละ ๗๘.๐๙ ของแรงงานไทยที่ไปทํางานตางประเทศทั้งหมด) รองลงมาคือ ภูมิภาคอื่นๆ จํานวน ๑๙ คน (รอยละ๑๐.๖๗) ภูมิภาคอเมริกา จํานวน ๑๕ คน (รอยละ๘.๔๓)และภูมิภาคแอฟริกา ๕ คน (รอยละ๒.๘๑) ตามลําดับ (ตารางที่ ๒-๑๔)

Page 36: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๒๘

ตารางที่ ๒-๑๔ จํานวนแรงงานไทยที่ขออนุมัติเดินทางไปทํางานตางประเทศ จําแนกตามภูมิภาคที่เดินทางไปทํางาน ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖

หนวย: คน

ภูมิภาค จํานวน(คน)

เอเชีย ๑๓๙ ตะวันออกกลาง ๐ แอฟริกา ๕ ยุโรป ๐ อเมริกา ๑๕ ออสเตรเรีย ๐ ภูมิภาคอื่น ๆ ๑๙

รวม ๑๗๘ ที่มา: สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๑๔ จํานวนแรงงานไทยที่ขออนุมัติเดินทางไปทํางานตางประเทศ จําแนกตามภูมิภาคที่เดินทางไปทํางาน ของจังหวัดภูเก็ต

๓) แรงงานตางดาว

๓.๑) จํานวนแรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานคงเหลือ

การอนุญาตใหแรงงานตางดาวทํางานในจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ (มกราคม – มีนาคม) ป ๒๕๕๖ จังหวัดภูเก็ตมีแรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานคงเหลือทั้งสิ้น จํานวน ๘๘,๕๔๗คน เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ ๒๔.๒๗ ซึ่งเมื่อจําแนกตามลักษณะการเขาเมืองของคนตางดาว พบวากลุมแรงงานตางดาวเขาเมืองถูกกฎหมายมีมากกวาแรงงานตางดาวเขาเมืองผิดกฎหมายที่ไดรับการผอนผันใหทํางานตามมติคณะรัฐมนตรี โดยมีแรงงานตางดาวเขาเมืองถูกกฎหมายที่ไดรับอนุญาตทํางาน จํานวน ๘๘,๓๒๖ คน (รอยละ ๙๙.๗๕ ของแรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานคงเหลือ) และแรงงานตางดาวเขาเมืองผิดกฎหมายที่ไดรับการผอนผันฯ จํานวน ๒๒๑ คน (รอยละ ๐.๒๕ ของแรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานคงเหลือ)

Page 37: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๒๙

กลุมแรงงานตางดาวเขาเมืองถูกกฎหมายท่ีไดรับอนุญาตทํางานคงเหลือ จํานวน ๘๘,๓๒๖ คน จําแนกตามประเภทการไดรับอนุญาต มาตรา ๙ ประเภทพิสูจนสัญชาติ (MOU) มากที่สุด จํานวน ๗๗,๙๓๑ คน (รอยละ ๘๘.๒๓ ของแรงงานตางดาวเขาเมืองถูกกฎหมายทั้งหมด) ประเภทชั่วคราวทั่วไป จํานวน ๘,๔๐๗ คน (รอยละ ๙.๕๒) ประเภทนําเขา จํานวน ๑,๗๖๙ คน (รอยละ ๒.๐๐) ตามลําดับ เมื่อเปรียบเทียบจํานวนแรงงานตางดาวเขาเมืองถูกกฎหมายในชวงเดือนกันของปกอนเพิ่มขึ้นรอยละ ๒๔.๑๒ กลุมแรงงานตางดาวเขาเมืองผิดกฎหมายท่ีไดรับผอนผันใหทํางานตามมติคณะรัฐมนตรีคงเหลือ จํานวน ๒๒๑ คน โดยเปนชนกลุมนอยทั้งหมด (รอยละ ๑๐๐) เม่ือเปรียบเทียบกับชวงเดือนเดียวกันของปกอน พบวา แรงงานตางดาวเขาเมืองผิดกฎหมายที่ไดรับอนุญาตทํางานคงเหลือเพิ่มขึ้น รอยละ ๑๓๗.๖๓ (ตารางที่ ๒-๑๕)

ตารางที่ ๒-๑๕ จํานวนแรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานคงเหลือ ที่มา: สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ต

หนวย: คน

คนตางดาวเขาเมืองถูกกฎหมาย คนตางดาวเขาเมืองผิดกฎหมาย รวมทั้งสิ้น

มาตรา ๙ มาตรา

๑๒

สงเสริม

การลงทุน

(BOI)

รวม มาตรา ๑๓ รวม

ตลอด

ชีพ

ชั่วคราว

ทั่วไป

นําเขา พิสูจน ชน

กลุม

นอย

มติ ครม.

(๓

สัญชาต)ิ สัญชาติ

ป ๒๕๕๕ ๐ ๐ ๑,๖๑๕ ๖๙,๕๔๔ ๐ ๗๑,๑๕๙ ๐ ๙๓ ๙๓ ๗๑,๒๕๒ ป ๒๕๕๖ ๐ ๘,๔๐๗ ๑,๗๖๙ ๗๗,๙๓๑ ๒๑๙ ๘๘,๓๒๖ ๒๒๑ ๐ ๒๒๑ ๘๘,๕๔๗

แผนภูมทิี่ ๒-๑๕ เปรียบเทียบจํานวนแรงงานตางดาวถูกกฎหมายและผิดกฎหมายที่ไดรับการผอนผัน ป ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕ ของจังหวัดภูเก็ต

Page 38: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๓๐

๓.๒) จํานวนแรงงานตางดาวเขาเมืองผิดกฎหมาย

จากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๕ มนีาคม ๒๕๕๖ ไดมีการผอนผันแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองเปนกรณีพิเศษ แกแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองสัญชาติ พมา ลาว กัมพูชา ที่ลักลอบทํางานอยูกับนายจางในประเทศไทยอยูแลวรวมถึงบุตรของแรงงานตางดาวที่มีอายุไมเกิน ๑๕ ป เพื่อดําเนินการรับหนังสือเดินทางชั่วคราวหรือเอกสารรับรองบุคคลจากประเทศตนทาง เพื่อขออนุญาตทํางานกับนายจางเดิมตอไปและใหดําเนินการใหแลวเสร็จภายในกําหนด ดังนั้นในรอบไตรมาส ๑/๒๕๕๖ จังหวัดภูเก็ตจึงไมมีแรงงานตางดาวเขาเมืองผิดกฎหมาย

๔) การสงเสริมการมีงานทํา

สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ตทําการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมการมีงานทําในจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ ทั้งหมด ๘ ครั้ง โดยเปนกิจกรรมแนะแนวอาชีพ จํานวน ๕ ครั้ง กิจกรรมสงเสริมการประกอบอาชีพอิสระ จํานวน ๒ ครั้ง และกจิกรรมมหกรรมอาชีพ จํานวน ๑ ครั้ง ตามลําดับ

ทั้งนี ้ผูไดรับผลประโยชนจากการจดักิจกรรมการสงเสริมงานทํามีทั้งสิ้น ๓,๘๖๘คน แบงเปน ชาย ๑,๙๔๔ คน (คิดเปนรอยละ ๕๐.๒๕ ของผูไดรับผลประโยชนทั้งหมด) และหญิง ๑,๙๒๔ คน (รอยละ ๔๙.๗๔) (ตารางที่ ๒-๑๗)

ตารางที่ ๒-๑๖ กิจกรรมที่ดําเนินการเพื่อสงเสริมการมีงานทํา จังหวัดภูเก็ต

จําแนกตามประเภทกิจกรรม ไตรมาส ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖)

กิจกรรมที่ดําเนินการ จํานวนครั้ง ผูไดรับประโยชน(คน)

เพื่อสงเสริมการมีงานทํา ที่จัดกิจกรรม ชาย หญิง รวม

แนะแนวอาชีพ ๕ ๗๑๒ ๕๒๕ ๑,๒๓๗ มหกรรมอาชีพ ๑ ๑,๒๒๒ ๑,๓๘๙ ๒,๖๑๑ สงเสริมการประกอบอาชีพอิสระ ๒ ๑๐ ๑๐ ๒๐ สงเสริมการประกอบอาชีพเพ่ือผูสงูอาย ุ ๐ ๐ ๐ ๐ อบรมผูรับงาน/ผูนํากลุมรับงานไปทําที่บาน ๐ ๐ ๐ ๐ ประสานใหเกิดการรับงานไปทําท่ีบาน ๐ ๐ ๐ ๐

รวม ๘ ๑,๙๔๔ ๑,๙๒๔ ๓,๘๖๘ หมายเหต:ุ สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเกต็

แผนภูมทิี่ ๒-๑๖ เปรียบเทียบจํานวนผูไดรับประโยชนจากกิจกรรมทีด่ําเนินการเพื่อสงเสริม การมีงานประเภทตางๆ ของจังหวัดภูเก็ต

Page 39: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๓๑

๒.๓ การพัฒนาศักยภาพแรงงาน

๑) การฝกเตรียมเขาทํางาน

ศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัดภูเก็ตไดดําเนินการฝกอบรมพัฒนาผูใชแรงงานในรูปแบบตางๆ ไดแก การฝกเตรียมเขาทํางาน การฝกยกระดับฝมือแรงงาน และการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน เพื่อเพิ่มศักยภาพฝมือแรงงานไทยใหมีมาตรฐานฝมือทัดเทียมประเทศตางๆขณะเดียวกันเปนการพัฒนาทักษะใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน ในชวงเดือนมกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖ ไมมีมีผูเขารับการฝกเตรียมเขาทํางาน

๒) การฝกยกระดับฝมือแรงงาน

สําหรับการฝกยกระดับฝมือแรงงานในเดือนมกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖ พบวามีผูเขารับการฝกยกระดับฝมือแรงงานท้ังสิ้น ๑,๑๑๖ คน โดยเมื่อพิจารณาตามกลุมอาชีพ พบวามีการฝกยกระดับฝมือแรงงานในกลุมธุรกิจและบริการมากที่สุด จํานวน ๙๐๗ คน (รอยละ ๘๑.๒๗ ของผูเขารับการฝกทั้งหมด) รองลงมาไดแก กลุมชางอุตสาหกรรมศิลป จํานวน ๑๖๙ คน (รอยละ ๑๕.๑๔) และเกษตรอุตสาหกรรม จํานวน ๔๐ คน (รอยละ ๓.๕๘) ตามลําดับ

ทั้งนี้ ผูผานการฝกยกระดับฝมือแรงงาน จํานวน ๑,๐๒๗ คน (รอยละ ๙๒.๐๒ ของผูเขารับการฝกยกระดับฝมือแรงงานทั้งหมด) โดยเมื่อพิจารณาตามกลุมอาชีพ พบวา กลุมธุรกิจและบริการมีผูผานการฝกมากที่สุดจํานวน ๘๕๘ คน (รอยละ ๘๓.๕๔ ของผูผานการฝกทั้งหมด) รองลงมาคือ กลุมชางอุตสาหกรรมศิลป มีผูผานการฝก จํานวน ๑๒๙ คน (รอยละ ๑๒.๕๖) และกลุมเกษตรอุตสาหกรรม จํานวน ๔๐ คน (รอยละ ๓.๘๙) (ตารางที่ ๒-๑๘)

ตารางที่ ๒-๑๗ การฝกยกระดับฝมือแรงงานจําแนกตามกลุมอาชีพในจังหวัดภูเก็ต

ไตรมาส ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖) หนวย: คน

กลุมอาชีพ จํานวน (คน) ผูเขารับการฝก ผูผานการฝก

๑. ชางกอสราง ๐ ๐ ๒. ชางอุตสาหการ ๐ ๐ ๓. ชางเครื่องกล ๐ ๐ ๔. ชางไฟฟา อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร ๐ ๐ ๕. ชางอุตสาหกรรมศิลป ๑๖๙ ๑๒๙ ๖. เกษตรอุตสาหกรรม ๔๐ ๔๐ ๗. ธุรกิจและบริการ ๙๐๗ ๘๕๘

รวม ๑,๑๑๖ ๑,๐๒๗ ที่มา: ศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัดภูเก็ต

Page 40: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๓๒

แผนภูมทิี่ ๒-๑๗ เปรียบเทียบจํานวนผูเขารับการทดสอบและผูผานการฝกยกระดับฝมือแรงงาน จําแนกตามกลุมอาชีพ ในจังหวัดภูเก็ต

๓) การทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน

สําหรับการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานในเดือนมกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖ พบวามีผูเขารับการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานทั้งสิ้น ๑๔๔ คน โดยเมื่อพิจารณาตามกลุมอาชีพ พบวาผูเขารับการทดสอบฝมือแรงงานในกลุมชางไฟฟา อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร จํานวน ๘๓ คน (รอยละ ๕๗.๖๓ ของผูเขารับการฝกทั้งหมด) และกลุมธุรกิจละบริการ จํานวน ๖๑ คน (รอยละ ๔๒.๓๖ ของผูเขารับการฝกทั้งหมด) (ตารางที่ ๒-๑๘)

ตารางที่ ๒-๑๘ การทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานจําแนกตามกลุมอาชีพในจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖ )

หนวย: คน

กลุมอาชีพ จํานวน (คน) ผูเขารับการทดสอบ ผูผานการทดสอบ

๑. ชางกอสราง ๐ ๐ ๒. ชางอุตสาหการ ๐ ๐ ๓. ชางเครื่องกล ๐ ๐ ๔. ชางไฟฟา อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร ๘๓ ๒๓ ๕. ชางอุตสาหกรรมศิลป ๐ ๐ ๖. เกษตรอุตสาหกรรม ๐ ๐ ๗. ธุรกิจและบริการ ๖๑ ๔๗

รวม ๑๔๔ ๗๐ ที่มา: ศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัดภูเก็ต

Page 41: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๓๓

แผนภูมิที่ ๒-๑๘ เปรียบเทียบจํานวนผูเขารับการทดสอบและผูผานการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน จําแนกตามกลุมอาชีพ ในจังหวัดภูเก็ต

๒.๔ การคุมครองแรงงานและสวัสดิการแรงงาน

๑) การตรวจคุมครองแรงงาน

ในเดือนมกราคม-มีนาคม ๒๕๕๖ สํ านั กงานสวั สดิการและคุ มครองแรงงานจั งหวั ดภู เก็ต ไดดําเนินการตรวจสถานประกอบการจํานวนทั้งสิ้น ๑๕๔ แหง มีลูกจางที่ผานการตรวจหรือไดรับการคุมครองจํานวน ๑๓,๙๒๓ คน จําแนกเปนชาย จํานวน ๖,๖๐๗ คน (รอยละ ๔๗.๔๕ ของลูกจางที่ผานการตรวจทั้งหมด) หญงิ จํานวน ๗,๓๑๔ คน (รอยละ ๕๒.๕๓) และ เด็ก จํานวน ๒ คน (รอยละ ๐.๐๒) ตามลําดับ

จากผลการตรวจพบวาสถานประกอบการปฎิบัติถูกตองตามกฎหมายทั้งหมด จํานวน ๑๕๔ แหง (รอยละ ๑๐๐.๐๐ ของสถานประกอบการที่ผานการตรวจทั้งสิ้น) เมื่อพิจารณาผลการตรวจจําแนกตามขนาดของสถานประกอบการ พบวา สถานประกอบการขนาด ๑๐ –๑๙ คน ผานการตรวจและปฎิบัติถูกตองมากที่สุด จํานวน ๓๑ แหง (รอยละ ๒๐.๑๒ ของสถานประกอบการที่ผานการตรวจทั้งสิ้น) รองลงมา เปนสถานประกอบการขนาด ๒๐-๔๙ คน จํานวน ๒๕ แหง (รอยละ ๑๖.๒๓) และเปนสถานประกอบการขนาด ๑-๔ คน จํานวน ๒๕ แหง (รอยละ ๑๖.๒๓) ตามลําดับ (ตารางที่ ๒-๒๐)

ตารางที่ ๒-๒๐ การตรวจคุมครองแรงงาน จําแนกตามสถานประกอบการ ในจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ (มกราคม - มีนาคม ๒๕๕๖)

ขนาดสถาน สถานประกอบการ ลูกจางที่ผานการตรวจ (คน) ผลการตรวจ (แหง) ประกอบการ ที่ผานการตรวจ (แหง) ชาย หญิง เด็ก รวม ปฏิบัติถูกตอง ปฏิบัติไมถูกตอง ๑ - ๔ คน ๒๕ ๒๘ ๔๑ ๐ ๖๙ ๒๕ ๐ ๕ - ๙ คน ๒๐ ๗๒ ๕๗ ๐ ๑๒๙ ๒๐ ๐

๑๐ - ๑๙ คน ๓๑ ๒๑๓ ๒๓๕ ๑ ๔๔๙ ๓๑ ๐ ๒๐ - ๔๙ คน ๒๕ ๔๖๓ ๓๙๒ ๑ ๘๕๖ ๒๕ ๐ ๕๐ - ๙๙ คน ๒๓ ๗๙๗ ๘๐๕ ๐ ๑,๖๐๒ ๒๓ ๐

๑๐๐ - ๒๙๙ คน ๑๘ ๑,๓๗๔ ๑,๑๕๘ ๐ ๒,๕๓๒ ๑๘ ๐ ๓๐๐ - ๔๙๙ คน ๑๐ ๑,๔๘๖ ๑,๕๒๓ ๐ ๓,๐๐๙ ๑๐ ๐ ๕๐๐ - ๙๙๙ คน ๑ ๔๖๐ ๓๒๒ ๐ ๗๘๒ ๑ ๐

๑,๐๐๐ คน ๑ ๑,๗๑๔ ๒,๗๘๑ ๐ ๔,๔๙๕ ๑ ๐ รวม ๑๕๔ ๖,๖๐๗ ๗,๓๑๔ ๒ ๑๓,๙๒๓ ๑๕๔ ๐

ที่มา: สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดภูเก็ต

Page 42: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๓๔

แผนภูมทิี่ ๒-๑๙ เปรียบเทียบสถานประกอบการที่ปฏิบัติถูกตอง / ไมถูกตอง ตามกฎหมายคุมครองแรงงาน ในจังหวัดภูเก็ต

๒) การตรวจความปลอดภัยในการทํางาน อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน

ในเดือนมกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดภูเก็ตไดดําเนินการตรวจความปลอดภัยในการทํางาน อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานทั้งสิ้น ๔๙แหง มีลูกจางที่ผานการตรวจหรือไดรับการคุมครองรวม จํานวน ๓,๑๔๘ คน จําแนกเปนชาย จํานวน ๑,๘๑๘ คน (รอยละ ๓๕.๕๑ ของลูกจางที่ผานการตรทั้งหมด) หญิง จํานวน ๑,๓๓๐ คน (รอยละ ๔๒.๒๔) ตามลําดับ

จากผลการตรวจ พบวา สถานประกอบกิจการทั้งหมดปฏิบัติถูกตองตามกฎหมาย จํานวน ๔๙ แหง (รอยละ ๑๐๐.๐๐ ของสถานประกอบการที่ผานการตรวจทั้งสิ้น) เมื่อพิจารณาผลการตรวจจําแนกตามขนาดของสถานประกอบการ พบวา สถานประกอบการ ขนาด ๑-๔ คน ปฎิบัติถูกตองมากที่สุด จํานวน ๑๒ แหง (รอยละ ๒๔.๔๘) รองลงมา สถานประกอบการขนาด ๒๐-๔๙ คน และขนาด ๕๐-๙๙ จํานวน ๙ แหง (รอยละ ๑๘.๓๖) และสถานประกอบการขนาด ๑๐-๑๙ คน จํานวน ๘ แหง (รอยละ ๑๖.๓๒) ตามลําดับ (ตารางที ่๒-๒๕)

หมายเหต:ุ อัตราการปฏิบัติถูกตองตามกฎหมายของการตรวจความปลอดภัย = (จํานวนสถานประกอบการที่ปฏิบัติถูกตองของการตรวจความปลอดภัยขนาด i / จํานวนสถานประกอบการที่ผานการตรวจความปลอดภัยทั้งหมดขนาด i) x ๑๐๐

ตารางที่ ๒-๒๑ การตรวจความปลอดภัยในการทํางาน อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานจําแนกตามขนาดของสถานประกอบการ ในจังหวัดภูเก็ต

สถานประกอบการ ลูกจางที่ผานการตรวจ (คน) ผลการตรวจ (แหง) ขนาดสถานประกอบการ ที่ผานการตรวจ ชาย หญิง เด็ก รวม ปฏิบัติ ปฏิบัติ

(แหง) ถูกตอง ไมถูกตอง ๑ - ๔ คน ๑๒ ๑๔ ๑๗ ๐ ๓๑ ๑๒ ๐ ๕ - ๙ คน ๔ ๑๖ ๑๐ ๐ ๒๖ ๔ ๐

๑๐ - ๑๙ คน ๘ ๑๐๙ ๕๓ ๐ ๑๖๒ ๘ ๐ ๒๐ - ๔๙ คน ๙ ๑๔๒ ๑๐๓ ๐ ๒๔๕ ๙ ๐ ๕๐ - ๙๙ คน ๙ ๓๒๓ ๓๐๗ ๐ ๖๓๐ ๙ ๐

๑๐๐ - ๒๙๙ คน ๕ ๕๐๒ ๓๐๙ ๐ ๘๑๑ ๕ ๐ ๓๐๐ - ๔๙๙ คน ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๕๐๐ - ๙๙๙ คน ๒ ๗๑๒ ๕๓๑ ๐ ๑๒๔๓ ๒ ๐

๑,๐๐๐ คน ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ รวม ๔๙ ๑,๘๑๘ ๑,๓๓๐ ๐ ๓,๑๔๘ ๔๙ ๐

ที่มา: สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดภูเก็ต

Page 43: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๓๕

100%

สมาคมนายจาง

สหพันธนายจาง

สภาองคการนายจาง

แผนภูมิที่ ๒-๒๐ เปรียบเทียบสถานประกอบการที่ปฏิบัติถูกตอง/ไมถูกตองตามจากการตรวจ ความปลอดภัยในการทํางาน อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ในจังหวัดภูเก็ต

๓) การแรงงานสัมพันธ

๓.๑) องคการนายจางและลูกจาง

ในเดือนมกราคม-มีนาคม ๒๕๕๖ พบวา จังหวัดภูเก็ตมีองคการนายจาง ๒๑ แหง โดยทั้งหมดนั้นเปนองคการประเภทสมาคมนายจาง สําหรับองคการลูกจางนั้น มีสหภาพแรงงานในกิจการเอกชน ๑๙ แหงและสหพันธแรงงาน ๒ แหง (ตารางที่ ๒-๒๒ และ ๒-๒๓)

ตารางที่ ๒-๒๒ จํานวนองคการนายจาง จําแนกตามประเภทองคการ จังหวัดภูเก็ต

ประเภทองคการ จํานวน (แหง) สมาคมนายจาง ๒๑ สหพันธนายจาง - สภาองคการนายจาง -

รวม ๒๑ ที่มา: สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมทิี่ ๒-๒๑ สัดสวนขององคการนายจางประเภทตางๆ ในจังหวัดภูเก็ต

ตารางที่ ๒-๒๓ จํานวนองคการลูกจาง จําแนกตามประเภทองคการ จังหวัด

ที่มา: สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดภูเก็ต

ประเภทองคการ จํานวน (แหง)

สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ - สหภาพแรงงานในกิจการเอกชน ๑๙

สหพันธแรงงาน ๒

สภาองคการลูกจาง -

รวม ๒๑

Page 44: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๓๖

90.48%

9.52%

สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ

สหภาพแรงงานในกิจการเอกชน

สหพันธแรงงาน

สภาองคการลูกจาง

แผนภูมทิี่ ๒-๒๒ สัดสวนขององคการลูกจางประเภทตางๆ ในจังหวัดภูเก็ต

๓.๒) ขอพิพาทและความขัดแยง

สําหรับการเกิดขอเรียกรอง/ขอพิพาทแรงงาน และขอขัดแยง ประจําเดือนมกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖ในจังหวัดภูเก็ต พบวา มีการแจงขอเรียกรอง จํานวน ๒ แหง ๒ ครั้ง ๘๒๘ คน (ตารางที่ ๒-๒๔)

ตารางที่ ๒-๒๔ ขอเรียกรอง ขอพิพาท ขอขัดแยง ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ จังหวัดภูเก็ต

ขอเรียกรอง/ขอพิพาท/ขอขดัแยง แหง ครั้ง คน การแจง/ยุติขอเรียกรอง ๒ ๒ ๘๒๘

๑. การแจงขอเรียกรอง ๒ ๒ ๘๒๘ ๒. การยุติขอเรียกรอง ๐ ๐ ๐ ๒.๑ การยุติโดยไมเกิดขอพิพาทแรงงาน ๐ ๐ ๐ - ตกลงกันเอง ๒ ๒ ๘๒๘ - ถอนขอเรียกรอง ๐ ๐ ๐ - อื่น ๆ ๐ ๐ ๐ ๒.๒ การเกิดขอพิพาทแรงงาน ๐ ๐ ๐ ๓. ขอเรียกรองยังไมยุต ิ ๐ ๐ ๐

การเกิดขอพิพาท/ยุติขอพิพาท ๐ ๐ ๐ ๑. การเกิดขอพิพาทแรงงาน ๐ ๐ ๐ ๒. การยุติขอพิพาทแรงงาน ๐ ๐ ๐ - ยุติภายใน ๕ วัน ๐ ๐ ๐ - ยุติเกิน ๕ วัน ๐ ๐ ๐ - ชี้ขาดโดยบังคับ ๐ ๐ ๐ - ชี้ขาดโดยสมัครใจ ๐ ๐ ๐ - อื่น ๆ ๐ ๐ ๐ ๓. ขอพิพาทแรงงานยังไมยุต ิ ๐ ๐ ๐

การเกิดขอขดัแยง/ยุติขอขดัแยง ๐ ๐ ๐ ๑. การเกิดขอขัดแยง ๐ ๐ ๐ ๒. การยุติขอขัดแยง ๐ ๐ ๐ - ตกลงกันได ๐ ๐ ๐ - ถอนเรื่อง ๐ ๐ ๐ - ฟองศาลแรงงาน ๐ ๐ ๐ ๓. การผละงาน ๐ ๐ ๐ ๔. ขอขัดแยงยังไมยุต ิ ๐ ๐ ๐ ที่มา: สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดภูเก็ต

Page 45: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๓๗

แผนภูมิที่ ๒-๒๓ จํานวนสถานประกอบการที่มีขอเรียกรอง ขอพิพาท ขอขัดแยง ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ จังหวัดภูเก็ต

๓.๓) การสงเสริมการจัดสวัสดิการแรงงาน

สําหรับการสงเสริมการจัดสวัสดิการแรงงาน จําแนกกิจกรรมที่สงเสริมไตรมาส ๑ (มกราคม – มีนาคม ) ๒๕๕๖

ตารางที ่ ๒-๒๕ การสงเสริมการจัดสวัสดิการแรงงานจําแนกกิจกรรมที่สงเสริม

ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ จังหวัดภูเก็ต

กิจกรรมที่สงเสริม แหง คน ๑. สงเสริมและใหบริการดานสวัสดิการแรงงานนอกเหนือจากที่กฎหมายกําหนด

๐ ๐

๒.ดําเนินการพัฒนาเด็กปฐมวัยศูนยเด็กเล็กวิทยาเขต สิรินธรราชวิทยาลัยในพระราชูปถัมภ

๐ ๐

๓. ใหบริการเงินกูกองทุนเพื่อผูใชแรงงาน ๐ ๐ กิจกรรมที่สงเสริม ครั้ง คน

๑. สงเสริมความรูเกี่ยวกับสวัสดิการแรงงาน ๐ ๐ ๒. จัดคาราวานแกจนเพื่อใหบริการดานสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

๐ ๐

ที่มา: สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดภูเก็ต

Page 46: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๓๘

๒.๕ การประกันสังคม

๑) สถานประกอบการในระบบประกันสังคม

๑.๑) จํานวนสถานประกอบการและผูประกันตน

ในไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ จังหวัดภูเก็ตมีสถานประกอบการที่ขึ้นทะเบียนประกันสังคม จํานวน ๕,๗๙๙แหง และผูประกันตนรวมทั้งสิ้น ๖๙,๒๐๕คน เมื่อพิจารณาจํานวนสถานประกอบการจําแนกตามอุตสาหกรรม พบวา อุตสาหกรรมประเภทกิจการอื่นๆ มีจํานวนสถานประกอบการมากที่สุด ๒,๗๐๖ แหง (รอยละ ๔๖.๖๖ ของสถานประกอบการทั้งหมด) รองลงมาคือ อุตสาหกรรมการคา ๑,๔๕๑ แหง (รอยละ ๒๕.๐๒) และอุตสาหกรรมการขนสง การคมนาคม ๕๙๕ แหง (รอยละ ๑๐.๒๖) ตามลําดับ

เมื่อพิจารณาจํานวนผูประกันตนจําแนกรายอุตสาหกรรม พบวา อุตสาหกรรมประเภทกิจการอื่นๆ มีจํานวนผูประกันตนมากที่สุด จํานวน ๓๖,๘๒๑ คน (รอยละ ๕๓.๒๐ ของจํานวนผูประกันตนทั้งหมด) รองลงมาคือ อุตสาหกรรมการคา ๑๖,๒๘๕ คน (รอยละ ๒๓.๕๓) และการขนสง การคมนาคม๖,๑๙๗ คน (รอยละ ๘.๙๕) ตามลําดับ (ตารางที่ ๒-๒๖)

ตารางที่ ๒-๒๖ จํานวนสถานประกอบการและผูประกันตนจําแนกตามอุตสาหกรรม ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ ในจังหวัดภูเก็ต

ประเภทอุตสาหกรรม จํานวน

สปก. (แหง) ผปต. (คน) ๑.การสํารวจ การทําเหมืองแร ๑๔ ๒๗๔ ๒.การผลิตอาหารเครื่องดื่ม ๙๔ ๘๖๑ ๓.การผลิตสิ่งทอถัก เครื่องประดับ ๗๓ ๔๑๑ ๔.การทําปาไม ผลิตภณัฑจากไม ๓๔ ๑๗๔ ๕.ผลิตภัณฑจากกระดาษ การพิมพ ๔๒ ๔๐๖ ๖.ผลิตภัณฑเคมี น้ํามันปโตรเลี่ยม ๑๘ ๒๕๙ ๗.ผลิตภัณฑจากแรอโลหะ ๒๐ ๔๒๖ ๘.การผลิตโลหะขั้นมูลฐาน ๒๙ ๓๐๑ ๙.ผลิตภัณฑจากโลหะ ๑๔๑ ๘๒๑ ๑๐.ผลิต ประกอบยานพาหนะ ๑๙๙ ๒,๒๔๙ ๑๑.อตุสาหกรรมการผลิตอื่นๆ ๒๐ ๗๐ ๑๒.สาธารณูปโภค ๑๔ ๓๔๗ ๑๓.การกอสราง ๓๔๙ ๓,๓๐๓ ๑๔.การขนสง การคมนาคม ๕๙๕ ๖,๑๙๗ ๑๕.การคา ๑,๔๕๑ ๑๖,๒๘๕ ๑๖.ประเภทกิจการอื่นๆ ๒,๗๐๖ ๓๖,๘๒๑

รวม ๕,๗๙๙ ๖๙,๒๐๕ ที่มา: สํานักงานประกันสังคมจังหวัดภูเก็ต

Page 47: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๓๙

แผนภูมิที่ ๒-๒๔ ๕ อันดับประเภทอุตสาหกรรมที่มีจํานวนผูประกันตนมากที่สุด ไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๕ จังหวัดภูเก็ต

๑.๒) จํานวนสถานพยาบาลหลักในสังกัดประกันสังคม

จังหวัดภูเก็ตมีจํานวนสถานพยาบาลหลักในสังกัดประกันสังคมจํานวน ๓ แหง แบงเปนสถานพยาบาลของรัฐบาล ๓ แหง (รอยละ ๗๕.๐๐ ของสถานพยาบาลหลักทั้งหมด) และสถานพยาบาลเอกชน ๑ แหง (รอยละ ๒๕.๐๐) (ตารางที่ ๒-๒๗)

สําหรับรายชื่อสถานพยาบาลในสังกัดประกันสังคมของรัฐ ไดแก โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต โรงพยาบาลปาตอง และโรงพยาบาล อบจ.ภูเก็ต สวนสถานพยาบาลของเอกชน ไดแก โรงพยาบาลมิชชั่นภูเก็ต

ตารางที่ ๒-๒๗ จํานวนสถานพยาบาลในสังกัดประกันสังคมจําแนกตามประเภทสถานพยาบาล ในจังหวัดภูเก็ต

ประเภทสถานพยาบาล แหง รัฐบาล ๓ เอกชน ๑ รวม ๔ ที่มา: สํานักงานประกันสังคมจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๒๕ เปรียบเทียบสัดสวนของสถานพยาบาลในสังกัดประกันสังคม จําแนกตามประเภทสถานพยาบาล ในจังหวัดภูเก็ต

Page 48: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๔๐

๒) กองทุนประกันสังคม

๒.๑) การใชบริการกองทุนประกันสังคม

ในไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ จํานวนผูประกันตนของจังหวัดภูเก็ตที่มาใชบริการกองทุนประกันสังคม (ไมเนื่องจากการทํางาน) จํานวน ๔,๔๓๕คน โดยประเภทประโยชนทดแทนที่ผูประกันตนมาใชบริการสูงสุด ไดแก วางงานจํานวน ๑,๕๖๗ คน (รอยละ ๓๕.๓๓) รองลงมาคือ สงเคราะหบุตร 0จํานวน ๑,๑๑๕คน (รอยละ ๒๕.๑๔) และกรณคีลอดบุตร จํานวน ๙๖๗คน (รอยละ ๒๑.๘๐) ตามลําดับ (ตารางที่ ๒-๒๘)

ตารางที่ ๒-๒๘ การใชบริการของกองทุนประกันสังคมจําแนกตามประเภทประโยชนทดแทน (ไมเนื่องจากการทํางาน) ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ ในจังหวัดภูเก็ต

ประเภทประโยชนทดแทน ราย ๑. เจ็บปวย ๔๔๑ ๒. คลอดบุตร ๙๖๗ ๓. ทุพพลภาพ ๕ ๔. ตาย ๔๔ ๕. สงเคราะหบตุร ๑,๑๑๕ ๖. ชราภาพ ๒๙๖ ๗. วางงาน ๑,๕๖๗

รวม ๔,๔๓๕ ที่มา: สํานักงานประกันสังคมจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที ่๒-๒๖ เปรียบเทียบจํานวนผูใชบริการของกองทุนประกันสังคมจําแนกตามประเภท ประโยชนทดแทน(ไมเนื่องจากการทํางาน) ในจังหวัดภูเก็ต

๓) กองทุนเงินทดแทน

๓.๑) การใชบริการกองทุนเงินทดแทน

ในไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๕ จังหวัดภูเก็ตมีผูใชบริการกองทุนเงินทดแทน (เนื่องจากการทํางาน) เปนจํานวนทั้งสิ้น ๑๓๖ คน โดยประเภทประโยชนความรายแรงที่ผูประกันตนมาใชบริการสูงสุด พบวา หยุดงานไมเกิน ๓ วัน จํานวน ๗๙ คน (รอยละ ๕๘.๐๘) รองลงมาคือ หยุดงานเกิน ๓ วัน จํานวน ๕๓ คน (รอยละ ๓๘.๙๗) ,สูญเสียอวัยวะบางสวน จํานวน ๒ คน (รอยละ ๑.๔๗) และตาย จํานวน ๒ คน (รอยละ ๑.๔๗) ตามลําดับ (ตารางที่ ๒-๒๙)

Page 49: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๔๑

ตารางที่ ๒-๒๙ การใชบริการกองทุนเงินทดแทน จําแนกตามประเภทความรายแรง (เนื่องจากการทํางาน) ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ ในจังหวัดภูเก็ต

ประเภทความรายแรง ผูใชบริการ (คน)

๑. ตาย ๒ ๒. ทุพพลภาพ ๐ ๓. สูญเสียอวัยวะบางสวน ๒ ๔. หยุดงานเกิน ๓ วัน ๕๓ ๕. หยุดงานไมเกิน ๓ วัน ๗๙

รวม ๑๓๖ ที่มา: สํานักงานประกันสังคมจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๒๗ เปรียบเทียบการใชบริการของกองทุนเงินทดแทน จําแนกตามประเภทความรายแรง (เนื่องจากการทํางาน) ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ ในจังหวัดภูเก็ต

๓.๒) การประสบอันตรายหรือเจ็บปวยเนื่องจากการทํางาน

ผูประกันตนจังหวัดภูเก็ตประสบอันตรายหรือเจ็บปวยจากการทํางาน (ในกองทุน) ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ จํานวน ๑๓๖ คน เมื่อพิจารณาการประสบอันตรายหรือเจ็บปวยตามขนาดของสถานประกอบการ พบวา สถานประกอบการที่มีการจางงาน ๒๐-๔๙ คน มีการประสบอันตรายหรือเจ็บปวยจากการทํางานมากที่สุด จํานวน ๒๗ คน (รอยละ ๑๙.๘๕ ของผูประกันตนที่ประสบอันตรายทั้งหมด) รองลงมาไดแก สถานประกอบการขนาด ๕ - ๙ คน จํานวน ๒๒ คน (รอยละ ๑๖.๑๗) และสถานประกอบการขนาด ๑๐๐ - ๑๙๙ คน จํานวน ๒๑ คน (รอยละ ๑๕.๔๔)

จากการพิจารณาตามการประสบอันตรายหรือเจ็บปวยตามความรายแรง พบวา สวนใหญเปนการประสบอันตรายที่ตองหยุดงานไมเกิน ๓ วัน จํานวน ๗๙ คน (คิดเปนรอยละ ๕๘.๐๘ ของผูประกันตน ที่ประสบอันตรายทั้งหมด) รองลงมา ไดแก การประสบอันตรายที่ตองหยุดงานเกิน ๓ วัน จํานวน ๕๓ คน (รอยละ ๓๘.๙๗) และสูญเสียอวัยวะบางสวน จํานวน ๒ คน (รอยละ ๑.๔๗ โดยมีผูประกัน จํานวน ๒ ราย ที่ประสบอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต (รอยละ ๑.๔๗) (ตารางที่ ๒-๓๐)

Page 50: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๔๒

ตารางที่ ๒-๓๐ การประสบอันตรายหรือเจ็บปวยเนื่องจากการทํางาน จําแนกตามความรายแรงและขนาดสถานประกอบกิจการ (ในกองทุน) ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ จังหวัดภูเก็ต

ขนาดสถานประกอบกิจการ ความรายแรง ตาย ทุพพลภาพ สูญเสียอวัยวะ

บางสวน หยุดงาน เกิน ๓ วัน

หยุดงาน ไมเกิน ๓ วัน

รวม

๑ - ๔ คน ๑ ๐ ๒ ๓ ๗ ๑๓ ๕ - ๙ คน ๐ ๐ ๐ ๑๑ ๑๑ ๒๒

๑๐ - ๑๙ คน ๐ ๐ ๐ ๖ ๓ ๙ ๒๐ - ๔๙ คน ๑ ๐ ๐ ๑๓ ๑๓ ๒๗ ๕๐ - ๙๙ คน ๐ ๐ ๐ ๕ ๗ ๑๒

๑๐๐ - ๑๙๙ คน ๐ ๐ ๐ ๗ ๑๔ ๒๑ ๒๐๐ - ๔๙๙ คน ๐ ๐ ๐ ๔ ๑๐ ๑๔ ๕๐๐ - ๙๙๙ คน ๐ ๐ ๐ ๓ ๖ ๙ ๑,๐๐๐ คนขึ้นไป ๐ ๐ ๐ ๑ ๘ ๙

รวม ๒ ๐ ๒ ๕๓ ๗๙ ๑๓๖ ที่มา: สํานักงานประกันสังคมจังหวัดภูเก็ต

แผนภาพที่ ๒-๒๘ เปรียบเทียบจํานวนผูประสบอันตรายหรือเจ็บปวยเนื่องจากการทํางานจําแนกตามขนาดสถานประกอบกิจการ ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ จังหวัดภูเก็ต

๓.๓) จํานวนสถานประกอบการและลูกจางที่อยูในขายกองทุนเงินทดแทน

ในไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ สถานประกอบการที่อยูในขายกองทุนเงินทดแทนจังหวัดภูเก็ต จํานวน ๙,๑๕๓แหง ลูกจาง ๑๒๕,๖๒๓ คน พิจารณาตามสถานประกอบการ พบวา สถานประกอบการที่มีลูกจาง ๑-๙ คนมากที่สุด จํานวน ๗,๑๓๔แหง ลูกจาง ๒๔,๓๖๕คน รองลงมาคือสถานประกอบการที่มีลูกจาง ๑๐-๑๙ คน จํานวน ๑,๐๒๓ แหง ลูกจาง๑๓,๖๓๑ คน และสถานประกอบการที่มีลูกจาง ๒๐-๔๙ คน จํานวน ๕๕๗ คน ลูกจาง ๑๖,๗๙๓คน ตามลําดับ (ตารางที่ ๒-๓๑)

Page 51: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๔๓

ตารางที่ ๒-๓๑ จํานวนสถานประกอบการและลูกจางที่อยูในขายกองทุนเงินทดแทนจังหวัดภูเก็ต จําแนกตามขนาดสถานประกอบการ ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๖)

ขนาดสถานประกอบการ จํานวน สถานประกอบการ (แหง) ลูกจาง (คน)

๑-๙ คน ๗,๑๓๔ ๒๔,๓๖๕ ๑๐-๑๙ คน ๑,๐๒๓ ๑๓,๖๓๑ ๒๐-๔๙ คน ๕๕๗ ๑๖,๗๙๓ ๕๐-๙๙ คน ๒๐๖ ๑๔,๓๘๑

๑๐๐-๑๙๙ คน ๑๓๕ ๑๘,๙๙๒ ๒๐๐-๔๙๙ คน ๘๐ ๒๒,๘๒๙ ๕๐๐-๙๙๙ คน ๑๖ ๑๐,๗๖๗

๑,๐๐๐ คนขึ้นไป ๒ ๓,๘๖๕ รวม ๙,๑๕๓ ๑๒๕,๖๒๓

ที่มา: สํานักงานประกันสังคมจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๒๙ เปรียบเทียบจํานวนสถานประกอบการและลูกจางที่อยูในขายกองทุนเงินทดแทน จําแนกตามขนาดสถานประกอบการ ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ จังหวัดภูเก็ต

Page 52: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๔๔

๔) การเลิกกิจการและเลิกจางงาน

๔.๑) สถานประกอบการที่เลิกกิจการ/หยุดกิจการชั่วคราว

ในไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ จังหวัดภูเก็ต มีสถานประกอบการที่เลิกกิจการ/หยุดกิจการชั่วคราว ในจังหวัดภูเก็ตจํานวนทั้งสิ้น ๒๑๒ แหง ลูกจางในสถานประกอบการ จํานวน ๕๔๐ คน เปนสถานประกอบการขนาด ๑-๙ คน จํานวน ๒๐๙ แหง ลูกจาง จํานวน ๕๐๔ คน และสถานประกอบการขนาด ๑๐ คนขึ้นไป จํานวน ๓ แหง มีลูกจาง จํานวน ๓๖ คน (ตารางที่ ๒-๓๒)

ตารางที่ ๒-๓๒ จํานวนสถานประกอบการที่เลิกกิจการหรือหยุดกิจการชั่วคราว ในจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖

ขนาดสถานประกอบการ จํานวน สถานประกอบการที่เลกิกิจการ /

หยุดกิจการชั่วคราว (แหง) จํานวนลูกจาง (คน)

๑-๙ คน ๒๐๙ ๕๐๔ ๑๐ คนขึ้นไป ๓ ๓๖

รวม ๒๑๒ ๕๔๐ ที่มา : สํานักงานประกันสงัคมจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๓๐ เปรียบเทียบจํานวนสถานประกอบการที่เลิกกิจการ/หยุดกิจการชั่วคราว

และลูกจางที่ถูกเลิกจาง จําแนกตามขนาดสถานประกอบการ ในจังหวัดภูเก็ต

๔.๒) ผูประกันตนที่มาขึ้นทะเบียนขอรับประโยชนทดแทนที่สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ต

ในไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม) มีผูประกันตนที่มาขึ้นทะเบียนขอรับประโยชนทดแทน โดยมาขึ้นทะเบียนผูวางงานที่สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ต จํานวน ๑,๕๔๗คน จําแนกเปน ผูถูกเลิกจาง จํานวน ๑๖๘ คน (รอยละ ๑๐.๘๕ ของผูประกันตนที่มาขึ้นทะเบียนขอรับประโยชนทดแทน) และสมัครใจลาออก จํานวน ๑,๓๗๙ คน (รอยละ ๘๙.๑๔) (ตารางที่ ๒-๓๓)

Page 53: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๔๕

ตารางที่ ๒-๓๓ เปรียบเทียบจํานวนผูขึ้นทะเบียนขอรับประโยชนทดแทน ที่สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖

ขอมูล ผูขึ้นทะเบียนขอรับประโยชนทดแทน

เลิกจาง (คน) ลาออก (คน) รวม (คน)

ม.ค.-๕๖ ๔๒ ๔๘๔ ๕๒๖ ก.พ.-๕๖ ๖๔ ๔๑๙ ๔๘๓ มี.ค.-๕๖ ๖๒ ๔๗๖ ๕๓๘ รวม ๑๖๘ ๑,๓๗๙ ๑,๕๔๗

ที่มา: สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๒-๓๑ จํานวนผูขึ้นทะเบียนขอรับประโยชนทดแทน ที่สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

Page 54: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๔๖

ตัวชี้วัดดานแรงงานเปนดัชนีที่แสดงถึงสถานการณดานแรงงานในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง การติดตามการเปลี่ยนแปลงของตัวชี้วัดดานแรงงานจะทําใหทราบถึงความเคลื่อนไหวของสถานการณเพื่อใชเปนเครื่องมือในการศึกษา วิเคราะหถึงสาเหตุ และปญหา รวมถึงปจจัยตางๆ ที่มีผลใหดัชนีเปลี่ยนแปลงไป สถานการณแรงงานไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม-มีนาคม) ฉบับนี้จึงขอนําเสนอตัวชี้วัดภาวะแรงงานตามลําดับ ดังนี้ ๓.๑) อัตราการมีสวนรวมในกําลังแรงงาน

อัตราการมีสวนรวมในกําลังแรงงานเปนตัวชี้วัดที่แสดงใหเห็นถึงสภาพกําลังแรงงานในตลาดแรงงานของจังหวัดภูเก็ต เมื่อเทียบกับประชากรวัยแรงงานทั้งหมด โดยคํานวณจากกําลังแรงงานซึ่งประกอบดวย ๓ กลุม คือ กลุมผูมีงาน ผูวางงาน และผูรอฤดูกาล เปรียบเทียบกับประชากรที่มีอายุ ๑๕ ปขึ้นไป โดยใชขอมูลจากการประมวลผลลาสุดของสํานักงานสถิติจังหวัดภูเก็ต ณ ไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๕ (ตุลาคม -ธันวาคม) มานําเสนอในการวิเคราะหครั้งนี้ ซึ่งพบวาในไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๕ อัตราการมีสวนรวมในกําลังแรงงานมีอัตรารอยละ ๗๓.๓๓ ซึ่งมีสัดสวนเพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่แลวรอยละ ๒.๘๐ และเมื่อเปรียบเทียบไตรมาสเดียวกันของ ปที่ผานมา พบวามีสัดสวนเพิ่มขึ้นรอยละ ๐.๐๔ (ตารางที่ ๓-๑)

ตารางที่ ๓-๑ อัตราการมีสวนรวมในกําลังแรงงานจังหวัดภูเก็ต

๔/๒๕๕๔ ๑/๒๕๕๕ ๒/๒๕๕๕ ๓/๒๕๕๕ ๔/๒๕๕๕ กําลังแรงงานในจังหวัด ๑๖๘,๔๖๔ ๑๖๕,๒๗๓ ๑๖๘,๘๕๙ ๑๖๓,๖๓๙ ๑๗๐,๖๔๕ ประชากรที่มีอายุ ๑๕ ปขึ้นไปในจังหวัด ๒๒๙,๘๕๙ ๒๓๐,๕๕๘ ๒๓๑,๒๘๗ ๒๓๒,๐๑๔ ๒๓๒,๗๑๕ อัตราการมีสวนรวมในกําลังแรงงานจังหวัด ๗๓.๒๙ ๗๑.๖๘ ๗๓.๐๑ ๗๐.๕๓ ๗๓.๓๓

ที่มา: สํานักงานสถิติจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๓-๑ อัตราการมีสวนรวมในกําลังแรงงานจังหวัดภูเก็ต

หมายเหตุ: อัตราการมีสวนรวมในกําลังแรงงานในจังหวัด = กําลังแรงงานในจังหวัด ๑๐๐ ประชากรที่มีอายุ ๑๕ ปขึ้นไปในจังหวัด

๓. ตัวชี้วัดภาวะแรงงาน

Page 55: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๔๗

๓.๒) อัตราการจางงาน อัตราการจางงานตอกําลังแรงงานเปนตัวชี้วัดที่แสดงใหเห็นภาวการณจางงานในตลาดแรงงานวามี

สัดสวนมากนอยเพียงใด ซึ่งใชขอมูล ณ ไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๕ (ตุลาคม – ธันวาคม) สําหรับอัตราการจางงานในภาคเกษตรของจังหวัดภูเก็ต พบวา อัตราการจางงานในภาคเกษตรมีอัตรารอยละ ๔.๗๘ ซึ่งมีสัดสวนเพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่แลวรอยละ ๐.๓๙ และเมื่อเปรียบเทียบไตรมาสเดียวกันของปที่ผานมา พบวา มีสัดสวนเพิ่มขึ้นรอยละ ๑.๐๖

สวนอัตราการจางงานนอกภาคเกษตร พบวา มีอัตราการจางงานรอยละ ๙๒.๔๒ ซึ่งมีสัดสวนลดลงจากไตรมาสที่แลวรอยละ ๓.๑๙ และเมื่อเปรียบเทียบไตรมาสเดียวกันของปที่ผานมา พบวา มีสัดสวนลดลง รอยละ ๓.๘๖ (ตารางที่ ๓-๒)

ตารางที ่๓-๒ อัตราการจางงานใน/นอกภาคเกษตรจังหวัดภูเก็ต

๔/๒๕๕๔ ๑/๒๕๕๕ ๒/๒๕๕๕ ๓/๒๕๕๕ ๔/๒๕๕๕

จํานวนผูทํางานในภาคเกษตรของจังหวัด ๖,๒๔๗ ๗,๑๓๙ ๑๐,๐๐๕ ๗,๑๔๑ ๘,๐๙๕

จํานวนผูทํางานนอกภาคเกษตรของจังหวัด ๑๖๑,๘๖๑ ๑๕๗,๐๔๔ ๑๕๖,๘๘๐ ๑๕๕,๖๕๕ ๑๕๖,๕๒๕

จํานวนผูมีงานทําในจังหวัด ๑๖๘,๑๐๘ ๑๖๔,๑๘๓ ๑๖๖,๘๘๕ ๑๖๒,๗๙๖ ๑๖๙,๓๕๔

อัตราการจางงานในภาคเกษตรของจังหวัด ๓.๗๒ ๔.๓๕ ๖.๐๐ ๔.๓๙ ๔.๗๘

อัตราการจางงานนอกภาคเกษตรของจังหวัด ๙๖.๒๘ ๙๕.๖๕ ๙๔.๐๐ ๙๕.๖๑ ๙๒.๔๒ ที่มา: สํานักงานสถิตจิังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๓-๒ อัตราการจางงานใน/นอกภาคเกษตร จังหวัดภูเก็ต

หมายเหตุ: อัตราการจางงานใน/นอกเกษตรในจังหวัด = ผูมีงานทําใน/นอกภาคเกษตรในจังหวัด ๑๐๐ ผูมีงานทําในจังหวดั

Page 56: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๔๘

๓.๓) อัตราการบรรจุงาน อัตราการบรรจุงานในแตละไตรมาส เปนตัวชี้วัดที่แสดงใหเห็นถึงการเคลื่อนไหวของภาวะดาน

แรงงาน ซึ่งสามารถศึกษาวิเคราะหกับจํานวนตําแหนงงานวาง และจํานวนผูสมัครงาน โดยเมื่อวิเคราะหจํานวนการบรรจุงานที่สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ตดําเนินการเทียบกับจํานวนตําแหนงงานวางที่แจงผานสํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ จะพบวา อัตราการบรรจุงานตอผูสมัครงานในไตรมาสนี้มีอัตรารอยละ ๑๘๗.๗๙ พบวามีสัดสวนเพิ่มขึ้นรอยละ ๙๗.๗๘ จากไตรมาสที่แลว และเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปที่ผานมา พบวามีสัดสวนเพิ่มขึ้นรอยละ ๗๕.๙๕

เมื่อศึกษาสัดสวนของอัตราการบรรจุงานตอตําแหนงงานวางไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ จะพบวา อัตรา การบรรจุงานตอตําแหนงงานวางในไตรมาสนี้มีอัตรารอยละ ๙๕.๘๖ มีสัดสวนลดลงรอยละ ๒๔.๑๑ จากไตรมาสที่แลว และเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปที่ผานมา พบวา มีสัดสวนลดลงรอยละ ๐.๓๗(ตารางที่ ๓-๓)

ตารางที่ ๓-๓ อัตราการบรรจุงานตอผูสมัครงาน/ตําแหนงงานวางในจังหวัดภูเก็ต

๑/๒๕๕๕ ๒/๒๕๕๕ ๓/๒๕๕๕ ๔/๒๕๕๕ ๑/๒๕๕๖

จํานวนผูไดรับการบรรจุงาน ๑,๑๒๔ ๑,๐๘๕ ๒,๓๗๑ ๘๘๓ ๑,๘๓๑

ผูสมัครงานในจังหวัด ๑,๐๐๕ ๑,๙๐๑ ๑,๔๐๔ ๙๘๑ ๙๗๕

จํานวนตําแหนงงานวาง ๑,๑๖๘ ๕๙๓ ๒,๓๑๑ ๗๓๖ ๑,๙๑๐

อัตราการบรรจุงานตอผูสมัครงานจังหวัด ๑๑๑.๘๔ ๕๗.๐๘ ๑๖๘.๘๗ ๙๐.๐๑ ๑๘๗.๗๙

อัตราการบรรจุงานตอตําแหนงงานวางจังหวัด ๙๖.๒๓ ๑๘๒.๙๗ ๑๐๒.๖๐ ๑๑๙.๙๗ ๙๕.๘๖ ที่มา: สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๓-๓ อัตราการบรรจุงานตอผูสมัครงาน/ตําแหนงงานวาง จังหวัดภูเก็ต

หมายเหตุ: อัตราการบรรจุงานตอผูสมัครงานจังหวัด = จํานวนผูไดรับการบรรจุงานในจังหวัด ๑๐๐ ผูสมัครงานในจังหวัด อัตราการบรรจุงานตอตําแหนงงานวางจังหวัด = จํานวนผูไดรับการบรรจุงานในจังหวัด ๑๐๐ ตําแหนงงานวางในจังหวัด

Page 57: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๔๙

๓.๔) อัตราการวางงาน

การศึกษาอัตราการวางงานในปที่ผานมา จะพบวา อัตราการวางงานของจังหวัดภูเก็ต แตละไตรมาสจะปรับตัวสูงขึ้นและลดลงตามปจจัยในเรื่องฤดูกาลและการเขาสูตลาดแรงงานของผูสําเร็จ ซึ่งใชขอมูลสถิติจังหวัดภูเก็ตในไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๕ อัตราการวางงานในจังหวัดภูเก็ตมีอัตรารอยละ ๐.๗๖ มีสัดสวนเพิ่มขึ้น จากไตรมาสที่แลว รอยละ ๐.๒๔ และเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปที่ผานมา พบวา มีสัดสวนเพิ่มขึ้น รอยละ ๐.๕๕ (ตารางที่ ๓-๔)

ตารางที่ ๓-๔ อัตราการวางงานจังหวัดภูเก็ต

๔/๒๕๕๔ ๑/๒๕๕๕ ๒/๒๕๕๕ ๓/๒๕๕๕ ๔/๒๕๕๕

จํานวนผูไมมีงานทําในจังหวัด ๓๕๖ ๑,๐๙๐ ๑,๙๗๕ ๘๔๓ ๑,๒๙๑

กําลังแรงงานในจังหวัด ๑๖๘,๔๖๔ ๑๖๕,๒๗๓ ๑๖๘,๘๕๙ ๑๖๓,๖๓๙ ๑๗๐,๖๔๕

อัตราการวางงานในจังหวัด ๐.๒๑ ๐.๖๖ ๑.๑๗ ๐.๕๒ ๐.๗๖ ที่มา: สํานักงานสถิติจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๓-๔ อัตราการวางงานจังหวัดภูเก็ต

หมายเหตุ: อัตราการวางงานในจังหวัด = จํานวนผูไมมีงานทําในจังหวัด ๑๐๐ กําลังแรงงานในจังหวัด

Page 58: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๕๐

๓.๕) อัตราการไมปฎิบัติตามขอกฎหมายของสถานประกอบกิจการ อัตราการไมปฎิบัติตามขอกฎหมายคุมครองแรงงานของสถานประกอบกิจการตอจํานวนสถาน

ประกอบกิจการที่ตรวจทั้งหมดในไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ พบวา มีอัตรารอยละ ๐.๐๐ สวนอัตราการไมปฎิบัติกฎหมายความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน พบวาไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ พบวา มีรอยละ ๐.๐๐ ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปที่ผานมารอยละ ๑.๕๙

ตารางที่ ๓-๕ อัตราการไมปฎิบัติตามขอกฎหมายคุมครองแรงงาน/กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานในจังหวัดภูเก็ต

๑/๒๕๕๕ ๒/๒๕๕๕ ๓/๒๕๕๕ ๔/๒๕๕๕ ๑/๒๕๕๖ จํานวนสถานประกอบกิจการที่ทาํผิดกฎหมาย คุมครองแรงงาน ๐ ๑๐ ๐ ๐ ๐ จํานวนสถานประกอบกิจการที่ผานการตรวจกฎหมายคุมครองแรงงาน ๑๕๑ ๒๔๘ ๑๕๖ ๑๔๑ ๑๕๔ จํานวนสถานประกอบกิจการที่ทําผิดกฎหมายความปลอดภัย อาชวีอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ๑ ๐ ๐ ๒ ๐ จํานวนสถานประกอบกิจการที่ผานตรวจกฎหมาย ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอม ในการทํางาน ๖๓ ๕๗ ๔๘ ๓๒ ๔๙ อัตราการไมปฎิบัติตามกฎหมายคุมครองแรงงาน ของสถานประกอบกิจการ

๐.๐๐ ๔.๐๓ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐

อัตราการไมปฎิบัติตามกฎหมาย ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ของสถานประกอบกิจการ

๑.๕๙ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๖.๒๕ ๐.๐๐

ที่มา: สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดภูเก็ต

แผนภูมิที่ ๓-๕ อัตราการไมปฎิบัติตามขอกฎหมายของสถานประกอบกิจการจังหวัดภูเก็ต

หมายเหตุ : อัตราการไมปฏิบัติตามขอกฎหมายคุมครองแรงงานของสถานประกอบการจังหวดั =

จํานวนสถานประกอบการที่ทําผดิกฎหมายคุมครองแรงงานจังหวัด x ๑๐๐ จํานวนสถานประกอบการที่ผานการตรวจกฎหมายคุมครองแรงงานจังหวัด

อัตราการไมปฏิบัติตามขอกฎหมายความปลอดภัยของสถานประกอบการจังหวัด- =

จํานวนสถานประกอบการที่ทําผดิกฎหมายความปลอดภัยในจังหวัด x ๑๐๐ จํานวนสถานประกอบการที่ผานการตรวจกฎหมายความปลอดภัยจังหวัด

Page 59: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๕๑

๓.๖) อัตราสถานประกอบการที่เขาสูระบบประกันสังคม

ในสวนอัตราสถานประกอบการที่ เขาสูระบบประกันสังคม โดยการศึกษาจากจํานวนสถานประกอบการในระบบประกันสังคมของจังหวัดภูเก็ตเปรียบเทียบกับจํานวนสถานประกอบการทั้งหมดของจังหวัดภูเก็ต พบวา สัดสวนของสถานประกอบการที่เขาสูระบบประกันสังคมมีการเปลี่ยนแปลงจากไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๕ - ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ ดังนี้ ๙๘.๐๖, ๙๓.๐๗, ๙๘.๑๒, ๙๘.๐๙ และ ๙๘.๐๙ ตามลําดับ

ตารางที่ ๓-๖ อัตราสถานประกอบการที่เขาสูระบบประกันสังคมในจังหวัดภูเก็ต

๑/๒๕๕๕ ๒/๒๕๕๕ ๓/๒๕๕๕ ๔/๒๕๕๕ ๑/๒๕๕๖

จํานวนสถานประกอบการที่อยูในระบบประกันสังคมจังหวัด ๘,๘๑๑ ๘,๘๒๓ ๘,๘๗๐ ๘,๙๓๔ ๙,๑๓๖

จํานวนสถานประกอบกิจการทั้งหมดในจังหวัด ๘,๙๘๕ ๘,๙๙๒ ๙,๐๔๓ ๙,๑๐๘ ๙,๘๑๖

รอยละของสถานประกอบกิจการที่เขาสูระบบประกันสังคมในจังหวัด

๙๘.๐๖ ๙๘.๑๒ ๙๘.๐๙ ๙๘.๐๙ ๙๓.๐๗

แผนภูมิที่ ๓-๖ อัตราสถานประกอบการที่เขาสูระบบประกันสังคมในจังหวัดภูเก็ต

Page 60: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๕๒

ประกาศคณะกรรมการคาจาง เรื่องอัตราคาจางขั้นต่ํา (ฉบับที่ ๗)

ดวยคณะกรรมการคาจางไดมีการประชุมศึกษาและพิจารณาขอเท็จจริงเกี่ยวกับอัตราคาจาง ที่ลูกจางไดรับอยู ประกอบกับขอเท็จจริงอื่นตามที่กฎหมายกําหนด เมื่อวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๔ และ มีมติเห็นชอบใหกําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําเพ่ือใชบงัคับแกนายจางและลูกจางทุกคน

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๗๙ (๓) และมาตรา ๘๘ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.๒๕๔๑ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่๓) พ.ศ.๒๕๕๑ คณะกรรมการคาจางจึงออกประกาศไว ดังตอไปนี้

ขอ ๑ ใหยกเลิกขอ ๓ ขอ ๔ ขอ ๕ ขอ ๖ ขอ ๗ ขอ ๘ ขอ ๙ ขอ ๑๐ ขอ ๑๑ ขอ ๑๒ ขอ ๑๓ ขอ ๑๔ ขอ ๑๕ ขอ ๑๖ ขอ ๑๗ ขอ ๑๘ ขอ ๑๙ ขอ ๒๐ ขอ ๒๑ ขอ ๒๒ขอ ๒๓ ขอ ๒๔ ขอ ๒๕ ขอ ๒๖ ขอ ๒๗ ขอ ๒๘ ขอ ๒๙ ขอ ๓๐ ขอ ๓๑ ขอ ๓๒ ของประกาศคณะกรรมการคาจาง เรื่อง อัตราคาจางขั้นต่ํา (ฉบับที่ ๖) ลงวันที่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๔

ขอ ๒ ใหกําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําเปนเงินวันละสามรอยบาท ในทองที่จังหวัดกระบี่ กาญจนบุรี กาฬสินธุ กําแพงเพชร ขอนแกน จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชัยนาท ชัยภูมิ ชุมพร เชียงราย เชียงใหม ตรัง ตราด ตาก นครนายก นครพนม นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นครสรรค นราธิวาส พิษณุโลก เพชรบุรี เพชรบูรณ แพร พะเยา มหาสารคาม มุกดาหาร แมฮองสอน ยะลา ยโสธร รอยเอ็ด ระนอง ระยอง ราชบุรี ลพบุรี ลําปาง ลําพูน เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สงขลา สตูล สมุทรสงคราม สระแกว สระบุรี สิงหบุรี สุโขทัย สุพรรณบุรี สุราษฏรธานี สุรินทร หนองคาย หนองบัวลําภู อางทอง อุดรธานี อุทัยธานี อุตรดิตถ อุบลราชธานี และอํานาจเจริญ

ขอ ๓ ประกาศคณะกรรมการคาจางฉบับนี้ ใหมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๖ เปนตนไป

ตารางแสดงอัตราคาจางขั้นต่ําใหม ซึ่งไดประกาศใหมีผลใชบังคับ ตั้งแตวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๖

คาจางขั้นต่ํา พื้นที่

๓๐๐ กรุงเทพมหานคร จังหวัดกระบี่ กาญจนบุรี กาฬสินธุ กําแพงเพชร ขอนแกน จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชัยนาท ชัยภูมิ ชุมพร เชียงราย เชียงใหม ตรัง ตราด ตาก นครนายก นครปฐม นครพนม นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นครสวรรค นนทบุรี นราธิวาส นาน บึงกาฬ บุรีรัมย ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ ปราจีนบุรี ปตตานี พระนครศรีอยุธยา พังงา พัทลุง พิจิตร พิษณุโลก เพชรบุรี เพชรบูรณ แพร พะเยา ภูเก็ต มหาสารคาม มุกดาหาร แมฮองสอน ยะลา ยโสธร รอยเอ็ด ระนอง ระยอง ราชบุรี ลพบุรี ลําปาง ลําพูน เลย ศรีษะเกษ สกลนคร สงขลา สตูล สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระแกว สระบุรี สิงหบุรี สุโขทัย สุพรรณบุรี สุราษฎรธานี สุรินทร หนองคาย หนองบัวลําภู อางทอง อุดรธานี อุทัยธานี อุตรดิตถ อุบลราชธานี และอํานาจเจริญ

ภาคผนวก

Page 61: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๕๓

การปรับอัตราคาจางขั้นต่ําเปนวันละ ๓๐๐ บาท เท ากันทุกจังหวัด โดยมีผลบังคับใชตั้งแตวันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๖ รัฐบาลไดhออกมาตรการเพื่อบรรเทาผลกระทบจากการปรับค าจางขั้นต่ําดังกลาวใหแก นายจาง/สถานประกอบการ รวม ๕ มาตรการ ดังนี้

๑) มาตรการเพื่อเสริมสภาพคล๔อง เพิ่มวงเงิน ลดต๕นทุนทางการเงิน ประกอบดวย

๑.๑) มาตรการสินเชื่อเพื่อสงเสริมการจางงาน เพื่อเปUนทุนหมุนเวียนในกิจการเสริมสรางสภาพคลอง

- สํานักงานประกันสังคมสนับสนุนวงเงินสินเชื่อ ๑๐,๐๐๐ ลานบาทผาน ๕ ธนาคาร ตั้งแตวันที ่๑ มกราคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ ดังนี ้

- ลูกจางไมเกิน ๕๐ คน วงเงินกูไมเกิน ๒ ลานบาท - ลูกจาง ๕๑ – ๒๐๐ คน วงเงินกูไมเกิน ๔ ลานบาท - ลูจางเกินกวา ๒๐๐ คนขึ้นไป วงเงินกูไมเกิน ๘ ลานบาท

๑.๒) มาตรการสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan)กระทรวงการคลังไดขยายระยะเวลาการใหสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิตออกไปจนถึงวันที ่๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ วงเงิน ๒๐,๐๐๐ ลานบาท เพื่อชวยเหลือ SMEs ในภาคการผลิตเพื่อพัฒนาเครื่องจักรนําไป ลงทุนหรือพัฒนากิจการดานตางๆ

๑.๓) มาตรการการค้ําประกันสินเชื่อ ในลักษณะ Portfolio Guarantee Scheme ระยะที่ ๕กระทรวงการคลังจัดทําโครงการค้ําประกันสินเชื่อลักษณะ PGS ระยะที่ ๕ เพื่อชวยเหลือ SMEs ที่ตองการสินเชื่อแตขาดหลักประกันใหมีโอกาสเขาถึงสินเชื่อจากสถาบันการเงิน ระยะเวลาโครงการ ๓ ป (ป ๒๕๕๖- ๒๕๕๘) วงเงินค้ําประกันรวม ๒๔๐,๐๐๐ ลานบาท ระยะเวลาค้ําประกัน ๗ ป

๑.๔) มาตรการการค้ําประกันสินเชื่อในลักษณะ Portfolio Guarantee Scheme สําหรับผูประกอบการใหม (PGS New / Start-up) กระทรวงการคลังพิจารณาขยายการค้ําประกันสินเชื่อสําหรับผูประกอบการใหม ไปถึงป. ๒๕๕๘ สําหรับเกณฑระยะเวลาการดําเนินงานของผูประกอบการใหมปรับจาก ไมเกิน ๒ ปเปนไมเกิน ๓ ป

Page 62: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๕๔

๒) มาตรการลดตนทุนผูประกอบการ โดยผานกระบวนการทางภาษีและเงินสมทบ ประกอบดวย

๒.๑) มาตรการการลดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม สํานักงานประกันสังคมไดขยายระยะเวลาการลดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคมใน ป ๒๕๕๖ โดยลดอัตราเงินสมทบนายจาง-ลูกจางฝายละ รอยละ ๑ คงเหลือฝายละรอยละ ๔

๒.๒) มาตรการการลดภาษีเงินไดนิติบุคคล - ในป ๒๕๕๖ กระทรวงการคลังลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลเหลือรอยละ ๒๐ - กระทรวงการคลังปรับชวงกําไรสุทธิในการยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลแกผูประกอบการ SMEs

โดยยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิ ๓๐๐,๐๐๐ บาท แรกจากเดิม ๑๕๐,๐๐๐ บาทแรก

๒.๓) มาตรการการนําสวนตางของคาจางที่จายเพิ่มขึ้นจากอัตราคาจางขั้นต่ํา ใน ป ๒๕๕๕เปนอัตรา คาจางขั้นต่ําวันละ ๓๐๐ บาท มาหักเปนคาใชจายกอนชําระภาษี ในป ๒๕๕๖ กระทรวงการคลังใหคงการนําคาใชจานในการปรับเพิ่มคาจางมาหักคาใชจายได ๑.๕ เทาของสวนตางคาจาง

๒.๔) มาตรการการนําค าใช_จ ายในการฝlกอบรมพัฒนาฝ.มือแรงงานตามพระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕ มาหักลดหยอนภาษีกระทรวงการคลังใหนําคาใชจายในการฝกอบรมพัฒนาฝมือแรงงานมาลดหยอนภาษีได ๒ เทา

๒.๕) มาตรการการยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลกรณีการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรกระทรวงการคลังไดขยายระยะเวลาการยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลจากการขายเครื่องจักรเกาเพื่อซื้อเครื่องจักรใหมออกไปอีก ๑ ป ในป ๒๕๕๖

๒.๖) มาตรการการหักคาเสื่อมราคาเครื่องจักรกระทรวงการคลังขยายระยะเวลาการหักคาเสื่อมราคาเครื่องจักรรอยละ ๑๐๐ ในปแรกออกไปอีก ๑ ปในป ๒๕๕๖ จากเดิมใหทยอยหักคาเสื่อมภายใน ๕ ป

๒.๗) มาตรการการลดค าธรรมเนียมห_องพักที่เรียกเก็บสําหรับโรงแรม/ที่พักแรมกระทรวงมหาดไทยออกกฎกระทรวง เพื่อลดอัตราคาธรรมเนียมการประกอบธุรกิจโรงแรมรายปลงรอยละ ๕๐ จากที่เก็บหองละ ๘๐ บาทตอปลดเหลือหองละ ๔๐ บาทตอเปนระยะเวลา ๓ ป

๓) มาตรการเพิ่มผลิตภาพแรงงานใหผูประกอบการ ประกอบดวย

๓.๑) มาตรการการใหกูยืมเงินกองทุนพัฒนาฝ.มือแรงงานในอัตราดอกเบี้ยรอยละ ๐.๑ ในป ๒๕๕๖ กรมพัฒนาฝมือแรงงานไดขยายเวลาในการลดอัตราดอกเบี้ยเหลือเปนรอยละ ๐.๑

๓.๒) มาตรการการจัดคลินิกพัฒนาฝ.มือแรงงานเคลื่อนที่ไปยังสถานประกอบการตางๆ กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ดําเนินการจัดทําหลักสูตรตามความตองการและเคลื่อนที่ไปยังสถานประกอบการ SMEs

๔) มาตรการเพิ่มรายไดใหผูประกอบการโดยการทบทวนคาใชจายของภาครัฐใหเหมาะสม ไดแก

กระทรวงการคลังพิจารณาปรับเพิ่มอัตราคาใชจายในการจัดประชุมสัมมนาของสวนราชการใหเหมาะสมกับสถานการปจจุบัน

๕) มาตรการกระตุนและสงเสริมการขายโดยผานการบริโภค ไดแก

กระทรวงพาณิชยดําเนินการโครงการสินคาธงฟาและรานถูกใจใหครอบคลุมและทั่วถึงยิ่งขึ้น จึงขอประชาสัมพันธใหนายจาง/สถานประกอบการไดรับทราบเพื่อขอรับการสนับสนุนตามมาตรการขางตนตอไป

Page 63: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๕๕

การตรวจราชการของสวนราชการในสังกัดกระทรวงแรงงานจังหวัดภูเก็ต รอบ 1 ประจําปงบประมาณ 2556

เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2556 ผูตรวจราชการกระทรวงแรงงาน (นางสาวพรรณี ศรียุทธศักดิ์) และคณะ เดินทางมาตรวจราชการ ณ จังหวัดภูเก็ตและประชุมหัวหนาสวนราชการสงักัดกระทรวงแรงงานจังหวัดภูเก็ต พรอมทั้งตรวจติดตามเพื่อสอบทานความเสี่ยง รอบที่ 1 (ProjectReview) ของโครงการ / กิจกรรม ตามแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ณ หองประชุมสํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดภูเก็ต

Page 64: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๕๖

ประชุมแกนนําอาสาสมัครแรงงาน จงัหวดัภูเก็ต

เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2556 เวลา 13.30 น. นายสุทธิพงศ สายสาคเรศ แรงงานจังหวัดภูเก็ต เปนประธานการประชุมแกนนําอาสาสมัครแรงงาน ณ หองประชุมสํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดภูเก็ต เพื่อชี้แจงใหความรู สรางความเขาใจที่ถูกตองแกอาสาสมัครแรงงานประจําตําบล เพื่อนําวามรูไปประชาสัมพันธแกนายจางและแรงงานตางดาวที่ยังไมไดเขาสูกระบวนการยื่นขอรับใบอนุญาตทํางาน การตออายุใบอนุญาตทํางาน และการดําเนินการตามขั้นตอนการพิสูจนสัญชาติแลวเสร็จตามระยะเวลาที่กรมการจัดหางานกําหนด รวมทั้งแจงใหแกนนําอาสาสมัครแรงงาน สํารวจขอมูลดานแรงงานในพื้นที่ดวย

Page 65: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๕๗

แรงงานภูเก็ต จัดอบรมใหความรูและสงเสริมการจัดตั้ง TO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบการ

เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2556 เวลา 08.30 น. ทานรองผูวาราชการจังหวัดภูเก็ต (นางสมหมาย ปรีชาศิลป) เปนประธานพิธีเปดการอบรมใหความรูและสงเสริมการจัดตั้ง "ชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบการ" ณ หองยูงทองโรงแรมภูเก็ตเมอรลิน อ. เมือง จ. ภูเก็ต และมีนายสุทธิพงศ สายสาคเรศ แรงงานจังหวัดภูเก็ต เปนผูกลาวรายงาน

การอบรมใหความรูสงเสริมการจัดตั้ง ชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบการ เปนกิจกรรมหนึ่งซึ่งจัดขึ้นตามแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดจังหวัด ประจําปงบประมาณ 2556 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหสถานประกอบการในจังหวัดภูเก็ตมีความเขมแข็งในการปองกันปญหายาเสพติด มีกลุมเปาหมายเปนตัวแทนจากสถานประกอบการในจังหวัดภูเก็ต จํานวน 50 แหง จัดอบรมใหความรูเปนระยะเวลา 1วันทั้งนี้ไดรับความรวมมือจากสถานประกอบการในจังหวัเขารวมอบรมอยางคับคั่ง

Page 66: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๕๘

๑. สํานักงานแรงงานจังหวัดภูเก็ต ศาลากลางจังหวัดภูเก็ต ชั้น ๑ ถนนนริศร

ตําบลตลาดใหญ อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ๘๓๐๐๐ โทรศัพท ๐-๗๖๓๕-๔๐๓๕ โทรสาร ๐-๗๖๓๕-๔๐๓๖ E-mail [email protected]

เว็ปไซด http://www.phuket.mol.go.th ๒. สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ต ถนนรัตนโกสินทร ๒๐๐ ป อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ๘๓๐๐๐ โทรศัพท ๐-๗๖๒๑-๙๖๖๐-๑ โทรสาร ๐-๗๖๒๑-๙๖๖๐

E - Mail [email protected] เว็ปไซด http://www.phuketjob.org ๓. สํานักงานประกันสังคมจังหวัดภูเก็ต ๑๕/๔ ถนนอําเภอ อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ๘๓๐๐๐

โทรศัพท ๐-๗๖๒๔-๐๔๑๘ - ๙, ๐-๗๖๓๕-๕๓๒๔ - ๕ โทรสาร: ๐-๗๖๒๒-๒๘๓๖ E-mail [email protected] เว็บไซต http://www.sso.go.th/phuket/

๔. สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดภูเก็ต ๑๘๘ ถนนศักดิเดช

อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ๘๓๐๐๐ โทรศัพท ๐-๗๖๒๑-๑๙๙๕ , ๐-๗๖๒๒-๐๗๖๐ โทรสาร ๐-๗๖๓๕-๔๔๑๔ E-mail [email protected]

เว็บไซต http://www.phuketlabour.org/ ๕. ศูนยพฒันาฝมือแรงงานจังหวัดภูเก็ต ๑๓๘ หมู ๔ ตําบลศรีสุนทร อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ๘๓๑๑๐ โทรศัพท ๐๗๖-๒๗๓๔๗๐-๔ โทรสาร ๐๗๖-๒๗๓๔๗๓ E-mail [email protected] เว็บไซต http://home.dsd.go.th/phuketskill/ ๖. ศูนยบริการรวมกระทรวงแรงงาน จังหวัดภูเก็ต หางสรรพสินคาบิ๊กซีซุปเปอรเซ็นเตอร สาขาภูเก็ต ชั้น ๒ (ชั้นโบวลิ่ง) ๗๒ ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.๙ ตําบลรัษฎา อําเภอเมือง

จังหวัดภูเก็ต ๘๓๐๐๐ โทรศัพท ๐-๗๖๖๑-๒๖๓๓ มท. ๗๙๘๓๐ เว็ปไซด http://counterservice.mol.go.th

หนวยงานสังกัดกระทรวงแรงงาน จังหวัดภูเก็ต

Page 67: Labour situation in quarter 1/2556 Report

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส ๑ ป ๒๕๕๖ (มกราคม – มีนาคม)

๕๙

ที่ปรึกษา

นายสุทธิพงศ สายสาคเรศ แรงงานจังหวัดภูเก็ต นางภัฏฎิณ ี ลัญชานนท เจาพนักงานธุรการชํานาญงาน สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดภูเก็ต นางคนึงนิจ ใจบุญ นักวิชาการการเงินและบัญชีชํานาญการ สํานักงานประกันสังคมจังหวัดภูเก็ต นางสาวสุกฤตา แคนยุกต นักวิชาการแรงงานชํานาญการ สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ต นายวิระ อุนอก นักวิชาการพัฒนาฝมือแรงงานชํานาญการ ศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัดภูเก็ต

ผูจัดทํา

นางนิษณา คงวุน นักวิชาการแรงงานปฎิบัติการ นางดวงเดือน วิทีไว เจาพนักงานการเงินและบัญชีชํานาญงาน นางวาสนา กรีประเสริฐ พนักงานพิมพดีด ส ๓ นางสาวจินตนา ใจหาญ นักวิชาการแรงงาน นางสาววรรณิศา ขาวช ู เจาหนาที่ขอมูลสถานการณแรงงาน นายไชยา อินทรพรหม พนักงานขับรถยนต นายสิทธิยา เพ็ชรกําเนิด พนักงานขับรถยนต

สนับสนุนขอมูลโดย

สํานักงานประกันสังคมจังหวัดภูเก็ต สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ต สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดภูเก็ต ศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัดภูเก็ต สํานักงานพัฒนาธุรกิจการคาจังหวัดภูเก็ต สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดภูเก็ต สํานักงานคลังจังหวัดภูเก็ต สํานักงานพาณิชยจังหวัดภูเก็ต สํานักงานสถิติจังหวัดภูเก็ต

สามารถคนหารายละเอียดสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ตไดที่ http://www.phuket.mol.go.th ขอมูล/สถานการณดานแรงงานจังหวัด สถานการณดานแรงงาน ไตรมาส ๔ ป ๒๕๕๕

คณะผูจัดทํา