lecture note on safety and...

11
Lecture Note on Safety and Environment บั น ทึ ก ส า ร ะ ด้ า น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012 77 เสียงในอุตสาหกรรม (2) การตรวจวัดเสียงจากสภาพแวดล้อมการทำงาน ในโรงงานอุตสาหกรรม ผูชวยศาสตราจารยปราโมช เชยวชาญ วศ.ม. (วศวกรรมสงแวดลอม) สาขาวชาวทยาศาสตรสุขภาพ มหาวทยาลยสุโขทยธรรมาธราช สบเนองจากวารสารฯ ฉบบทแลวทกลาวถงความรู ทวไปเกยวกบเสยง และภาพรวมการตรวจวดเสยงตาม กฎหมายทเกยวของกบโรงงานอุตสาหกรรม (คอการตรวจ ดเส ยงจากสภาพแวดล อมการทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม และการตรวจว ดเส ยงจากส งแวดล อมโดยท วไป การตรวจว เสยงรบกวน) ในฉบบน จะกลาวถงรายละเอยดพอสงเขปใน สวนของกฎหมายและขอมูล/ความรูทางวชาการทนาสนใจ เกยวกบเสยงจากสภาพแวดลอมการทำงานในโรงงานดงน 1. กฎหมายประเทศไทยเกยวกบเสยงจาก สภาพแวดลอมการทำงานในโรงงาน การตรวจวดเสยงจากสภาพแวดลอมการทำงานใน โรงงานอุตสาหกรรม หรออาจกลาวไดวาเปนการตรวจวด เสยงในงานอาชวอนามยและความปลอดภยหรอทางดาน สุขศาสตร อุตสาหกรรม (Industrial Hygiene) ตถุประสงค ทสำคญคอเพอประเมนการสมผสเสยง สำหรบเฝาระวง และปองกนการสูญเสยการไดยนของผูปฏบตงานในโรงงาน อุตสาหกรรม หน วยงานราชการท เก ยวข องและม การออกกฎหมาย กำหนดมาตรฐานเสยงในสภาพแวดลอมการทำงานทสำคญ มอยู 2 หนวยงาน คอ กระทรวงแรงงาน และกระทรวง อุตสาหกรรม กระทรวงแรงงานโดยกรมสวสดการและคมครอง แรงงาน ไดออกกฎหมายเกยวกบเสยงในสภาพแวดลอม การทำงานคอ กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบรหาร และจดการดานความปลอดภย อาชวอนามย และสภาพ แวดลอมในการทำงานเกยวกบความรอน แสงสวาง และ เสยง พ.ศ. 2549 และจากกฎกระทรวงฉบ บน ทำให เก ดกฎหมายลำด รองเพอเพมรายละเอยดและความชดเจนในการปฏบตตาม กฎหมายอกหลายฉบบคอ - ประกาศกรมฯ เรองหลกเกณฑวธการดำเนนการ ตรวจ วด และ วเคราะห สภาวะ การ ทำงานเกยว กบ ระดบ ความรอน แสงสวาง และเสยงภายในสถานประกอบกจการ ระยะเวลาและประเภทกจการทตองดำเนนการ พ.ศ. 2550 - ประกาศกรมฯ เรองแบบคำขอขนทะเบยนเปน ผูรบรองรายงานการตรวจวดและวเคราะหสภาวะการทำงาน พ.ศ. 2550 - ประ กา ศก รมฯ เรอง กำหนด สถาน ท ยน คำขอ ขนทะเบยนเปนผูรบรองรายงานการตรวจวด และวเคราะห สภาวะการทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 - ประกาศกรมฯ เรองหลกเกณฑและวธการจดทำ โครงการอนุรกษการไดยนในสถานประกอบกจการ พ.ศ. 2553 รวมทงไดมการออกแนวปฏบต ตามกฎกระทรวง กำหนดมาตรฐาน ในการบรหารและการจดการดานความ ปลอดภย อาชวอนามย และสภาพแวดลอมในการทำงาน เกยวกบความรอน แสงสวาง และเสยง พ.ศ. 2549 ดวย

Upload: others

Post on 21-Jul-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Lecture Note on Safety and Environment.วารสารความปลอดภัยและ... · 84 Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012 ปีที่

Lecture Note on Safety and Environment

บั น ทึ ก ส า ร ะ ด้ า น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012 77

เสียงในอุตสาหกรรม(2)การตรวจวัดเสียงจากสภาพแวดล้อมการทำงาน

ในโรงงานอุตสาหกรรม

ผู้ ช่วยศาส ตรา จาร ย์ ปราโมช เชี่ยวชาญ วศ.ม. (วิศวกรรม สิ่ง แวดล้อม) สาขา วิชา วิทยาศาสตร์ สุขภาพ มหาวิทยาลัย สุโขทัย ธร รมาธิ ราช

สืบ เนื่องจาก วา รสารฯ ฉบับ ที่ แล้ว ที่ กล่าว ถึง ความ รู้

ทั่วไป เกี่ยว กับ เสียง และ ภาพ รวม การ ตรวจ วัด เสียง ตาม

กฎหมาย ที่ เกี่ยวข้อง กับ โรงงาน อุตสาหกรรม (คือ การ ตรวจ

วดั เสยีง จาก สภาพ แวดลอ้ม การ ทำงาน ใน โรงงาน อตุสาหกรรม

และ การ ตรวจ วดั เสยีง จาก สิง่ แวดลอ้ม โดย ทัว่ไป การ ตรวจ วดั

เสียง รบกวน) ใน ฉบับ นี้ จะ กล่าว ถึง ราย ละเอียด พอ สังเขป ใน

ส่วน ของ กฎหมาย และ ข้อมูล/ความ รู้ ทาง วิชาการ ที่ น่า สนใจ

เกี่ยว กับ เสียง จาก สภาพ แวดล้อม การ ทำงาน ใน โรงงาน ดังนี้

1.กฎหมายประเทศไทยเกี่ยวกับเสียงจาก สภาพแวดล้อมการทำงานในโรงงาน

การ ตรวจ วัด เสียง จาก สภาพ แวดล้อม การ ทำงาน ใน

โรงงาน อุตสาหกรรม หรือ อาจ กล่าว ได้ ว่า เป็นการ ตรวจ วัด

เสียง ใน งาน อาชีว อนามัย และ ความ ปลอดภัย หรือ ทาง ด้าน

สขุ ศาสตร ์อตุสาหกรรม (Industrial Hygiene) ม ีวตัถุประสงค ์

ที่ สำคัญ คือ เพื่อ ประเมิน การ สัมผัส เสียง สำหรับ เฝ้า ระวัง

และ ป้องกัน การ สูญ เสีย การ ได้ยิน ของ ผู้ ปฏิบัติ งาน ใน โรงงาน

อุตสาหกรรม

หนว่ย งาน ราชการ ที ่เกีย่วขอ้ง และ ม ีการ ออก กฎหมาย

กำหนด มาตรฐาน เสียง ใน สภาพ แวดล้อม การทำงาน ที่ สำคัญ

มี อยู่ 2 หน่วย งาน คือ กระทรวง แรงงาน และ กระทรวง

อุตสาหกรรม

กระทรวงแรงงานโดยกรมสวัสดิการและคุ้มครอง

แรงงาน ได้ ออก กฎหมาย เกี่ยว กับ เสียง ใน สภาพ แวดล้อม

การ ทำงาน คือ กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร

และจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ

แวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และ

เสียงพ.ศ.2549

และ จาก กฎ กระทรวง ฉบบั นี ้ทำให ้เกดิ กฎหมาย ลำดบั

รอง เพื่อ เพิ่ม ราย ละเอียด และ ความ ชัดเจน ในการ ปฏิบัติ ตาม

กฎหมาย อีก หลาย ฉบับ คือ

- ประ กา ศก รมฯ เรื่อง หลัก เกณฑ์ วิธี การ ดำเนิน การ

ตรวจ วัด และ วิเคราะห์ สภาวะ การ ทำงานเกี่ยว กับ ระดับ

ความ ร้อน แสง สว่าง และ เสียง ภายใน สถาน ประกอบ กิจการ

ระยะ เวลา และ ประเภท กิจการ ที่ ต้อง ดำเนิน การ พ.ศ. 2550

- ประ กา ศก รมฯ เรื่อง แบบ คำขอ ขึ้น ทะเบียน เป็น

ผู้รับ รอง รายงาน การ ตรวจ วัด และ วิเคราะห์สภาวะ การ ทำงาน

พ.ศ. 2550

- ประ กา ศก รมฯ เรื่อง กำหนด สถาน ที่ ยื่น คำขอ

ขึ้น ทะเบียน เป็น ผู้รับ รอง รายงาน การ ตรวจ วัด และวิเคราะห์

สภาวะ การ ทำงาน ใน เขต กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552

- ประ กา ศก รมฯ เรื่อง หลัก เกณฑ์ และ วิธี การ จัด ทำ

โครงการ อนุรักษ์ การ ได้ยิน ใน สถาน ประกอบกิจการ พ.ศ.

2553

รวม ทั้ง ได้ มี การ ออก แนว ปฏิบัติ ตาม กฎ กระทรวง

กำหนด มาตรฐาน ใน การ บริหาร และ การ จัดการ ด้าน ความ

ปลอดภัย อาชีว อนามัย และ สภาพ แวดล้อม ใน การ ทำงาน

เกี่ยว กับ ความ ร้อน แสง สว่าง และ เสียง พ.ศ. 2549 ด้วย

Page 2: Lecture Note on Safety and Environment.วารสารความปลอดภัยและ... · 84 Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012 ปีที่

ว า ร ส า ร ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ สุ ข ภ า พ

78 Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012

ปีที่ 5 ฉบับที่ 18 ประจำเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2555

สำหรับ กระทรวง อุตสาหกรรม โดย กรม โรงงาน

อตุสาหกรรม ได ้ออก กฎหมาย เกีย่ว กบั เสยีง ใน สภาพ แวดลอ้ม

การ ทำงาน คอื ประกาศกระทรวงอตุสาหกรรมเรือ่งมาตรการ

คุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน

เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมในการทำงานพ.ศ.2546

สรุป ประเด็น สาระ ที่ สำคัญ ของ กฎหมาย ทั้ง 2

กระทรวง ดัง ตาราง ที่ 1

ตารางที่1สรุป สาระ สำคัญ กฎหมาย เกี่ยว กับ การ ตรวจ วัด เสียง จาก สภาพ แวดล้อม การ ทำงานในโรงงาน อุตสาหกรรม

รายการ กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม

ประเภทกิจการ

ที่ต้องดำเนินการ

- กำหนด ประเภท กิจการ ที่ ต้อง ดำเนิน การ

ตรวจ วัด ระดับ เสียง ได้แก่ การ ระเบิด ย่อย โม่

หรือ บด หิน การ ผลิต น้ำตาล หรือ ทำให้ บริสุทธิ์

การ ผลิต น้ำแข็ง การ ปั่น ทอ โดย ใช้ เครื่องจักร

การ ผลิต เครื่อง เรือน เครื่อง ใช้ จาก ไม้ การ ผลิต

เยื่อ กระดาษ หรือ กระดาษ กิจการ ที่ มี การ ปั๊ม

หรือ เจียรโลหะ กิจการ ที่ มี แหล่ง กำเนิด เสียง

หรือ สภาพ การ ทำงาน ที่ อาจ ทำให้ ลูกจ้าง ได้ รับ

อันตราย เนื่องจาก เสียง

- กำหนด ประเภท กจิการ ที ่ตอ้ง ดำเนนิ การ ตรวจ วดั

ระดับ เสียง ไว้ ชัดเจน โดย ระบุ ตาม ประเภท/ชนิด

ของ โรงงาน [โร งง งาน ลำดบั ที ่ตา่งๆ ตาม ประเภท หรอื

ชนิด ของ โรงงาน ใน บัญชี ท้าย กฎ กระทรวง (พ.ศ.

2535) ออก ตาม ความ ใน พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535

รวม ทั้ง สิ้น 21 ประเภท ยก ตัวอย่าง เช่น โรงงาน

ลำดับ ที่ 3 (1) โรงงาน ที่ ประกอบ กิจการ เกี่ยว กับ

การ โม่ บด หรือ ย่อย หิน เป็นต้น]

การกำหนดการ

ตรวจวัดและวิเคราะห์/

คุณสมบัติผู้ตรวจวัด

และวิเคราะห์

- นายจา้ง ตอ้ง จดั ให ้ม ีการ ตรวจ วดั และ วเิคราะห ์

สภาวะ การ ทำงาน เกี่ยว กับ เสียง ภายใน สถาน

ประกอบ กิจการ ใน สภาวะ ที่ เป็น จริง ของ สภาพ

การ ทำงาน อย่าง น้อย ปี ละ หนึ่ง ครั้ง

กรณี ที่ มี การ ปรับปรุง หรือ เปลี่ยนแปลง

เครื่องจักร อุปกรณ์ กระบวนการ ผลิต วิธี

การ ทำงาน หรือ การ ดำเนิน การ ใดๆ ที่ อาจ มี

ผล ต่อ การ เปลี่ยนแปลง ระดับ เสียง ให้ นายจ้าง

ดำเนิน การ เพิ่ม เติม ภายใน เก้า สิบ วัน นับ จาก

วัน ที่ มี การ ปรับปรุง หรือ เปลี่ยนแปลง

- นายจ้าง ต้อง จัด ทำ รายงาน การ ตรวจ วัด

และ วเิคราะห ์สภาวะ การ ทำงาน โดย ให ้เจา้ หนา้ที ่

ความ ปลอดภัย ใน การ ทำงาน ระดับ วิชาชีพ หรือ

ให้ ผู้ สำเร็จ การ ศึกษา ไม่ ต่ำ กว่า ปริญญา ตรี สาขา

วิชา อาชีว อนามัย หรือ เทียบ เท่า ตาม ที่ ได้ ขึ้น

ทะเบยีน ไว ้เปน็ ผูร้บั รอง รายงาน และ ให ้นายจา้ง

เกบ็ รายงาน ดงั กลา่ว ไว ้ณ สถาน ประกอบ กจิการ

เพื่อ ให้ พนักงาน ตรวจ แรงงาน ตรวจ สอบ ได้

ตลอด เวลา ทำการ พร้อม ทั้ง ส่ง รายงาน คู่ ฉบับ

ต่อ อธิบดี หรือ ผู้ ซึ่ง อธิบดี มอบ หมาย ภายใน

สามสิบ วัน นับ แต่ วัน ที่ทำการ ตรวจ วัด

- ผู ้ประกอบ กจิการ โรงงาน ตอ้ง จดั ให ้ม ีการ ตรวจ วดั

วิเคราะห์ และ จัด ทำ รายงาน สภาพ แวดล้อม ใน การ

ทำงาน เกี่ยว กับ เสียง อย่าง น้อย ปี ละ 1 ครั้ง โดย มี

เจา้ หนา้ที ่ความ ปลอดภยั ใน การ ทำงาน ระดบั วชิาชพี

หรือ ผู้ สำเร็จ การ ศึกษา ไม่ ต่ำ กว่า ปริญญา ตรี ทาง

ด้าน วิทยาศาสตร์ เป็น ผู้รับ รอง รายงาน และ ให้ เก็บ

รายงาน ดงั กลา่ว ไว ้ณ ที ่ตัง้ โรงงาน ให ้พรอ้ม สำหรบั

การ ตรวจ สอบ ของ พนักงาน เจ้า หน้าที่

Page 3: Lecture Note on Safety and Environment.วารสารความปลอดภัยและ... · 84 Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012 ปีที่

Lecture Note on Safety and Environment

บั น ทึ ก ส า ร ะ ด้ า น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012 79

รายการ กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม

อุปกรณ์และวิธี

การตรวจวัด

- การ ตรวจ วัด ระดับ เสียง ต้อง ใช้ อุปกรณ์ ที่ ได้

มาตรฐาน ของ คณะ กรรมาธกิาร ระหวา่ง ประเทศ

ว่า ด้วย เทคนิค ไฟฟ้า (International Electro-

technical Commission) หรือ เทียบ เท่า ดังนี้

(1) เครื่อง วัด เสียง ต้อง ได้ มาตรฐาน IEC651

Type 2 (2) เครื่อง วัด ปริมาณ เสียง สะสม ต้อง

ได้ มาตรฐาน IEC61252 (3) เครื่อง วัด เสียง

กระทบ หรือ เสียง กระแทก ต้อง ได้ มาตรฐาน

IEC61672 หรือ IEC60804

อุปกรณ์ ที่ ใช้ ตรวจ วัด ระดับ เสียง ตาม

วรรค หนึ่ง ต้อง ทำการ ปรับ เทียบ ความ ถูก ต้อง

(Calibration) ด้วย อุปกรณ์ ตรวจ สอบ ความ

ถูก ต้อง (Noise Calibrator) ที่ ได้ มาตรฐาน

IEC60942 หรือ เทียบ เท่า ตาม วิธี การ ที่ ระบุ

ใน คู่มือ การ ใช้ งาน ของ ผู้ ผลิต ก่อน การ ใช้ งาน

ทุก ครั้ง

- วธิ ีการ ตรวจ วดั ระดบั เสยีง ให ้ตรวจ วดั บรเิวณ

ที ่ม ีลกูจา้ง ปฏบิตั ิงาน อยู ่ใน สภาพ การ ทำงาน ปกต ิ

โดย ตั้ง ค่า เครื่อง วัด เสียง ที่ สเกล เอ (Scale A)

การ ตอบ สนอง แบบ ช้า (slow) และ ตรวจ วัด ที่

ระดับ หู ของ ลูกจ้าง ที่ กำลัง ปฏิบัติ งาน ณ จุด นั้น

รัศมี ไม่ เกิน สามสิบ เซนติเมตร

กรณี ใช้ เครื่อง วัด ปริมาณ เสียง สะสม ต้อง

ตั้ง ค่า ให้ เครื่อง คำนวณ ปริมาณ เสียง สะสม

(Threshold Level) ที่ ระดับ แปด สิบ เดซิ เบล

Criteria Level ที ่ระดบั เกา้ สบิ เดซ ิเบล Energy

Exchange rate ที่ ห้า ส่วน การ ใช้ เครื่อง วัด

เสียง กระทบ หรือ เสียง กระแทก ให้ ตั้ง ค่า ตาม ที่

ระบุ ใน คู่มือ การ ใช้ งาน ของ ผู้ ผลิต

- การ ตรวจ วัด ระดับ เสียง บริเวณ ที่ทำการ ตรวจ วัด

ต้อง เป็น บริเวณ ที่ มี การ ปฏิบัติ งาน ใน สภาพ การ

ทำงาน ปกติ การ ตรวจ วัด ต้อง เป็น บริเวณ ที่ มี ระดับ

เสียง สูง

สำหรับ วิธี การ ตรวจ วัด และ วิเคราะห์ ให้

เป็น ไป ตาม หลัก มาตรฐาน สากล เช่น มาตรฐาน

ของ Occupational Safety & Health

Administration (OSHA) มาตรฐาน ของ

National Institute Occupational Safety

and Health (NIOSH) เป็นต้น หรือ วิธี อื่น ใด

ที่ กรม โรงงาน อุตสาหกรรม เห็น ชอบ

มาตรฐานเสียง - กำหนด เป็น ค่า มาตรฐาน ระดับ เสียง ที่ ลูกจ้าง

ได้ รับ เฉลี่ย ตลอด เวลา การ ทำงาน ใน แต่ละ วัน

(Time Weighted Average; TWA) โดย กำหนด

ค่า มาตรฐาน ระดับ เสียง ตาม เวลา การ ทำงาน

ที่ ได้ รับ หรือ สัมผัส เสียง (กำหนด ไว้ ใน ตาราง

ที ่6 ทา้ย กฎ กระ ทร วงฯ) เชน่ ถา้ทำงาน8ชัว่โมง

ทำงานหรือเวลาการได้สัมผัสเสียง 8 ชั่วโมง

ระดับเสียงเฉลี่ยตลอดเวลาการทำงานต้อง

ไม่เกิน90เดซิเบล(เอ) ถ้า ทำงาน 12 ขั่วโมง

- กำหนด ให้ ผู้ ประกอบ กิจการ โรงงาน ต้อง ควบคุม

มิ ให้ บริเวณ ปฏิบัติ งาน ใน โรงงาน มี ระดับ เสียง เกิน

กว่า มาตรฐาน ที่ กำหนด (การ กำหนด มาตรฐาน

สอดคล้อง กับ ของ กระทรวง แรงงาน โดย มี สมการ

ใน การ คำนวณ หา เวลา ที ่ยอม ให ้ได ้รบั เสยีงเห มอื นกนั

คือ

8T = 2(L - 90)/5

Page 4: Lecture Note on Safety and Environment.วารสารความปลอดภัยและ... · 84 Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012 ปีที่

ว า ร ส า ร ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ สุ ข ภ า พ

80 Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012

ปีที่ 5 ฉบับที่ 18 ประจำเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2555

รายการ กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม

ระดับ เสียง เฉลี่ย ตลอด เวลา การ ทำงาน ต้อง ไม่

เกิน 87 เดซิ เบล (เอ) เป็นต้น ทั้งนี้ มี สมการ

ใน การ คำนวณ หา เวลา ที่ ยอม ให้ ได้ รับ เสียง คือ

.......(1)

เมื่อ T หมาย ถึง เวลา การ ทำงาน ที่ ยอม

ให้ ได้ รับ เสียง (ชั่วโมง) L หมาย ถึง ระดับ เสียง

(เดซิ เบล เอ)

ใน กรณ ีบรเิวณ ที ่ลกูจา้ง ปฏบิตั ิงาน ม ีระดบั

เสียง ดัง ไม่ สม่ำเสมอ หรือ ลูกจ้าง ต้อง ย้าย การ

ทำงาน ไป ยงั จดุ ตา่งๆ ที ่ม ีระดบั เสยีง ดงั แตก ตา่ง

กนั ให ้ใช ้สูตร ใน การ คำนวณ หา ระดบั เสยีง เฉลีย่

ตลอด เวลา การ ทำงาน ใน แต่ละ วัน ดังนี้

D = {(C1/T

1) + (C

2/T

2) +.....+ (C

n/T

n)} X 100 ..(2)

TWA(8)= [16.61 X log (D/100)] + 90 ….(3)

เมื่อ D = ปริมาณ เสียง สะสม ที่ ผู้ ปฏิบัติ งาน

ได ้รบัหนว่ย เปน็ รอ้ย ละ C = ระยะ เวลา ที ่สมัผสั

เสียง T = ระยะ เวลา ที่ อนุญาต ให้ สัมผัส ระดับ

เสียง นั้นๆ TWA(8) = ระดับ เสียง เฉลี่ย ตลอด

เวลา การ ทำงาน 8 ชั่วโมง/วัน ทั้งนี้ ค่า TWA(8)

ที่ คำนวณ ได้ ต้อง ไม่ เกิน เก้า สิบ เดซิ เบล (เอ)

- กำหนด ระดับ เสียง สูงสุด (Peak) ของ

การทำงาน แต่ละ วัน จาก ค่า ระดับ เสียง เฉลี่ย

ตลอด ระยะ เวลา การ ทำงาน (TWA) รวม ทั้ง

เสียง กระทบ หรือ เสียง กระแทก (Impact or

Impulse Noise) จะ ต้อง ไม่ เกิน กว่า 140

เดซิ เบล (เอ)

อย่างไร ก็ตาม ใน ตัว กฎ หมายไม่ กล่าว ถึง

ราย ละเอียด ใน กรณี บริเวณ ที่ ลูกจ้าง ปฏิบัติ งาน มี

ระดบั เสยีง ดงั ไม ่สมำ่เสมอ หรอื ลกูจา้ง ตอ้ง ยา้ย การ

ทำงาน ไป ยงั จดุ ตา่งๆ ที ่ม ีระดบั เสยีง ดงั แตก ตา่ง กนั)

- กำหนด หา้ม ม ิให ้บุคคล เขา้ไป ใน บรเิวณ ที ่ม ีเสยีง ดงั

เกิน กว่า 140 เดซิ เบล (เอ)

การดำเนินการกรณี

ระดับเสียงเกิน

มาตรฐาน

- ภายใน สถาน ประกอบ กิจการ ที่ สภาวะ การ

ทำงาน ม ีระดบั เสยีง ที ่ลูกจา้ง ได ้รบั เกนิ มาตรฐาน

ที่ กำหนด ให้ นายจ้าง ดำเนิน การ ปรับปรุง หรือ

แก้ไข สิ่ง ที่ เป็นต้น กำเนิด ของ เสียง หรือ ทาง

ผ่าน ของ เสียง หรือ การ บริหาร จัดการ เพื่อ ให้ มี

ระดับ เสียง ที่ ลูกจ้าง ได้ รับ อยู่ ไม่ เกิน มาตรฐาน

ที่ กำหนด

- บรเิวณ ปฏบิตั ิงาน ที ่ม ีระดบั เสยีง เกนิ กวา่ มาตรฐาน

ผู้ ประกอบ กิจการ โรงงาน ต้อง ปิด ประกาศ เตือน ให้

ทราบ ถึง บริเวณ ที่ มี เสียง ดัง เกิน มาตรฐาน ที่ กำหนด

8T =

2(L - 90)/5

Page 5: Lecture Note on Safety and Environment.วารสารความปลอดภัยและ... · 84 Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012 ปีที่

Lecture Note on Safety and Environment

บั น ทึ ก ส า ร ะ ด้ า น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012 81

รายการ กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม

ใน กรณ ียงั ดำเนนิ การ ปรบัปรงุ หรอื แกไ้ข ตาม

วรรค หนึ่ง ไม่ ได้ นายจ้าง ต้อง จัด ให้ ลูกจ้าง สวม

ใส่ อุปกรณ์ คุ้มครอง ความ ปลอดภัย ส่วน บุคคล

ตาม ที่ กำหนด ตลอด เวลา ที่ ทำงาน เพื่อ ลด

เสียง ให้ อยู่ ใน ระดับ ที่ ไม่ เกิน มาตรฐาน ที่ กำหนด

ไว้ และ ใน บริเวณ ที่ มี ระดับ เสียง เกิน มาตรฐาน

ที่ กำหนด นายจ้าง ต้อง จัด ให้ มี เครื่องหมาย เตือน

ให ้ใช ้อปุกรณ ์คุม้ครอง ความ ปลอดภยั สว่น บคุคล

ติด ไว้ ให้ ลูกจ้าง เห็น ได้ โดย ชัดเจน

ทั้งนี้ อุปกรณ์ คุ้มครอง ความ ปลอดภัย ส่วน

บุคคล จะ ต้อง มี มาตรฐาน ดังนี้

nปลั๊ก ลด เสียง (Ear Plugs) ต้อง ทำ

ด้วย พลาสติก ยาง หรือ วัสดุ อื่น ที่ อ่อน นุ่ม และ

ไม่ ระคาย เคือง ใช้ ใส่ ช่อง หู ทั้ง สอง ข้าง และ

สามารถ ลด เสียง ได้ ไม่ น้อย กว่า สิบ ห้า เดซิ เบล (เอ)

nครอบ หู ลด เสียง (Ear Muffs) ต้อง ทำ

ด้วย พลาสติก ยาง หรือ วัสดุ อื่น ที่ อ่อน นุ่ม และ

ไม ่ระคาย เคอืง ใช ้ครอบ หู ทัง้ สอง ขา้ง และ สามารถ

ลด ระดับ เสียง ลง ได้ ไม่ น้อย กว่า ยี่สิบ ห้า

เดซิ เบล (เอ)

และ นายจ้าง ต้อง จัด ให้ มี การ บริหาร จัดการ

เกี่ยว กับ วิธี การ เลือก และ การ ใช้ อุปกรณ์

คุ้มครอง ความ ปลอดภัย ส่วน บุคคล โดย ต้อง

จัด ให้ ลูกจ้าง ได้ รับ การ ฝึก อบรม เกี่ยว กับ วิธี การ

ใช้ และ การ บำรุง รักษา อุปกรณ์ คุ้มครอง ความ

ปลอดภัย ส่วน บุคคล รวม ทั้ง ระเบียบ ใน การ ใช้

ต้อง จัด ทำ ขึ้น อย่าง มี ระบบ และ สามารถ ให้

พนักงาน ตรวจ แรงงาน ตรวจ สอบ ได้ ตลอด เวลา

ทำ การ

โครงการอนุรักษ์การได้ยิน

- ใน กรณ ีที ่สภาวะ การ ทำงาน ใน สถาน ประกอบ กิจการ มี ระดับ เสียง ที่ ลูกจ้าง ได้ รับ เฉลี่ย ตลอด ระยะ เวลา การ ทำงาน แปด ชั่วโมง ตั้งแต่ แปด สิบ ห้า เดซิ เบล เอ ขึ้น ไป ให้ นายจ้าง จัด ทำ โครงการ อนุรักษ์ การ ได้ยิน ใน สถาน ประกอบ กิจการ ตาม หลัก เกณฑ์ และ วิธี การ ที่ อธิบดี ประกาศ กำหนด (ปัจจุบัน มี กฎหมาย เกี่ยว กับ เรื่อง นี้ คือ ประ กา ศ ก รมฯ เรือ่ง หลกั เกณฑ ์และ วธิ ีการ จดั ทำ โครงการ อนรุกัษ ์การ ไดย้นิ ใน สถาน ประกอบ กจิการ พ.ศ. 2553 )

- ไม่มีการระบุ

Page 6: Lecture Note on Safety and Environment.วารสารความปลอดภัยและ... · 84 Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012 ปีที่

ว า ร ส า ร ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ สุ ข ภ า พ

82 Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012

ปีที่ 5 ฉบับที่ 18 ประจำเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2555

จาก ตาราง ที่ 1 สรุป สาระ สำคัญ กฎหมาย เกี่ยว กับ

การ ตรวจ วัด เสียง จาก สภาพ แวดล้อม การ ทำงาน ใน โรงงาน

อุตสาหกรรม ทั้ง 2 กระทรวง พบ ว่า กฎหมาย ของ ทั้ง 2

กระทรวง ค่อน ข้าง สอดคล้อง กัน รวม ทั้ง ค่อน ข้าง สอดคล้อง

กับ ของ สำนักงาน บริหาร ความ ปลอดภัย และ อาชีว อนามัย

[Occupational Safety and Health Administration;

OSHA] ของ ประเทศ สหรัฐอเมริกา ด้วย อย่างไร ก็ตาม พบ

ว่า กระทรวง แรงงาน มี การ ออก กฎหมาย เพิ่ม เติม เพื่อ เพิ่ม ราย

ละเอยีด และ ความ ชดัเจน ใน การ ปฏบิตั ิมากกวา่ ของ กระทรวง

อุตสาหกรรม ยก ตัวอย่าง เช่น ใน เรื่อง โครงการ อนุรักษ์ การ

ได้ยิน ดัง นั้น ใน ทาง ปฏิบัติ โรงงาน อุตสาหกรรม ซึ่ง ต้อง

ถูก กำกับ ดูแล จาก กระทรวง ทั้ง สอง อยู่ แล้ว จึง มีหน้า ที่ ต้อง

ปฏิบัติ ให้ ถูก ต้อง ตาม กฎหมาย ของ ทั้ง สอง กระทรวง ทั้งนี้

ที่ สำคัญ ก็ เพื่อ ความ ปลอดภัย/สุขภาพ อนามัย ของ ผู้ ปฏิบัติ

งาน ใน โรงงาน

2.ข้อมูล/ความรู้ทางวิชาการที่น่าสนใจ2.1 กฎหมาย หรือ มาตรฐาน เสียง จาก สภาพ

แวดล้อม การ ทำงาน ใน โรงงาน อุตสาหกรรม ที่ กลา่ว ถึง ข้าง ต้น

เหมาะ สำหรับ ใช้ ประเมิน กับ สภาพ การ ทำงาน ที่ เป็น โรงงาน

อุตสาหกรรม เช่น กระบวนการ ผลิต ต่างๆ ที่ เกิด เสียง

คอ่น ขา้ง ดงั ไม่ควรนำไปใช้ประเมนิในสำนกังาน(office)โดย

ทั่วไป หาก จะ ประเมิน กับ ผู้ ปฏิบัติ งาน ใน สำนักงาน แล้ว ควร

ใช้ เกณฑ์ หรือ มาตรฐาน เสียง ใน อาคาร (Criteria for Indoor

Noise Environment) เช่น ค่า Noise Criteria โดย ใช้

NC Curves ค่า Preferred Noise Criteria โดย ใช้ PNC

Curves เป็นต้น ค่า เหล่า นี้ เป็น เกณฑ์/มาตรฐาน เสียง ของ

ต่าง ประเทศ (ประเทศไทย ยัง ไม่มี การ กำหนด กฎหมาย เสียง

เกี่ยว กับ เรื่อง นี้) ทั้ง นี้ เป็น เพราะ โดย ทั่วไป ใน สำนักงาน มัก มี

ระดับ เสียง ไม่ ค่อย ดัง อยู่ แล้ว ปกติ ระดับ เสียง อยู่ ที่ 50 - 70

dB(A) ดัง นั้น การ ประเมิน จึง ควร เน้น ที่ ความ รำคาญ (An-

noyance) การ รบกวน การ ตดิตอ่ สือ่สาร (Communication

Interference)

2.2 จาก กฎหมาย ขา้ง ตน้ ม ีศพัท ์ทาง วชิาการ ที ่สำคญั

ซึ่ง ควร ทำความ เข้าใจ คือ

- คา่ Criterion Level (Lc) หมาย ถงึ คา่ ระดบั

เสียง ที่ ยอม ให้ สัมผัส ได้ ใน 8 ชั่วโมง/วัน ตาม กฎหมาย หรือ

ค่า มาตรฐาน ที่ เสนอ แนะ อื่นๆ (โดย ทั่วไป นิยม กำหนด อยู่ที่

85 dB หรือ 90 dB) สำหรับ ประเทศไทยกฎหมาย กำหนด

ไว้ เท่ากับ 90 dB

- คา่ Exchange Rate หรอื Energy Exchange

Rate (Er) [ตำรา บาง เล่ม เรียก Equal energy] หมาย ถึง

ค่า ทาง ทฤษฎี ซึ่ง แสดง ถึง อัตรา ที่ พลังงาน เสียง เพิ่ม ขึ้น เป็น

2 เท่า เมื่อ ระดับ เสียง เพิ่ม ขึ้น ตาม ที่ กำหนด (โดย ทั่วไป ที่

นิยม กำหนด อยู่ 2 อัตรา คือ ที่ 3 dB หรือ 5 dB) สำหรับ

ประเทศไทย กฎหมาย กำหนด ไว ้เทา่กบั 5 dB {นอกจาก นี ้จาก

ค่า Exchange Rate นี้ ทำให้ การ คำนวณ เวลา การ ทำงาน ที่

ยอม ให้ ได้ รับ เสียง หรือ ระยะ เวลา การ สัมผัส เสียง [โดย ใช้

สมการ ที่ (1) ใน ตาราง ที่ 1] พบ ว่า กรณี ที่ ค่า ระดับ เสียง เพิ่ม

ขึ้น 5 dB(A) ส่ง ผล ให้ ระยะ เวลา การ สัมผัส เสียง ลด ลง ครึ่ง

หนึ่ง เช่น จาก ระดับ เสียง 90 dB(A) เพิ่ม ขึ้น ป็น 95 dB(A)

ระยะ เวลา การ สมัผสั เสยีง ลด ลง จาก 8 ชัว่โมง เหลอื 4 ชัว่โมง

เป็นต้น หรือ ใน ทาง กลับ กัน อาจ กล่าว ได้ ว่า เมื่อ ค่า ระดับ เสียง

ลด ลง 5 dB(A) พบ ว่า ระยะ เวลา การ สัมผัส เสียง เพิ่ม ขึ้น เป็น

2 เท่า เช่น จาก ค่า ระดับ เสียง 95 dB(A) ลด ลง เป็น 90

dB(A) ระยะ เวลา การ สัมผัส เสียง เพิ่ม ขึ้น จาก 4 ชั่วโมง เป็น

8 ชั่วโมง เป็นต้น}

- ค่า Threshold Level หมาย ถึง ค่า ระดับ เสียง

ต่ำ สุด ที่ เครื่อง วัด ปริมาณ เสียง สะสม (Noise Dosimeter)

จะ นำ ไป คำนวณ ปริมาณ เสียง สะสม ให้ สำหรับ ประเทศไทย

กฎหมาย กำหนด ไว้ เท่ากับ 80 dB {หมายความ ว่า ค่า ระดับ

เสียง ที่ ต่ำ กว่า 80 dB จะ ไม่ ถูก นำ มา คำนวณ หา ปริมาณ เสียง

สะสม ที่ ผู้ ปฏิบัติ งาน ได้ รับ ตาม สมการ ที่ (2) ใน ตาราง ที่ 1}

2.3 ข้อมูล เพิ่ม เติม เกี่ยว กับ ค่า มาตรฐาน เสียง จาก

สภาพ แวดล้อม การ ทำงาน ของ ประเทศ ต่างๆ ดัง ตาราง ที่ 2

Page 7: Lecture Note on Safety and Environment.วารสารความปลอดภัยและ... · 84 Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012 ปีที่

Lecture Note on Safety and Environment

บั น ทึ ก ส า ร ะ ด้ า น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012 83

ตารางที่2ค่า มาตรฐาน เสียง จาก สภาพ แวดล้อม การ ทำงาน บาง ประเทศ

Country

8-houraverageA-weighted

soundpressurelevel(dB)

Exchangerate(dB)

8-houraverageA-wtdlimitforengineeringoradministrativecontrols(dB)

8-houraverageA-wtdlimitforMonitoringhearing(dB)

Upperlimitforpeaksound

pressurelevel(dB)

Australia

(varies by state)

85 3 85 85 140 unwgted

peak

Finland 85 3 90

France 85 3 90 85 135 C peak

Germany 85 3 90 85 140 C peak

Spain 85 3 90 80 140 C peak

Argentina 90 3 110 A Slow

Chile 85 5 140 unwgted

peak or 115 A

Slow

China 70 - 90 3 115 A Slow

India 90 140 A peak

Japan 90 85Hearing

protection mandatory

at 90

85

New Zealand 85 3 85 85 140 unwgted peak

USA:OSHA

NIOSH*ACGIH**

90

8585

5

33

90 85

85

140 C peak or 115 A Slow140 A peak140 C peak

หมายเหตุ * NIOSH = National Institute for Occupation Safety and Health

** ACGIH = American Conference of Governmental Industrial Hygienists

จาก ตาราง ที่ 2 มี ข้อ น่า สังเกต ว่า ค่า Lc ส่วน มาก

นิยม ใช้ ที่ 85 dB(A) และ ค่า Er ส่วน มาก นิยม ใช้ ที่ 3 dB

สำหรบั ประเทศ สหรฐัอเมรกิา หนว่ย งาน ทาง วชิาการ (NIOSH

และ ACGIH) เอง ก็ แนะนำ ให้ ใช้ ค่า Lc เท่ากับ 85 dB(A)

และ ค่า Er เท่ากับ 3 dB อย่างไร ก็ตาม การ บังคับ ใช้ ตาม

กฎหมาย (OSHA) กำหนด ให้ ใช้ ค่า Lc เท่ากับ 90 dB(A)

และ ค่า Er เท่ากับ 5 dB ซึ่ง กฎหมาย ของ ประเทศไทย เอง มี

กำหนด ค่า มาตรฐาน ค่อน ข้าง สอดคล้อง กับ ของ OSHA

ที่มา: คัดลอกและปรับปรุงบางส่วนจาก WHO, Occupation Exposure to Noise: Evaluation, Prevention and Control, 2001.

Page 8: Lecture Note on Safety and Environment.วารสารความปลอดภัยและ... · 84 Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012 ปีที่

ว า ร ส า ร ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ สุ ข ภ า พ

84 Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012

ปีที่ 5 ฉบับที่ 18 ประจำเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2555

2.4 จาก ตาราง ที ่1 (กฎหมาย ของ ประเทศไทย) พบ วา่

สมการ หรอื สตูร ที ่ใช ้ใน การ คำนวณ เกีย่ว กบั การ ตรวจ วดั เสยีง

จาก สภาพ แวดล้อม การ ทำงาน มี ทั้งหมด 3 สมการ คือ

สมการ คำนวณ หา ระยะ เวลา การ ทำงาน ที่ ยอม ให้ ได้

รับ เสียง หรือ สัมผัส เสียง

……(1)

เมือ่ T หมาย ถงึ เวลา การ ทำงาน ที ่ยอม ให ้ได ้รบั เสยีง

(ชั่วโมง) L หมาย ถึง ระดับ เสียง (เดซิ เบล เอ)

สมการ คำนวณ หา ระดับ เสียง เฉลี่ย ตลอด เวลา การ

ทำงาน ใน แตล่ะ วนั ใน กรณ ีบรเิวณ ที ่ลกูจา้ง ปฏบิตั ิงาน ม ีระดบั

เสียง ดัง ไม่ สม่ำเสมอ หรือ ลูกจ้าง ต้อง ย้าย การ ทำงาน ไป ยัง

จุด ต่างๆ ที่ มี ระดับ เสียง ดัง แตก ต่าง กัน

D = {(C1/T

1) + (C

2/T

2) +.....+ (C

n/T

n)} X 100 ……(2)

TWA(8)= [16.61 X log (D/100)] + 90 ……(3)

เมื่อ D = ปริมาณ เสียง สะสม ที่ ผู้ ปฏิบัติ งาน ได้ รับ

(หน่วย เป็น ร้อย ละ) C = ระยะ เวลา ที่ สัมผัส เสียง T = ระยะ

เวลา ที่ อนุญาต หรือ ยอม ให้ ได้ รับ เสียง หรือ ให้ สัมผัส ระดับ

เสียง นั้นๆ และ

TWA(8) = ระดับ เสียง เฉลี่ย ตลอด เวลา การ ทำงาน

8 ชั่วโมง/วัน

สมการ (1), (2), (3) ที่ กล่าว ข้าง ต้น เป็น สมการ ที่ ใช้

ใน กรณี ที่ ค่า Lc เท่ากับ 90 dB และ ค่า Er เท่ากับ 5 dB

อยา่งไร กต็าม เนือ่งจาก คา่ Lc มกั นยิม เลอืก ใช ้อยู ่สอง คา่ คอื

85 dB หรือ 90 dB และ ค่า Er ก็ เช่น เดียวกัน คือ 5 dB

หรือ 3 dB ดัง นั้น จึง ขอ เพิ่ม ความ เข้าใจ ทาง วิชาการ กรณี ที่

ต้องการ คำนวณ ที่ ค่า Lc และ ค่า Er ที่ เปลี่ยน ไป เป็น ค่า อื่นๆ

สามารถ คำนวณ ได้ ดังนี้

กรณี ต้องการ คำนวณ หา ระยะ เวลา การ ทำงาน ที่ ยอม

ให้ ได้ รับ เสียง หรือ สัมผัส เสียง คำนวณ ได้ จาก

……(4)

กรณี ต้องการ คำนวณ หา ค่า TWA(8) หรือ ค่า ระดับ

เสยีง เฉลีย่ ตลอด เวลา การ ทำงาน 8 ชัว่โมง/วนั จาก คา่ DOSE

หรือ ค่า ปริมาณเสียง สะสม ที่ ผู้ ปฏิบัติ งาน ได้ รับ สามารถ

คำนวณ ได้ จาก

TWA(8) = {10 log ( )[Er/(10log2)]}+Lc ……(5)

หาก แทน ค่า Er เท่ากับ 5 dB และ ค่า Lc เท่ากับ 90

dB ใน สมการ ที่ (5) จะ ได้ สมการ ที่ (3) ถ้า แทน ค่า Er เท่ากับ

3 dB และ ค่า Lc เท่ากับ 85 dB จะ ได้ สมการ ดังนี้

TWA(8)= [10 X log (D/100)] + 85 ……(6)

2.5 ประเด็น ฝาก ไว้ พิจารณา เกี่ยว กับ การ ตรวจ วัด

เสยีง จาก สภาพ แวดลอ้ม การ ทำงาน ตาม กฎหมาย ประเทศไทย

(กล่าว ถึง เฉพาะ ใน กรณี ที่ มี การ กำหนด ค่า Lc เท่ากับ 90 dB

และ ค่า Er เท่ากับ 5 dB)

1) จาก กฎหมาย มี การ กำหนด อุปกรณ์ และ

มาตรฐาน ของ อุปกรณ์ ที่ ใช้ ใน การ ตรวจ วัด ไว้ (ราย ละเอียด

ดัง ที่ ระบุ ไว้ ใน ตาราง ที่ 1) ดัง นั้น ใน การ ตรวจ วัด เพื่อ ความ ถูก

ต้อง อุปกรณ์ ต่างๆ ต้อง ได้ มาตรฐาน ตาม ที่ กำหนด นอกจาก

นี ้ใน ปจัจบุนั คณะ กรรมาธกิาร ระหวา่ง ประเทศ วา่ ดว้ย เทคนคิ

ไฟฟ้า (International Electrotechnical Commission;

IEC) ได้ ออก มาตรฐาน ใน การ ผลิต เครื่อง วัด ระดับ เสียง ขึ้น

ใหม่ คือ IEC61672: 2002 Electroacoustics Sound

Level Meters และ ยกเลิก มาตรฐาน เดิม คือ IEC60651

และ IEC60804 อย่างไร ก็ตาม เนื่องจาก เครื่อง วัด ระดับ เสียง

ที่ ใช้ งาน ใน ปัจจุบัน อาจ มี บาง ส่วน ได้ มาตรฐาน IEC60651

และ IEC60804 อยู่ รวม ทั้ง เพื่อ ให้ สอดคล้อง กับ กฎหมาย

ดัง กล่าว ข้าง ต้น ดัง นั้น ใน การ ตรวจ วัด จึง สามารถ เลือก ใช้ได้

ทั้ง สาม มาตรฐาน ตาม ความ เหมาะ สม

ใน การ ตรวจ วัด ระดับ เสียง กรณี ใช้ เครื่อง วัด ระดับ

เสี ยง (Sound Level Meter) ก่อน การ ใช้ งาน ต้อง ตั้ง ค่า

ของ เครื่อง ที่ สเกล เอ (Scale A) การ ตอบ สนอง แบบ ช้า

(Slow) [เน้นว่าการตรวจวัดเสียงในงานอาชีวอนามัยต้อง

ตั้งวงจรถ่วงน้ำหนักเวลา (Time weighting network)

ของเครื่องฯเป็นการตอบสนองแบบช้า]

- หาก ลักษณะ ของ เสียง จาก สภาพ แวดล้อม การ

ทำงาน เป็น เสียง ดัง ต่อ เนื่อง แบบ คงที่ (Steady - State

Noise) ตลอด ระยะ เวลา การ ทำงาน การ ตรวจ วัด สามารถ ใช้

เครือ่ง วดั ระดบั เสยีง (Sound Level Meter) ทัง้ แบบ Sound

Level Meter ธรรมดา และ แบบ Integrating - Averaging

Sound Level Meter ได้ โดย การ ประเมิน เมื่อ ได้ ข้อมูล ค่า

8T =

2(L - Lc)/Er

8T =

2(L - 90)/5

100D

Page 9: Lecture Note on Safety and Environment.วารสารความปลอดภัยและ... · 84 Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012 ปีที่

Lecture Note on Safety and Environment

บั น ทึ ก ส า ร ะ ด้ า น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012 85

ระดับ เสียง (L) แล้ว รวม ทั้ง มี ข้อมูล ระยะ เวลา การ สัมผัส

เสียง ของ ผู้ ปฏิบัติ งาน ก็ สามารถ ประเมิน การ สัมผัส เสียง ของ

พนกังาน ได ้วา่ เกนิ หรอื ไม ่เกนิ คา่ มาตรฐาน [คา่ มาตรฐาน ระดบั

เสียง ที่ ลูกจ้าง ได้ รับ เฉลี่ย ตลอด เวลา การ ทำงาน ใน แต่ละ วัน

(Time Weighted Average; TWA) เป็นการ กำหนด ค่า

มาตรฐาน ระดับ เสียง ตาม เวลา การ ทำงาน ที่ ได้ รับ หรือ สัมผัส

เสียง (กำหนด ไว้ ใน ตาราง ที่ 6 ท้าย กฎ กระ ทร วงฯ) เช่น

ถ้าทำงาน 8 ชั่วโมงทำงานหรือเวลาการได้สัมผัสเสียง

8ชั่วโมงระดับเสียงเฉลี่ยตลอดเวลาการทำงานต้องไม่เกิน

90เดซิเบล(เอ) ถา้ ทำงาน 12 ชัว่โมง ระดบั เสยีง เฉลีย่ ตลอด

เวลา การ ทำงาน ต้อง ไม่ เกิน 87 เดซิ เบล (เอ) เป็นต้น]

- หาก ลักษณะ ของ เสียง จาก สภาพ แวดล้อม การ

ทำงาน เป็น เสียง ดัง ต่อ เนื่อง แบบ ไม่ คงที่ (Non Steady

- State Noise) หรือ มี ระดับ เสียง ดัง ไม่ สม่ำเสมอ

(Fluctuation Noise) และ/หรือ ลูกจ้าง ต้อง ย้าย การ ทำงาน

ไป ยัง จุด ต่างๆ ที่ มี ระดับ เสียง ดัง แตก ต่าง กัน

ในการตรวจวดัหากตอ้งการผลการตรวจวดั/ประเมนิ

ที่ถกูตอ้งแมน่ยำตอ้งใช้เครือ่งวดัปรมิาณเสยีงสะสม(Noise

Dosimeter)ในการตรวจวัด เพราะ เครื่อง ดัง กล่าว สามารถ

บันทึก ข้อมูล ระดับ เสียง ต่างๆ ที่ ผู้ ปฏิบัติ งาน สัมผัส และ

ข้อมูล ระยะ เวลา ที่ สัมผัส ระดับ เสียง นั้นๆ ตลอด ระยะ เวลา

การ ทำงาน รวม ทั้ง สามารถ คำนวณ ค่า D (ปริมาณ เสียง

สะสม ที่ ผู้ ปฏิบัติ งาน ได้ รับ) ตาม สมการ ที่ (2) ข้าง ต้น พร้อม

รายงาน ผล [แต่ อย่า ลืม ต้อง ตั้ง ค่า Threshold Level ที่

80 dB ค่า Criteria Level ที่ 90 dB และ ค่า Exchange

rate ที่ 5 dB]

หาก ใช้ เครื่อง วัด ระดับ เสียง (Sound Level Meter)

แบบ Sound Level Meter ธรรมดา (สามารถ ตรวจ วัด ได้

เฉพาะ ค่า Sound Pressure Level) ใน การ ตรวจ วัด ใน

ทาง ปฏิบัติ กระทำ ได้ ยาก มาก เพราะ การ ที่ จะ ได้ มา ซึ่ง ข้อมูล

ค่า ระดับ เสียง แต่ละ ค่าที่ ผู้ ปฏิบัติ งาน สัมผัส และ ข้อมูล ระยะ

เวลา ที ่สมัผสั ระดบั เสยีง นัน้ๆ ตลอด ระยะ เวลา การ ทำงาน เพือ่

ที่ จะ นำ มา คำนวณ ค่า D (ปริมาณ เสียง สะสม ที่ ผู้ ปฏิบัติ งาน

ได้ รับ) ตาม สมการ ที่ (2) ข้าง ต้น นั้น ทาง ผู้ ตรวจ วัด ต้อง

ดำเนิน การ เก็บ ข้อมูล เอง ทำให้ ไม่ สะดวก และ ลำบาก ใน ทาง

ปฏิบัติ เป็น อย่าง มาก

สำหรบั กรณ ีที ่ใช ้เครือ่ง วดั ระดบั เสยีง (Sound Level

Meter) แบบ Integrating - Averaging Sound Level

Meter อาจ ใช ้ความ สามารถ ของ เครือ่ง ที ่สามารถ หา คา่ ระดบั

เสียง เฉลี่ย หรือ ที่ มัก เรียก กัน สั้นๆ ว่า ค่า แอล อี คิว (Leq) ได้

{ใน กรณี ที่ ตั้ง ค่า วงจร ถ่วง น้ำ หนัก ความถี่ เป็น แบบ เอ จะ เรียก

ค่า แอล อี คิว นี้ ว่า ค่า แอล เอ อี คิว (LAeq

)} ใน การ ตรวจ วัด เพื่อ

ความ สะดวก ใน ทาง ปฏิบัติ [ค่า แอล อี คิว หรือ ค่า ระดับ เสียง

เฉลี่ย (Equivalent Continuous Sound Level) เป็น

ค่า เฉลี่ย ระดับ เสียง ตลอด ช่วง เวลา หนึ่งๆ ที่ทำการ ตรวจ วัด

เทียบ เท่ากับ ค่า เฉลี่ย ของ เสียง ต่อ เนื่อง คงที่ ใน ช่วง เวลา ที่ เท่า

กัน หรือ กล่าว ได้ ว่า ค่า แอล อี คิว เป็น ค่า ระดับ เสียง คงที่ ที่ มี

พลังงาน เทียบ เท่ากับ ระดับ เสียง ที่ เกิด ขึ้น จริง ซึ่ง มี ระดับ เสียง

เปลีย่นแปลง ตลอด ชว่ง เวลา ทำการ ตรวจ วดั ดงั นัน้ จงึ มกั เรยีก

คา่ Leq นี ้ตาม ชว่ง ระยะ เวลา ทีท่ำการ ตรวจ วดั เชน่ ตรวจ วดั 5

นาท ีจะ เรยีก วา่ Leq 5 นาท ีถา้ ตรวจ วดั 1 ชัว่โมง จะ เรยีก วา่ คา่

Leq 1 ชั่วโมง ถ้า ตรวจ วัด 24 ชั่วโมง จะ เรียก ว่า ค่า L

eq 24

ชั่วโมง เป็นต้น ค่า Leq มัก นิยม ใช้ ประเมิน ปัญหา เสียง ดัง ใน

งาน สิง่ แวดลอ้ม เชน่ ประเมนิ ปญัหา เสยีง จาก สิง่ แวดลอ้ม โดย

ทัว่ไป ใน ใน ชมุชน] อยา่งไรกต็ามมีประเดน็ที่ควรพจิารณาคอื

ผลหรือค่าที่ตรวจวัดได้อาจไม่ถูกต้องมากนักหรือไม่ตรงกับ

การตรวจวัดด้วยเครื่องวัดปริมาณเสียงสะสม(NoiseDo-

simeter) [สังเกตได้ว่ากฎหมายเกี่ยวกับการตรวจวัดเสียง

จากสภาพแวดลอ้มการทำงานของประเทศไทยไม่ได้กลา่วถงึ

ค่าLeqไว้เลยแต่จะกล่าวว่าเป็นค่าTWA]สำหรับเหตุผล

ทางวิชาการที่เป็นสาเหตุให้ผลการตรวจวัดคลาดเคลื่อน

มาจาก(1)ค่าLeqที่ใช้ในงานสิ่งแวดล้อมโดยทั่วไปกำหนด

ค่าErไว้เท่ากับ3dB{กฎหมายเกี่ยวกับการตรวจวัดเสียง

จากสภาพแวดล้อมการทำงานของประเทศไทย กำหนดค่า

Er เท่ากับ 5 dB} (2) การตรวจวัดด้วยครื่องวัดปริมาณ

เสียงสะสม(NoiseDosimeter)มีการตั้งค่าThreshold

Levelที่80dBแต่การตรวจวัดโดยใช้ค่าLeqไม่ได้มีการ

กำหนดค่าThresholdLevelไว้

2) ใน การ ตรวจ วัด โดย ใช้ เครื่องวัดปริมาณเสียง

สะสม หากผลการตรวจวัดพบว่าค่าปริมาณเสียงสะสม

(%DOSE)มากกว่า100%ไม่ว่าระยะเวลาการสัมผัสเสียง

ตลอดระยะเวลาการทำงานจะเป็นเช่นใด (เช่น โรงงาน มี การ

ทำงาน 4 กะ ต่อ วัน ทำให้ ชั่วโมง การ ทำงาน เท่ากับ 6 ชั่วโมง

หรอื กรณ ีม ีการ ทำงาน ลว่ง เวลา ทำให ้ชัว่โมง การ ทำงาน เพิม่ เปน็

10 หรือ 12 ชั่วโมง ต่อ วัน เป็นต้น) นั่นแสดงว่าผู้ปฏิบัติงาน

สัมผัสเสียงเกินค่ามาตรฐานหรือเกินค่าLcเสมอ โดย การ

คำนวณ ค่า TWA(8)

สามารถ คำนวณ จาก สมการ ที่ (3) ทั้งนี้

ต้อง เข้าใจ ว่า ค่าที่ คำนวณ ได้ นี้ เป็น ค่าที่ ปรับ เป็น ค่า ระดับ เสียง

เฉลี่ย ตลอด เวลา การ ทำงาน 8 ชั่วโมง/วัน แล้ว

Page 10: Lecture Note on Safety and Environment.วารสารความปลอดภัยและ... · 84 Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012 ปีที่

ว า ร ส า ร ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ สุ ข ภ า พ

86 Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012

ปีที่ 5 ฉบับที่ 18 ประจำเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2555

นอกจาก นี้ ยัง พบ ว่า หาก ผล การ ตรวจ วัด พบ ว่า

ค่าปริมาณเสียงสะสม (%DOSE)มีค่าเท่ากับหรือมากกว่า

50% แล้ว แสดงว่าโรงงานนั้นต้องจัดทำโครงการอนุรักษ์

การได้ยิน ตาม กฎหมาย ของ กระทรวง แรงงาน ด้วย

3) กฎหมาย ประเทศไทย มี การ กำหนด ค่า Action

Level เพื่อ การ จัด ทำ โครงการ อนุรักษ์ การ ได้ยิน ไว้ ด้วย โดย

กำหนด ว่า ค่า ระดับ เสียง ที่ ได้ รับ เฉลี่ย ตลอด ระยะ เวลา การ

ทำงาน 8 ชั่วโมง ตั้งแต่ 85 dB(A) ขึ้น ไป ต้อง จัด ทำ โครงการ

อนุรักษ์ การ ได้ยิน ใน กรณี ที่ ระยะ เวลา การ ทำงาน หรือ ระยะ

เวลา สัมผัส เสียง ใน แต่ละ วัน ไม่ เท่ากับ 8 ชั่วโมง เช่น อาจ เป็น

6 ชั่วโมง หรือ 12 ชั่วโมง ต่อ วัน ค่า ระดับ เสียง เฉลี่ย ตลอด

ระยะ เวลา การ ทำงาน เทา่กบั เทา่ใด จงึ จะ จดั ทำ โครงการ อนรุกัษ ์

การ ไดย้นิ แนน่อนไมใ่ช่ที่85dB(A) เพราะ กฎหมาย กำหนด

ไว้ ชัด ว่า ค่า 85 dB(A) สำหรับ ตลอด ระยะ เวลา การ ทำงาน

8 ชั่วโมง รวม ทั้ง หาก พิจารณา ให้ ดี จะ พบ ว่าการ กำหนด ค่า

มาตรฐาน เสียง นั้น ขึ้น อยู่ กับ ระยะ เวลา การ สัมผัส เสียง ด้วย

เช่น ถ้า ทำงาน 8 ชั่วโมง ทำงาน หรือ เวลา การ สัมผัส เสียง

8 ชั่วโมง ระดับ เสียง เฉลี่ย ตลอด เวลา การ ทำงาน ต้อง ไม่ เกิน

90 dB(A) ถ้า ทำงาน 12 ชั่วโมง ระดับ เสียง เฉลี่ย ตลอด

เวลา การ ทำงาน ต้อง ไม่ เกิน 87 dB(A) ถ้า ทำงาน 6 ชั่วโมง

ระดับ เสียง เฉลี่ย ตลอด เวลา การ ทำงาน ต้อง ไม่ เกิน 92 dB(A)

เปน็ตน้ ดงั นัน้ หาก พจิารณา งา่ยๆ เพือ่ไว้ใช้งาน สงัเกต ได ้วา่ที ่

8 ชั่วโมง การ ทำงาน กฎหมาย กำหนด ไว้ 90 dB(A) และ จัด

ทำ โครงการ อนุรักษ์ การ ได้ยิน ตั้งแต่ 85 dB(A) ขึ้น ไป พบ ว่า

มี ค่า แตก ต่าง กัน อยู่ 5 dB(A) ดัง นั้น การ หา ค่า ระดับ เสียง

สำหรับ การ จัด ทำ โครงการ อนุรักษ์ การ ได้ยิน ที่ ระยะ เวลา การ

สัมผัส เสีย งอื่นๆ ให้ นำ ค่า ระดับ เสียง ตาม กฎหมาย ลบ ด้วย

5 จะ ได้ ค่า ระดับ เสียง สำหรับ การ จัด ทำ โครงการ อนุรักษ์ การ

ไดย้นิ ยก ตวัอยา่ง เชน่ ที ่12 ชัว่โมง การ ทำงาน พบ วา่ คา่ ระดบั

เสียง ตาม กฎหมาย ต้อง ไม่ เกิน 87 dB(A) ลบ ด้วย 5 dB(A)

ได้ เท่ากับ 82 dB(A) เพราะ ฉะนั้น ค่า ระดับ เสียง เฉลี่ย ตลอด

ระยะ เวลา การ ทำงาน 12 ชั่วโมง ตั้งแต่ 82 dB(A) ขึ้น ไป

ต้อง จัด ทำ โครงการ อนุรักษ์ การ ได้ยิน ทำนอง เดียวกัน ถ้า 6

ชั่วโมง การ ทำงาน พบ ว่า ค่า ระดับ เสียง เฉลี่ย ตลอด ระยะ เวลา

การ ทำงาน 6 ชั่วโมง ตั้งแต่ 87 dB(A) ขึ้น ไป ต้อง จัด ทำ

โครงการ อนุรักษ์ การ ได้ยิน

วธิีการคำนวณที่กลา่วมาขา้งตน้นัน้เนน้วา่เพือ่ความ

รวดเร็วในการใช้งานเท่านั้น ถ้า ต้องการ คำนวณ ให้ ถูก ต้อง

ตาม หลัก วิชาการ (ลอง คำนวณ ดู) ให้ เริ่ม ที่ สมการ ที่ (2) เรา รู้

ค่า C ยก ตัวอย่าง เช่น ทำงาน 12 ชั่วโมง ต่อ วัน ค่า C เท่ากับ

12 ชั่วโมง เรา รู้ ว่าการ จัด ทำ โครงการ อนุรักษ์ การ ได้ยิน ค่า

D เท่ากับ 50% แทน ค่า ใน สมการ ที่ (2) เพื่อ หา ค่า T (ระยะ

เวลา ที่ ยอม ให้ สัมผัส เสียง ได้) จะ คำนวณ ได้ ค่า T เท่ากับ 24

ชั่วโมง จาก นั้น นำ ค่า T เท่ากับ 24 ชั่วโมง นี้ ไป แทน ค่า ใน

สมการ ที่ (1) เพื่อ หา ค่า L (ค่า ระดับ เสียง) ภาย หลัง จาก แก้

สมการ จะ ได้ ค่า L เท่ากับ 82 dB(A)

4) ดัง ที่ กล่าว มา แล้ว ว่า กฎหมาย ของ ประเทศไทย

ค่อน ข้าง สอดคล้อง กับ ของ OSHA ประเทศ สหรัฐอเมริกา

รวม ทั้ง หาก พิ จาณา จะ พบ ว่า ทั้ง ประเทศไทย และ OSHA ได้

มี การ กำหนด ค่า มาตรฐาน ระดับ เสียง ไว้ 2 ระดับ ด้วย กัน คือ

กำหนด ค่า Criterion Level หรือ ค่า ระดับ เสียง ที่ ยอม ให้

สัมผัส ได้ ใน 8 ชั่วโมง/วัน เท่ากับ 90 dB(A) และ ค่า Ac-

tion Level หรือ ค่า ระดับ เสียง ที่ ต้อง จัด ทำ โครงการ อนุรักษ์

การ ได้ยิน คือ ตั้งแต่ 85 dB(A) ขึ้น ไป ที่ เป็น เช่น นี้ เนื่องจาก

ผล การ วิจัย ของ หลาย หน่วย งาน เช่น องค์การ ระหว่าง

ประเทศ ว่า ด้วย มาตรฐาน (International Organization

for Standardization; ISO) องค์การ พิทักษ์ สิ่ง แวดล้อม

สหรัฐอเมริกา (Environmental Protection Agency;

US-EPA) สถาบัน ความ ปลอดภัย และ อาชีว อนามัย แห่ง ชาติ

(National Institute for Occupation Safety and

Health; NIOSH) เป็นต้น พบ ว่า ค่า ความ เสี่ยง (Risk) ต่อ

การ สญู เสยี การ ไดย้นิ จาก การ สมัผสั เสยีง เฉลีย่ ตลอด เวลา การ

ทำงาน ที่ 80, 85 และ 90 dB(A) ของ ผู้ ปฏิบัติ งาน ตลอด ชีวิต

การ ทำงาน ดัง แสดง ใน ตาราง ที่ 3 เห็น ได้ ว่า ความ เสี่ยง ต่อ การ

สูญ เสีย การ ได้ยิน หาก สัมผัส เสียง ที่ ระดับ เสียง 90 dB(A)

ยัง มี ความ เสี่ยง ค่อน ข้าง สูง จึง จำเป็น ต้อง มี การ กำหนด ค่า

Action Level ไว้ ที่ 85 dB(A) ด้วย

นอกจาก นี้ หาก พิจารณา ลึก ลง ไป ใน ราย ละเอียด

ของ กฎหมาย จะ พบ ว่า มี ประเด็น ที่ ควร เข้าใจ คือ ใน กรณี ที่ ค่า

ระดบั เสยีง ที ่ได ้รบั เฉลีย่ ตลอด ระยะ เวลา การ ทำงาน 8 ชัว่โมง

เกิน 90 dB(A) ขึ้น ไป แนวทางการแก้ไขปัญหาควรมุ่ง

เน้นแก้ไขที่แหล่งกำเนิด และทางผ่าน (Sources/Paths)

โดยใช้มาตรการควบคุมทางวิศวกรรม (Engineering

Controls)และ/หรอืมาตรการควบคมุทางการบรหิารจดัการ

(AdministrativeControls)เปน็หลกักอ่นหาก ไม ่สามารถ

ดำเนิน การ ได้ จึง จะ แก้ไข ปัญหา ที่ ตัว บุคคล โดย ใช้ อุปกรณ์

คุ้มครอง ความ ปลอดภัย ส่วน บุคคล เช่น Ear plugs, Ear

Muffs เป็นต้น และ ใน กรณี ที่ ค่า ระดับ เสียง ที่ ได้ รับ เฉลี่ย

Page 11: Lecture Note on Safety and Environment.วารสารความปลอดภัยและ... · 84 Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012 ปีที่

Lecture Note on Safety and Environment

บั น ทึ ก ส า ร ะ ด้ า น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

Journal of Safety and Health : Vol. 5 No. 18 March - May 2012 87

ตลอด ระยะ เวลา การ ทำงาน 8 ชั่วโมง ตั้งแต่ 85 dB(A) ขึ้น ไป

ให้ จัด ทำ โครงการอนุรักษ์การได้ยิน โดยโครงการนี้จะ

มุ่งเน้นที่ตัวบุคคล (Receivers) เป็นหลัก ทั้งในด้านการ

ป้องกันอันตรายด้วยอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วน

ตารางที่3ผล การ คาด การณ์ ร้อย ละ ของ ผู้ สัมผัส เสียง ที่ มี ความ เสี่ยง ต่อ การ สูญ เสีย การ ได้ยิน ใน การ สัมผัสระดับ เสียง ที่

80, 85 และ 90 dB(A) ตลอด ชีวิต การ ทำงาน

บุคคล และการเฝ้าระวังการได้ยินเพื่อป้องกันการสูญเสีย

การไดย้นิโดยทดสอบสมรรถภาพการไดย้นิ(Audiometric

Testing)ที่ตัวบุคคล

ReportingorganizationAveragedailynoise

Exposure,dB(A)Excessrisk(%)

ISO

US-EPA

NIOSH

90

85

80

90

85

80

90

85

80

21

10

0

22

12

5

29

15

3

ที่มา: NIOSH, Occupational Noise Exposure, 1998.

เอกสารอ้างอิงปราโมช เชีย่วชาญ (2551) เอกสาร การ สอน ชดุ วชิา สขุ ศาสตร ์

อุตสาหกรรม: การ ประเมิน. นนทบุรี. สำนัก พิมพ์

มหาวิทยาลัย สุโขทัย ธร รมาธิ ราช.

ส ราวุ ธ สุ ธร รมา สา (2547) การ จัดการ มลพิษ ทาง เสียง จาก

อุตสาหกรรม. กรุงเทพมหานคร. บริษัท ซี แอนด์ เอส

พริ้น ติ้ง จำกัด.

CCOHS. (2005). Noise Control In Industry A Basic

Guides 2nd ed. CCOHS Publication.

Cyril M. Harris eds. (1991). Handbook of Acoustical

Measurements and Noise Control 3rd ed. New

York: McGraw Hill Inc.

David A. Bies and Colin H. Hansen eds. (1996).

Engineering Noise Control 2nd ed. London: T J

Press. Ltd.

John E.K. Foreman. (1990). Sound Analysis and Noise Control. New York: Van Nostrand Reinhold.

Louis J. Diberardinis eds. (1999). Handbook of Occupational Safety and Health 2nd ed. New York: John Wiley & Sons Inc.

NIOSH. (1998). Occupational Noise Exposure, Cincinnati: DHHS (NIOSH) Publication.

WHO. (2001). Occupational Exposure to Noise: Evaluation, Prevention and Control.

http//www.diw.go.th ค้น คืน เมื่อ พฤศจิกายน 2555http//www.mne.psu.edu/lamancusa/me458/ ค้น คืน

เมื่อ พฤศจิกายน 2555http//www.osha.gov/dts/osta/otm/noise/ ค้น คืน เมื่อ

พฤศจิกายน 2555http//www.oshthai.org ค้น คืน เมื่อ พฤศจิกายน 2555