lesson 3.1 earthquake

33
Lesson 3.1 Earthquake คคคคคคคคคค คคคคคคค คค.คคคคคคคคคคคคคคค

Upload: tino

Post on 07-Feb-2016

42 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

Lesson 3.1 Earthquake. ครู กุลวรรณ สวนแก้ว รร. เชียงยืนพิทยาคม. - PowerPoint PPT Presentation

TRANSCRIPT

Page 1: Lesson 3.1 Earthquake

Lesson 3.1Earthquake

ครูกลุวรรณ สวนแก้ว รร.เชยีงยนืพทิยาคม

Page 2: Lesson 3.1 Earthquake

• 26 ธนัวาคม 2547 เกิดแผ่นดินไหวท่ีมีศูนยก์ลางอยูท่างทิศตะวนัตกเฉียงเหนือของเกาะสมุาตรา ด้วยขนาด 9.0 รกิเตอร ์เมื่อเวลาประมาณ8.00 น. และเกิดแผ่นดินถล่มใต้น้ำ(าทะเลหลังจากนั(น เกิดคล่ืนขนาดใหญ่ก็ถาโถมเขา้สูช่ายฝ่ังทะเลอันดามนัของไทย• 11 มนีาคม 2554 ญ่ีปุ่นได้เกิดแผ่นดิน

ไหวขนาด 9.0 รกิเตอร ์มจุีดศูนยก์ลางชายฝ่ังตะวนัออกของประเทศญี่ปุ่น และท้ำาใหเ้กิดคล่ืน สนึามสิงูกวา่ 10 เมตร เขา้ถล่มชายฝ่ัง

Page 3: Lesson 3.1 Earthquake

1. What is an earthquake like?• Foreshocks are small

bursts of shaking that may precede a large earthquake. • Aftershocks are

small tremors that follow an earthquake, lasting for hours or even days after the earthquake.

Page 4: Lesson 3.1 Earthquake

2.What causes earthquake?• An earthquake is the

movement of Earth’s crust resulting from the release of built-up potential energy between two stuck lithospheric plates.

Page 5: Lesson 3.1 Earthquake

1. แผ่นดินไหวเกิดขึน้ได้อยา่งไร• แผ่นดินไหว

เป็นปรากฏการณ์การท่ีโลกปลดปล่อยพลังงานเพื่อระบายความเครยีดท่ีสะสมไวอ้อกมาอยา่งฉับพลัน และเป็นการปรบัสมดลุของเปลือกโลกให้เขา้ท่ี ทำาให้แผ่นดินเกิดการสัน่สะเทือน ซึง่อยูใ่นรูปของ คล่ืนไหวสะเทือน (seismic wave) ซึง่จะแผ่กระจายจากจุดกำาเนิดไปทกุทิศทางและเคล่ือนท่ีผ่านตัวกลางภายในโลกขึน้บนผิวโลก

Page 6: Lesson 3.1 Earthquake

3

Page 7: Lesson 3.1 Earthquake

• จากสถิติการศึกษาความลึกของคลื่นไหวสะเทือนจาก บรเิวณศูนยเ์กิดแผ่นดินไหว สามารถแบง่ศูนยก์ารเกิดแผ่นดินไหวได้ 3 ระดับ

1. แผ่นดินไหวระดับต้ืน จะเกิดท่ีความลึกน้อยกวา่ 70 กิโลเมตร จากผิวโลก

2. แผ่นดินไหวระดับปานกลาง จะเกิดท่ีความลึกระหวา่ง 70 ถึง 300 กิโลเมตร จากผิวโลก

3. แผ่นดินไหวระดับลึก จะเกิดท่ีความลึกมากกวา่ 300 กิโลเมตร จากผิวโลก

Page 8: Lesson 3.1 Earthquake

• แผ่นดินไหวนอกจากจะเกิดจากการเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณี ยงัอาจเกิดจากสาเหตอ่ืุนๆได้ เชน่

- การระเบดิของภเูขาไฟ ซึ่งการเคล่ือนตัวของแมกมาสูป่ล่องภเูขาไฟ ก่อนระเบดิเป็นลาวา อาจท้ำาใหเ้กิดแผ่นดินไหวได้

- การทดลองปรมาณูใต้ดิน- การระเบดิพื(นท่ีเพื่อส้ำารวจลักษณะ

ของหนิ เพื่อการก่อสรา้งอาคารและเขื่อน

Page 9: Lesson 3.1 Earthquake

4. Seismic Wave : คลื่นไหวสะเทือน

1.Body wavesคลื่นในตัวกลาง

Primary wave คล่ืนปฐมภมูิ

Secondary waveคล่ืนทติุยภมูิ

Page 10: Lesson 3.1 Earthquake

Primary Waves (P Waves)

• A type of seismic wave that compresses and expands the ground• The first wave to arrive at an

earthquakehttp://daphne.meccahosting.com/~a0000e89/insideearth2.htm

Page 11: Lesson 3.1 Earthquake

Secondary Waves (S Waves)

• A type of seismic wave that moves the ground up and down or side to side

http://daphne.meccahosting.com/~a0000e89/insideearth2.htm

Page 12: Lesson 3.1 Earthquake
Page 13: Lesson 3.1 Earthquake

คลื่นในตัวกลาง เป็นคล่ืนท่ีเคล่ือนท่ีแผ่กระจายไปทกุทิศทาง และเคล่ือนท่ีในตัวกลาง• คลื่นปฐมภมู ิหรอื คล่ืน P เป็นคล่ืนตามยาว

อนุภาคของตัวกลางจะเคล่ือนที่ในทิศทางเดียวกับทิศทางการเคล่ือนที่ของคล่ืน คล่ืน P จะมคีวามเรว็มากกวา่คล่ืนชนิดอ่ืน และเคล่ือนที่ผ่านได้ทกุตัวกลาง

• คลื่นทติุยภมู ิหรอื คลื่น S เป็นคล่ืนตามขวาง อนุภาคของตัวกลางจะเคล่ือนที่ในแนวตั(งฉากกับทิศทางการเคล่ือนที่ของคล่ืน คล่ืน S จะเคล่ือนที่ผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็นของแขง็เท่านั (น และมีความเรว็น้อยกวา่คล่ืน P

Page 14: Lesson 3.1 Earthquake

คลื่นพื้นผิว เป็นคล่ืนท่ีเคล่ือนท่ีบนผิวโลกหรอืใต้ผิวโลกเล็กน้อย และเคล่ือนท่ีด้วยอัตราเรว็ท่ีชา้กวา่คล่ืนใน

ตัวกลาง

• คลื่นเลิฟ (Love wave) หรอื คลื่น L เป็นคล่ืนท่ีท้ำาใหอ้นุภาคตัวกลางสัน่ในแนวราบ ซึ่งเป็นคล่ืนท่ีสรา้งความเสยีหายใหกั้บรากฐานของอาคารและสิง่ปลกูสรา้งต่างๆ

• คลื่นเรยล์ี (Rayleigh wave) หรอื คลื่น R เป็นคล่ืนที่ท้ำาใหอ้นุภาคของตัวกลางเคล่ือนท่ีในแนวด่ิงเป็นวงรใีนทิศทางเดียวกับการเคล่ือนท่ีของคล่ืน ท้ำาใหผิ้วโลกมกีารสัน่ขึ(นลง

Page 15: Lesson 3.1 Earthquake

5. How to recorded Seismic waves ? • Seismic waves are recorded

and measured by an instrument called a seismograph.• Seismic waves inside Earth

are called body waves. • The two main types of body

waves are P-waves and S-waves.

Page 16: Lesson 3.1 Earthquake

• After an earthquake occurs, the first seismic waves recorded will be

P-waves. • S-waves are

recorded next, followed by the surface waves.

Page 17: Lesson 3.1 Earthquake

Typical Seismogram

http://isu.indstate.edu/jspeer/Earth&Sky/EarthCh11.ppt

Page 18: Lesson 3.1 Earthquake

• เครื่องไซสโมกราฟท่ีบนัทึกการเคลื่อนท่ีในแนวด่ิง

Page 19: Lesson 3.1 Earthquake

ขอ้มูลแผ่นดินไหว สามารถบนัทึกด้วยการติดตั้งเครอืขา่ยของเครื่อง “ไซสโมกราฟ ” (Seismograph) ท่ีติดตั(งอยูต่ามแหล่งต่างๆ โดยเครื่องมอืนี(จะประกอบด้วยเครื่องรบัความสัน่สะเทือน ซึง่แปลงสญัญาณความสัน่สะเทือนเป็นสญัญาณไฟฟา้ จากนั(นจะถกูขยายด้วยระบบสญัญาณแล้วแปลงกลับเป็นการสัน่ไหวอีกครั(งเพื่อบนัทึกลงกระดาษเป็นกราฟขึน้ลง

Page 20: Lesson 3.1 Earthquake
Page 21: Lesson 3.1 Earthquake

6. Where Do Earthquakes Occur and How Often?1. 80% of all earthquakes occur

in the circum-Pacific beltmost of these result from convergent margin activity

called “ring of Fire”2. 15% occur in the

Mediterranean-Asiatic belt3. remaining 5% occur in the

interiors of plates and on spreading ridge centers

more than 150,000 quakes strong enough to be felt are recorded each year

Page 22: Lesson 3.1 Earthquake

• การขอ้มูลในอดีตพบวา่ ศูนยเ์กิดแผ่นดินไหว สมัพนัธกั์บแนวรอยต่อของแผ่นธรณีภาค โดยแนวรอยต่อท่ีส้ำาคัญท่ีท้ำาใหเ้กิดแผ่นดินไหว มดีังนี(

• 1. แนวรอยต่อท่ีเกิดล้อมรอบมหาสมุทรแปซฟิกิ เกิดแผ่นดินไหวท่ีค่อนขา้งรุนแรง คิดเป็น 80 % เรยีกบรเิวณนี(วา่ วงแหวนแห่งไฟ (Ring of Fire)

• 2. แนวรอยต่อภเูขาแอลปใ์นทวปียุโรปและภเูขาหิมาลัยในทวปีเอเชยี เกิดแผ่นดินไหว ประมาณ 15 %

6. แนวแผ่นดินไหว

Page 23: Lesson 3.1 Earthquake

• 3. แนวรอยต่ออ่ืนๆ อีกประมาณ 5 % เกิดในแนวสนักลางมหาสมุทรแอตแลนติก แนวสนัเขาใต้มหาสมุทรอินเดียและอารก์ติก

Page 24: Lesson 3.1 Earthquake

7. Measuring seismic waves• The Richter scale ranks earthquakes

according to their magnitude of the seismic waves recorded on a seismograph.

Page 25: Lesson 3.1 Earthquake
Page 26: Lesson 3.1 Earthquake

Measuring earthquake damage• The Modified Mercalli scale has 12 descriptive categories. • Each category is a rating of the damage experienced by buildings, the ground, and people.

Page 27: Lesson 3.1 Earthquake

ขนาดของแผ่นดินไหว ก้ำาหนดจากปรมิาณพลังงานท่ีปลดปล่อยออกมาจากศูนย์เกิดแผ่นดินไหว โดย ชารล์ เอฟ รกิ เตอร ์เป็นคนแรกท่ีคิดค้นสตูรการวดัขนาดของแผ่นดินไหว

โดยแผ่นดินไหวท่ีค้ำานวณได้ต้องมีศูนยเ์กิดแผ่นดินไหวระดับตื(นและต้องเป็นสถานีท่ีอยูใ่นระยะ 200- 300 กิโลเมตร นอกจากนี( ยงัวดัเฉพาะคล่ืนไหวสะเทือนท่ีมีความสงูท่ีสดุเท่านั(น ไมไ่ด้บอกขนาดของแผ่นดินไหวท่ีแท้จรงิ จงึท้ำาใหม้ขีอ้จ้ำากัดในการใช้มาตรารกิเตอร์

7. ขนาดและความรุนแรงของแผ่นดินไหว

Page 28: Lesson 3.1 Earthquake

8. Tsunami

http://www.uwgb.edu/dutchs/EarthSC-102VisualsIndex.HTM

Page 29: Lesson 3.1 Earthquake

29

A

DC

B

Formation of a tsunami

Page 30: Lesson 3.1 Earthquake

http://isu.indstate.edu/jspeer/Earth&Sky/EarthCh11.ppt

Page 31: Lesson 3.1 Earthquake

ในประเทศไทยเคยเกิดแผ่นดินไหวหรอืไม ่??

และมผีลกระทบอยา่งไรบา้ง ??

9. ประเทศไทยกับปรากฏการณ์แผ่นดินไหว

Page 32: Lesson 3.1 Earthquake

รอยเลื่อนมพีลัง (active fault)

แผ่นดินไหวสว่นใหญ่ในประเทศไทย มกัเกิดจากรอยเล่ือนในชั(นหนิท่ีมพีลัง สว่นใหญ่อยูใ่นภาคเหนือและภาคตะวนัตก เชน่ รอยเล่ือนเชยีงแสน รอยเล่ือนแมท่า รอยเล่ือนเถิน รอยเล่ือนศรสีวสัดิ์ และรอยเล่ือนเจดีย์สามองค์ สว่นภาคใต้ เชน่ รอยเล่ือนระนอง และรอยเล่ือนคลองมะรุย่

Page 33: Lesson 3.1 Earthquake

คาบอุบติัซำ้าหมายถึง ระยะเวลาครบรอบของแผ่น

ดินไหวท่ีเคยเกิดขึ(น ณ ท่ีนั (นแล้วกลับมาเกิดซ้ำ(าในท่ีเดิมอีก อาจเป็นรอ้ยหรอืพนัปี หรอืน้อยกวา่นั(น

การศึกษารอยเล่ือนมพีลัง จะท้ำาให้ทราบศูนยก์ลางการเกิดแผ่นดินไหว ซึ่งสามารถน้ำามาค้ำานวณหาคาบอุบติัซ้ำ(าได้