manual for trainer

18
1 1. เทคนิคและวิธีการรณรงคการใหความสําคัญการบริหารการเงินสวนบุคคลและการสรางวินัยทาง การเงิน รวมทั้งการสรางเครือขายผูสนับสนุนความรูทางการเงิน 1.1 การจัดกิจกรรมผานเครือขายผูนํานักศึกษา ผานความรวมมือระหวางสถานศึกษา สถาบันการเงิน/หนวยงานที่เกี่ยวของ ที่สามารถเขาถึงกลุมเปาหมายไดโดยตรง เพื่อชวยเป!นแรงผลักดัน สนับสนุน และใหความรูไปสูกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา หนวยงานที่เกี่ยวของดานความรูทางการเงินควร สงผูเชี่ยวชาญหรือเจาหนาที่ที่เกี่ยวของไปใหความรูผานกลุมผูนําหรือเจาหนาที่มหาวิทยาลัยที่เกี่ยวของ เพื่อให เจาหนาที่เหลานั้น นําไปความรูไปถายทอดและขยายผลตอ ดังตัวอยางโครงการที่ปรากฏ ดังนีสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย4และตลาดหลักทรัพย4 (ก.ล.ต.) สมาคมบริษัทจด ทะเบียนไทย และสมาคมบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย4 เอ็ม เอ ไอ สนับสนุน โครงการ “โรงเรียนผูนํา ปลูกตนกลารักษาดินแดน” ของหนวยบัญชาการรักษาดินแดน โดยปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนใหมีเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดการการเงินสวนบุคคล และแนวคิดในการประกอบธุรกิจและการดําเนินชีวิต รวมถึง การมีภาวะผูนํา คุณธรรม และจริยธรรม เพื่อใหนักศึกษาวิชาทหารชั้นป=ที่ 4 และ 5 นําไปใชประโยชน4ในชีวิตการ ทํางานในอนาคต โดยมีเจาหนาที่จาก ก.ล.ต. ถายทอดความรูเกี่ยวกับการวางแผนการเงิน การออม และผูบริหารบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย4 เอ็ม เอ ไอ รวมถายทอด ความรูและประสบการณ4ทางธุรกิจ อีกทั้งเป@ดโอกาสใหศึกษาดูงานและฝBกงานในบริษัท โครงการที่จัดโดยตลาดหลักทรัพย4แหงประเทศไทย อาทิ - โครงการ "เงินทอง ของมีคา" เป!นหลักสูตรที่มีสาระสําคัญดานการวางแผน การเงินสวนบุคคล สําหรับกลุมนักเรียนระดับชั้น ป.1 - ม. 6 ของสถานศึกษา สังกัด สพฐ. กทม. อาชีวศึกษา และเอกชน - โครงการ “SET Junior Financial Club” เป!นหลักสูตรที่มีสาระสําคัญดาน การกําหนดเปาหมายของชีวิต การออม และการบริหารการเงินสวนบุคคล สําหรับกลุมเปาหมายที่เป!นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลาย - โครงการ “Young Financial Star Competition” เป!นโครงการแขงกันทีกระตุนใหผูเขาแขงขันไดมีความรูในการวางแผนการเงิน การลงทุน และการ ประกันชีวิต สําหรับกลุมนิสิต นักศึกษาที่กําลังศึกษาอยูปริญญาตรีชั้นป=ที่ 3 ถึง ปริญญาโท ทุกคณะ และทุกสาขาวิชา

Upload: buddykung

Post on 16-Aug-2015

31 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

1

1. เทคนิคและวิธีการรณรงค�การให�ความสําคัญการบริหารการเงินส�วนบุคคลและการสร�างวินัยทางการเงิน รวมท้ังการสร�างเครือข�ายผู�สนับสนุนความรู�ทางการเงิน

1.1 การจัดกิจกรรมผ�านเครือข�ายผู�นํานักศึกษา ผ�านความร�วมมือระหว�างสถานศึกษา สถาบันการเงิน/หน�วยงานท่ีเก่ียวข�อง ท่ีสามารถเข าถึงกลุ�มเป�าหมายได โดยตรง เพ่ือช�วยเป!นแรงผลักดัน สนับสนุน และให ความรู ไปสู�กลุ�มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา หน�วยงานท่ีเก่ียวข องด านความรู ทางการเงินควรส�งผู เชี่ยวชาญหรือเจ าหน าท่ีท่ีเก่ียวข องไปให ความรู ผ�านกลุ�มผู นําหรือเจ าหน าท่ีมหาวิทยาลัยท่ีเก่ียวข อง เพ่ือให เจ าหน าท่ีเหล�านั้น นําไปความรู ไปถ�ายทอดและขยายผลต�อ ดังตัวอย�างโครงการท่ีปรากฏ ดังนี้

• สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย4และตลาดหลักทรัพย4 (ก.ล.ต.) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย และสมาคมบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย4 เอ็ม เอ ไอ สนับสนุนโครงการ “โรงเรียนผู นํา ปลูกต นกล ารักษาดินแดน” ของหน�วยบัญชาการรักษาดินแดน โดยปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนให มีเนื้อหาเก่ียวกับการจัดการการเงินส�วนบุคคล และแนวคิดในการประกอบธุรกิจและการดําเนินชีวิต รวมถึง การมีภาวะผู นํา คุณธรรมและจริยธรรม เพ่ือให นักศึกษาวิชาทหารชั้นป=ท่ี 4 และ 5 นําไปใช ประโยชน4ในชีวิตการทํางานในอนาคต โดยมีเจ าหน าท่ีจาก ก.ล.ต. ถ�ายทอดความรู เก่ียวกับการวางแผนการเงิน การออม และผู บริหารบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย4 เอ็ม เอ ไอ ร�วมถ�ายทอดความรู และประสบการณ4ทางธุรกิจ อีกท้ังเป@ดโอกาสให ศึกษาดูงานและฝBกงานในบริษัท

• โครงการท่ีจัดโดยตลาดหลักทรัพย4แห�งประเทศไทย อาทิ

- โครงการ "เงินทอง ของมีค�า" เป!นหลักสูตรท่ีมีสาระสําคัญด านการวางแผนการเงินส�วนบุคคล สําหรับกลุ�มนักเรียนระดับชั้น ป.1 - ม. 6 ของสถานศึกษาสังกัด สพฐ. กทม. อาชีวศึกษา และเอกชน

- โครงการ “SET Junior Financial Club” เป!นหลักสูตรท่ีมีสาระสําคัญด านการกําหนดเป�าหมายของชีวิต การออม และการบริหารการเงินส�วนบุคคล สําหรับกลุ�มเป�าหมายท่ีเป!นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต นและตอนปลาย

- โครงการ “Young Financial Star Competition” เป!นโครงการแข�งกันท่ีกระตุ นให ผู เข าแข�งขันได มีความรู ในการวางแผนการเงิน การลงทุน และการประกันชีวิต สําหรับกลุ�มนิสิต นักศึกษาท่ีกําลังศึกษาอยู�ปริญญาตรีชั้นป=ท่ี 3 ถึงปริญญาโท ทุกคณะ และทุกสาขาวิชา

2

- โครงการป*จฉิมนิเทศ “บัณฑิตยุคใหม� ใส�ใจ” ท่ีเผยแพร�ความรู ด านการวางแผนการเงินส�วนบุคคล สําหรับนิสิต/นักศึกษาระดับปริญญาตรีป=สุดท าย

ท้ังนี้ การให ความรู ทางการเงินท่ีมีประสิทธิภาพควรเป!นรูปแบบของ “การเรียนรู โดยการลงมือทํา” (Learning-by-Doing) คือ ฝBกให ลงมือปฏิบัติจริงและมีการติดตามประเมินผลอย�างใกล ชิด ดังนั้น การทํากิจกรรมผ�านผู นํานักศึกษาหรือเจ าหน าท่ีท่ีเก่ียวข อง ซ่ึงมีความใกล ชิดและคลุกคลีอยู�กับกลุ�มเป�าหมายจะสามารถทําให เกิดผลในทางปฏิบัติได ค�อนข างดี

1.2 รูปแบบและเนื้อหาควรจะต�องปรับให�เหมาะสมกับลักษณะและความต�องการของกลุ�มเป2าหมายเป3นสําคัญ เช�น

•••• การอธิบายเนื้อหาควรเป!นกรณียกตัวอย�างให เห็นภาพ และใช คําพูดหรือภาษาท่ีสั้น กระชับ เข าใจง�าย เหมาะสมกับกลุ�มเป�าหมาย ตัวอย�างเช�น

ท่ีมา: https://www.facebook.com/aommoneyth/photos/pb.616175001768977.-2207520000.1431059789./626448467408297/?type=1&theater

•••• สอนในเรื่องท่ีกลุ�มเป�าหมายให ความสนใจ ตัวอย�างโจทย4สําคัญ ๆ เช�น

- นิสัยการใช เงิน บ�งบอกอนาคตได เลย อยากมีอนาคตปBVก เริ่มวางแผนจัดการการเงินต้ังแต�วันนี้

- ถ ามีเงิน 100,000 บาท การคิดว�าจะทํายังไงต�อไม�ใช�เรื่องยาก เรื่องยากคือ จะเริ่มต นเก็บเงินอย�างมีวินัยกับตัวเองเม่ือไหร�ดี

3

- ตัวช�วยท่ีดี สําหรับคนชอบช อป มาฝBกสติกัน เพ่ือเงินในกระเปYายังคงอยู� - เงินเดือนเท�าไหร�ไม�สําคัญ สําคัญท่ีใช อย�างไร คิดเริ่มต นวางเป�าหมายการใช เงิน

1.3 เลือกใช�ช�องทางหรือส่ือท่ีใช�สําหรับการรณรงค�และถ�ายทอดความรู�ทางการเงินท่ีสามารถ

เข�าถึงกลุ�มเป2าหมายได�อย�างมีประสิทธิภาพ เช�น การให ความรู โดยการสอดแทรกไปกับการใช ชีวิตประจําวัน เช�น การให ความรู ทางการผ�านเครือข�ายทางสังคม (Social network) ต�างๆ เช�น Facebook Line twitter เป!นต น รวมถึงจัดทําหนังสั้นท่ีสอดแทรกความรู ทางการเงิน และเป!นช�องทางท่ีอาจทําให เกิดแรงบันดาลใจให เรียนรู ได โดยตัวอย�างท่ีน�าสนใจ อาทิ

•••• Start to invest ศูนย4รวมให ความรู ด านการเงินและการลงทุน ท้ังทาง facebook

twitter www.start-to-invest.com และ App start-to-invest

ท่ีมา: https://www.facebook.com/StartToInvest?fref=ts

•••• Aommoney เว็บไซต4ให ความรู ทางการเงินอย�างถูกต องจากกูรู โดยมีจุดประสงค4เพ่ือสร างชุมชนเล็กๆ ในการให ความรู เรื่องการเงินท่ีถูกต อง จากนักเขียนผู ท่ีมีความรู ทางการเงินเป!นอย�างดีมาช�วยแชร4ประสบการณ4และให คําแนะนํา โดยนําเสนอออกมาในรูปแบบบทความ และอินโฟกราฟฟ@กท่ีง�ายต�อการทําความเข าใจ รวมถึงการพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ4ทางการเงิน เพ่ือนําไปปรับใช ในชีวิตประจําวันของทุกคนได

ท่ีมา: https://www.facebook.com/aommoneyth/info?tab=page_info

4

•••• www.maoinvestor.com เป!นการถ�ายทอดความรู ทางการเงิน โดยผ�านเรื่องราวของน องเม�าผู เริ่มต นโลดแล�นในตลาดทุน โดยมีความใฝhฝiนท่ีจะเป!นพญาปลวก แต�หนทางช�างยากลําบาก เธออาจจะตายในกองไฟระหว�างทาง

ท่ีมา: https://www.facebook.com/maoinvestor/info?tab=page_info

•••• Thai Mutualfund ติดตามข�าวสาร กิจกรรม และโปรโมชั่นกองทุนรวม ตรงจาก "โครงการให เงินทํางานผ�านกองทุนรวม" โดย สมาคมจัดการลงทุน (AIMC) และตลาดหลักทรัพย4แห�งประเทศไทย ท่ีมา: https://www.facebook.com/thaimutualfund/info?tab=page_info

•••• Maibat ข�อคิดการเงิน ข อคิดการเงินส�วนบุคคลเพ่ืออิสรภาพการเงินโดย Mr.MaiBat ด วยการสร างรายได ลดรายจ�าย วินัยออมเงิน และฉลาดลงทุน

ท่ีมา : https://www.facebook.com/maibat.money/info?tab=page_info

5

•••• Thailand Investment Forum สอนพ้ืนฐานลงทุน โดย Thailand Securities Institution ท่ีมา: https://www.facebook.com/ThInvestForum/info?tab=page_info

1.4 การรณรงค�ผ�านสถานศึกษาและสถาบันการเงินในการให�ความรู�ทางการเงินแก�กลุ�มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ส�งเสริมให ผู บริหารสถานศึกษาเห็นความสําคัญและจัดทําโครงการเพ่ือเผยแพร�ความรู ทางการเงินให กับนักเรียน/นักศึกษา ซ่ึงถือว�าเป!นส�วนหนึ่งของงานด านการบริหารบุคคลท่ีมีความสําคัญ ตัวอย�างเช�น “โครงการความร�วมมือระหว�าง ตลท. และสถาบันอุดมศึกษา (University Networking) สําหรับ นักเรียน นักศึกษา ผูdสอน บุคลากรในสถาบันการศึกษา และประชาชนท่ัวไป” โดยผ�านโครงการและกิจกรรมต�างๆ ดังนี้ 1) การให คําแนะนําหลักสูตรด านการเงินและการลงทุน 2) ความร�วมมือกับสถาบันการศึกษาในระดับภูมิภาค เพ่ือจัดต้ังศูนย4ข อมูลความรู ด านการเงินและการลงทุน

1.5 ความร�วมมือกันระหว�างหน�วยงานท่ีเก่ียวข�องช�วยในการเผยแพร�ความรู�ให�กับประชาชนไทยในวงกว�าง: เพ่ือเป!นแหล�งความรู ให กับผู นํากลุ�มเป�าหมายต�าง ๆ ท่ีจะสามารถเข ามาศึกษาและนําไปถ�ายทอดต�อได อาทิ

•••• เม่ือวันท่ี 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 กระทรวงการคลังได มีแต�งต้ังคณะกรรมการการให ความรู ทางการเงิน ซ่ึงประกอบไปด วยกรรมการและท่ีปรึกษาจากหน�วยงาน/องค4กรท่ีให ความรู ทางการเงินท้ังภาครัฐและภาคเอกชนจํานวน 32 ท�าน เพ่ือทําหน าท่ีเสนอแนะนโยบายและทิศทางการให ความรู ทางการเงินแก�ประชาชน รวมท้ังผู ประกอบการ จัดทําแผนการให ความรู พ้ืนฐานทางการเงิน กํากับ ติดตาม และเร�งรัดการดําเนินงานตามแผนการให ความรู พ้ืนฐานทางการเงิน นับเป!นความร�วมมือระหว�างหน�วยงานในความรู ทางการเงินต�าง ๆ ในการกําหนดทิศทางและการดําเนินนโยบายเพ่ือให ความรู ทางการเงินแก�คนไทยในระดับประเทศ ท้ังนี้ สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ร�วมกับ มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง (สวค.) ได ดําเนินโครงการการให ความรู และสร างวินัยทางการเงินของคนไทย เพ่ือเป!นส�วนหนึ่งในการสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการให ความรู ทางการเงินต้ังแต� ป= พ.ศ. 2556 เป!นต นมา ครอบคลุมหลากหลายกิจกรรม อาทิ การสํารวจความรู ทางการเงินของคนไทยท่ัวประเทศในหลายกลุ�มเป�าหมาย จัดทํามาตรฐานและหลักสูตรความรู ทางการเงินพ้ืนฐานสําหรับคนไทย จัดทําเว็บไซต4ความรู ทางการเงินให กับคนไทยและเชื่อมโยงลิงค4ไปยังหน�วยงานให ความรู ทางการเงินท่ีเก่ียวข อง การจัดฝBกอบรมนําร�องให กับผู ท่ีจะสามารถนําความรู ทางการเงินไปถ�ายทอดให กับกลุ�มเสี่ยงได ต�อไป เป!นต น

6

ท่ีมา: http://www.financialeducation.or.th/fpo/

• เม่ือวันท่ี 28 กรกฎาคม 2557 มูลนิธิซิตี้ ร�วมกับสถาบันคีนันแห�งเอเซีย จัดเวทีเสวนาระดมสมองเรื่อง “การพัฒนาทักษะชีวิต เรื่องความรูdในการบริหารการเงินส�วนบุคคล” ให แก�กลุ�มนักเรียน นักศึกษา ซ่ึงเป!นหนึ่งในกิจกรรมหลักภายใต การดําเนินโครงการวิจัย “คนไทยก าวไกล ใส�ใจการเงิน” ซ่ึงสนับสนุนโดยมูลนิธิซิต้ี โดยเชิญหน�วยงานท่ีเก่ียวข องทางด านการศึกษา อาทิเช�น สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รวมท้ังหน�วยงานท่ีสนับสนุนและผลักดันเรื่องการให ความรู ทางเ งินต�างๆ เช�น ธนาคารแห�งประเทศไทย กระทรวงการคลัง ตลาดหลักทรัพย4แห�งประเทศไทย ตลอดจนผู แทนเยาวชนจากท่ัวประเทศมาร�วมระดมสมอง เพ่ือหาทางออกท่ีเหมาะสม และร�วมกันพัฒนาองค4ความรู ด านการบริหารการเงินส�วนบุคคล รวมท้ังเสนอแนะช�องทางการเข าถึงกลุ�มเป�าหมาย อันได แก�กลุ�มเยาวชนไทย

7

การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางการเงิน

ให�ความรู�

จัดกิจกรรมการเรียนรู�

จัดปWจจัยแวดล�อมให�เหมาะสม

ปรับทัศนคติ

2. กลยุทธ�และแนวทางการจูงใจให�เกิดการปรับเปล่ียนทัศนคติและพฤติกรรมทางการเงิน โดยเฉพาะการมีวินัยทางการเงิน

การส�งเสริมให กลุ�มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาหรือรวมถึงกลุ�มอ่ืนๆ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางการเงินให มีความเหมาะสมได นั้น ผู ถ�ายทอดฯ จําเป!นต องเริ่มจากการให ความรู ทางการเงิน การปรับเปลี่ยนทัศนคติของกลุ�มเป�าหมาย การจัดกิจกรรมการเรียนรู รวมถึง การจัดปiจจัยแวดล อมให เหมาะสมและเอ้ือต�อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางการเงินของเป�าหมายเหล�านี้ อันจะทําให กลุ�มเป�าหมายมีพฤติกรรมทางการเงินท่ีเหมาะสม ตลอดจนมีวินัยทางการเงินท่ีดี

2.1 การปรับทัศนคติ

ทัศนคติ หมายถึง “ความโน มเอียงทางความรู สึกนึกคิดท่ีจะตอบสนองต�อวัตถุหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งในด านชอบหรือไม�ชอบ ความโน มเอียงทางความรู สึกนึกคิดนี้เกิดจากการเรียนรู ” (ศรัณยพงศ4 เท่ียงธรรม, 2547:127)

ทัศนคตินั้นถูกก�อร�างสร างข้ึนมาจากองค4ประกอบ 3 ส�วน ส�วนแรกคือ ความรู (Cognitive or Knowledge Component) ซ่ึงความรู ดังกล�าวเกิดจากประสบการณ4ท้ังทางตรงและทางอ อมจากข�าวสารข อมูลท่ีได รับ องค4ประกอบส�วนท่ีสองคือ อารมณ4ความรู สึก (Affective Component) เช�น ความรู สึกชอบ ไม�ชอบ ส�วนองค4ประกอบสุดท ายคือ พฤติกรรมหรือการกระทํา (Behavior Component) (Hawkins, Best and Coney, 1998:397, Chrisnall 1995 :81)

“ทัศนคติทางการเงิน” จึงเป!นสิ่งสําคัญท่ีจะทําให บุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมทางการเงิน ฉะนั้น ผู ถ�ายทอดจึงควรเริ่มต นท่ีการปรับทัศนคติของกลุ�มเป�าหมายให เขามีทัศนคติท่ีดี และถูกต องเก่ียวกับการบริหารการเงินส�วนบุคคล ท้ังในด านรายรับ รายจ�าย การออม และการลงทุน

8

ตัวอย�าง 1: การปรับทัศนคติ “การออม”

โดยท่ัวไป ความเชื่อหรือทัศนคติเก่ียวกับการออมมี 2 แบบคือ “เหลือใช ค�อยเอาไปเก็บ” และ “เหลือเก็บค�อยเอาไปใช ” ซ่ึงคนโดยส�วนใหญ�ท่ีไม�ประสบความสําเร็จในการออม ไม�สามารถออมได ตามท่ีต องการนั้น เนื่องจากมีแนวทางหรือนิสัยการออมแบบ “เหลือจ�ายค�อยเอาไปเก็บ” ซ่ึงท ายท่ีสุดแล วแทบจะไม�เหลือจากท่ีจ�าย ทําให แทบไม�มีเงินออม

ผู ถ�ายทอดฯ จึงควรปรับทัศนคติต�อการออมของกลุ�มเป�าหมายให ใช วิธี “เหลือเก็บค�อยเอาไปใช�” โดยอาจจูงใจหรือชี้ชวนให กลุ�มเป�าหมายเห็นว�าการออมเป!นรายจ�ายเพ่ืออนาคตท่ีจะต องให ความสําคัญเป!นลําดับแรก และทุกครั้งท่ีมีรายรับเข ามาให หักเป!นรายจ�ายสําหรับการออมเพ่ืออนาคตของตนเองก�อนเป!นอันดับแรก (pay yourself first)

หลังจากนั้นค�อยเป!นรายจ�ายเพ่ือชําระภาระหนี้สิน โดยควรจ�ายชําระเรียงลําดับตามภาระของอัตราดอกเบ้ีย จากหนี้สินท่ีมีอัตราดอกเบ้ียสูง ซ่ึงโดยส�วนใหญ�จะเป!นหนี้สินระยะสั้นได แก�หนี้สินจากบัตรเครดิต ท่ีหากชําระล�าช ากว�ากําหนดนอกจากจะเสียดอกเบ้ียจากยอดค�าใช จ�ายคงค างท่ีสูงแล ว ยังเสียค�าธรรมเนียมจากการชําระล�าช าอีกด วย และหนี้สินท่ีมีอัตราดอกเบ้ียตํ่าลดหลั่นลงมา ซ่ึงโดยส�วนใหญ�จะเป!นหนี้สินระยะยาว เช�นหนี้สินจากเงินกู ซ้ือรถยนต4 หรือบ านและท่ีดิน เป!นต น

หลังจากนั้นค�อยนําเงินส�วนท่ีเหลือจากการออมและการชําระหนี้ มาใช�จ�ายในชีวิตประจําวัน เพียงเท�านี้ก็จะสามารถบรรลุถึงระดับการออมตามท่ีต้ังใจไว ได และยังช�วยลดรายจ�ายประจําวันบางรายการท่ีฟุhมเฟ~อย ไม�จําเป!นลงได เนื่องจากเงินท่ีเหลือสําหรับการใช จ�ายในแต�ละเดือนน อยลง การใช จ�ายแต�ละอย�างจึงต องคิดให รอบครอบและคุ มค�ามากข้ึน

ท้ังนี้ การออมจะประสบความสําเร็จได นั้น ผู ออมนอกจากจะต องมีวินัยในการออมท่ีดี คือออมสมํ่าเสมอแล ว ยังต องพยายามท่ีจะลดหรือจํากัดศัตรูท่ีสําคัญของการออมลงให ได มากท่ีสุดอีกด วย โดยศัตรูท่ีสําคัญตัวแรกคือภาระหนี้สิน ซ่ึงมีท้ังหนี้สินดีและไม�ดี หนี้สิ้นดีได แก�หนี้สินท่ีสร างความม่ังค่ังหรือก�อให เกิดรายได ในอนาคต เช�น หนี้สินจากการกู ซ้ือบ าน การซ้ือรถยนต4 หรือหนี้สินเพ่ือการศึกษาพัฒนาทักษะการทํางานอันจะนํามาซ่ึงผลตอบแทนจากการทํางานหรือเงินเดือนในอนาคตท่ีสูงข้ึน หรือหนี้สิ้นท่ีเกิดจากการกู ยืมเพ่ือลงทุนทําธุรกิจการค าท่ีให ผลตอบแทนสูงกว�าต นทุนการกู ยืมหรืออัตราดอกเบ้ียทําให มีรายได สุทธิเพ่ิมสูงข้ึน เป!นต น

ท่ีมา: สมาคมนักวางแผนการเงินไทย, 2558

9

ตัวอย�าง 2: การปรับทัศนคติ “การลงทุนในหุ�น”

การลงทุนในหุ�นคือการลงทุนในธุรกิจ ผู ถ�ายทอดฯ ต องทําให กลุ�มเป�าหมายตระหนักว�าการลงทุนในหุ นนั้น เขาต องรู และเข าใจว�าหุ นตัวนั้นๆ ทําธุรกิจแบบไหน แนวโน มของธุรกิจเป!นอย�างไร มีฐานะทางการเงินเป!นอย�างไร พิจารณาเหมือนการลงทุนในธุรกิจใดหนึ่ง ไม�ใช�พิจารณาเพียงราคาหุ นอย�างเดียว

ถ�าอยากได�ส่ิงท่ีดีท่ีสุด อยากรวยหุ�น อยากมีอิสรภาพทางการเงิน เราก็ต�องทุ�มเทท้ังใจและเวลาให�กับมัน ผู ถ�ายทอดฯ ต องทําให กลุ�มเป�าหมายตระหนักถึงการเลือกรูปแบบลงทุนท่ีตรงกับความพึงพอใจและระดับความเสี่ยงของแต�ละบุคคล กล�าวคือ ถ าหากไม�มีใจรักในการลงทุนในหุ นก็อยู�ในตลาดหุ นไม�ได นาน ตลาดหุ นไม�ใช�ท่ีๆ จะทําให ใครรวยได ง�าย และรวยเร็วแบบข ามคืน หากคิดว�าการเล�นหุ นเป!นแค�งานอดิเรกท่ีไม�ต องศึกษามากมาย เล�นไปเด่ียวก็รวยแล ว ซ่ึงคนท่ีคิดแบบนี้ ขาดทุนกลับไปทุกราย

ถ�าอยากเก�งเรื่องหุ�น ก็ต�องยอมลงทุนในการหาความรู� ผู ถ�ายทอดฯ ต องทําให กลุ�มเป�าหมายตระหนักถึงความสําคัญของความรู อย�าคิดว�าหนังสือแพง ค�าอบรมหรือสัมมนาแพง ซ่ึงจริงๆ แล วเป!นเงินลงทุนท่ีไม�แพงนัก เม่ือเทียบกับการขาดทุนในอนาคต เพียงเพราะว�าลองผิดลองถูกเอง โดยไม�ยอมลงทุนกับความรู ในการลงทุน ท้ังนี้การลงทุนท่ีต นทุนตํ่าก็มี เช�น การอ�านรายงานประจําป= อันจะช�วยให เข าใจในธุรกิจของหุ นท่ีจะลงทุนมากข้ึน เป!นต น

อย�าไปคาดหวังผลตอบแทนสูงเกินไป ผู ถ�ายทอดฯ ต องทําให กลุ�มเป�าหมายคาดหวังผลตอบแทนเท�าท่ีแต�ละบุคคลพอทําได อาจให คาดหวังน อยๆ ก�อน แล วก็ต องพอใจเท�าท่ีมี เช�น หวังผลตอบแทนเฉลี่ยป=ละ 15% ก็พอแล วทบต นหลายๆ มีมันก็เยอะไปเอง ซ่ึงการคิดแบบนี้มันจะทําให เราลงทุนแบบมีความสุขดีด วย และท่ีน�าแปลกใจก็คือ แม จะคาดหวังน อย แต�มันมักจะได เยอะไปเอง อันนี้อาจเป!นเพราะเราไม�ได กดดันตัวเองมาก ว�าต องทํากําไรมากๆ แค�มีความสุขกับกับสิ่งท่ีทํา มันก็จะทําให ผลงานออกมาดี

ปกป2องต�นทุนก�อน แล�วค�อยทํากําไร เนื่องจากนักลงทุนมือใหม�มักจะมองและมุ�งแต�กําไร คาดหวังกําไรมากๆ เป!นอันดับแรก ทําให มักจะลงทุนเกินตัวและเล�นในเกมท่ีมีความเสี่ยงสูง ซ่ึงท่ีจริงแล วต องปกป�องทุนของเราเอาไว ให ได ก�อน แม แต�นักลงทุนระดับโลกอย�าง Buffet หรือ Soros ก็ยังให ความสําคัญของเรื่องนี้ไว เป!นอันดับแรก โดยเฉพาะ Buffet ถึงกับต้ังกฎการลงทุนของท�านไว 2 ข อว�า (1) อย�าขาดทุน (2) อย�าลืมกฎข อหนึ่ง ให เลือกลงทุนโดยเน นการลงทุนแบบขยายผลตอบแทนให มากท่ีสุด โดยลดความเสี่ยงให ตํ่าท่ีสุดเท�าท่ีจะทําได เลือกเล�นในเกมท่ีเราโอกาสได มีมากกว�าเสีย ไม�ใช�โอกาสได เสีย 50:50 เป!นต น อย�างไรก็ดี การเลือกลงทุนในหุ นท่ีมีความเสี่ยงต�างกันนี้ ควรเลือกให เหมาะสมกับพฤติกรรมการยอมรับความเสี่ยงของแต�ละบุคคล แนวโน มอุตสาหกรรม ตลอดจนภาวะตลาดโลก อันอาจส�งผลต�อราคาหุ นท่ีสนใจซ้ือ

ท่ีมา: www.stocktipdd.com

10

การจัดกิจกรรมการเรียนรู� เพ่ือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางการเงิน

ระดับบุคคล

● การสนทนา

● การให คําปรึกษารายบุคคล

ระดับกลุ�มบุคคล

● การบรรยาย ● การสาธิต ● การใช กรณีตัวอย�าง/บุคคลต นแบบ ● การแข�งขัน ● การใช สถานการณ4จําลอง/การแสดงบทบาทสมมติ ● การบรรยาย/อภิปรายหมู� ● การจัดนิทรรศการ

2.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู�เพ่ือปรับเปล่ียนพฤติกรรม

การจัดกิจกรรมการเรียนรู เพ่ือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางการเงิน มีเป�าหมายเพ่ือให กลุ�มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางการเงินท่ีถูกต องและเหมาะสม ท้ังในด านการหาเงิน (รายรับ)และการใช เงิน (รายจ�าย, ออม, ลงทุน) ให เป!นไปอย�างเหมาะสมและมีความม่ันคงตามวัยและความจําเป!นของแต�ละบุคคล ท้ังนี้ ผู ถ�ายทอดฯ สามารถใช สื่อหรืออุปกรณ4ต�างๆ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพ่ือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางการเงินของกลุ�มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาท้ังในระดับบุคคล และระดับกลุ�มบุคคล โดยบูรณาการแนวทางในการจัดการเรียนรู ระหว�างวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู การจัดปiจจัยแวดล อมท่ีเอ้ือต�อการเรียนรู และการใช สื่อเพ่ือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางการเงินท่ีเหมาะสม

ท่ีมา: กระทรวงสาธารณสุข

11

ตัวอย�างกิจกรรม 1: “วางแผนการเงินตลอดชีวิต”

1. กําหนดอายุเป2าหมาย...คาดว�าจะมีอายุถึงเท�าใด? จะเกษียณตอนไหน? ในข้ันตอนแรกนั้น ให กลุ�มเป�าหมายระบุหรือกําหนดอายุขัยของตนเอง กล�าวคือคาดว�าตนเองจะมีอายุอยู�ถึงก่ีป= เช�น 85 ป= เป!นต น และกําหนดอายุที่จะเกษียณ เช�น อาจกําหนดเป�าหมายว�าจะเกษียณอายุตอนอายุ 60 หรือ 65 ป= หรือบางคนอาจมีเป�าหมายเกษียณตั้งแต�อายุ 50 ป= เป!นต น เพื่อประโยชน4ในการวางแผนในข้ันตอนถัดไป

2. คาดการณ�อนาคตหลังเกษียณ เป!นการประเมินรายรับและรายจ�ายในช�วงภายหลังเกษียณ โดยรายรับอาจมาจากหลายแหล�ง เช�น บําเหน็จหรือบํานาญ และเงินจากกองทุนบําเหน็จบํานาญข าราชการ (กบข.) ในกรณีข าราชการ หรือเงินจากกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และกองทุนประกันสังคม ในกรณีพนักงานบริษัทเอกชน และรวมถึงเงินออมที่นําไปลงทุนและผลตอบแทน โดยในช�วงหลังเกษียณนี้จะเน นพิจารณาเงินลงทุนและผลตอบแทนที่เป!นรายรับ พร อมทั้งประเมินอัตราเงินเฟ�อที่คาดการณ4ด วย ส�วนด านรายจ�ายนั้น อาจประเมินเป!นรายจ�ายต�อป=ที่คาดการณ4ตลอดช�วงอายุภายหลังเกษียณ เช�น ป=ละ 250,000 บาท เป!นต น ทั้งนี้ ควรคํานึงถึงค�ารักษาพยาบาลที่อาจเพิ่มข้ึนตามวัยด วย

3. คํานวณเงินที่ต�องมี ณ วันที่เกษียณอายุ เป!นการคํานวณหามูลค�าปiจจุบันของรายรับและรายจ�ายสุทธิภายหลังเกษียณ ณ วันที่เกษียณอายุด วยสูตรดังนี้

4. วางแนวทางการออมและการลงทุนเพ่ือเกษียณอายุ เม่ือทราบจํานวนเงินที่ต องมี ณ วันเกษียณแล ว ก็สามารถทราบแนวทางการออมและการลงทุนในปiจจุบันได โดยแบ�งได เป!น 2 กรณี ดังนี้

1) กรณีกําหนดอัตราผลตอบแทนที่เป!นไปได แล วจึงคํานวณจํานวนเงินลงทุนรายป=เงินลงทุนก�อนเกษียณ อันนําไปสู�การวางแผนการออมรายเดือนเพื่อให ได เงินลงทุนรายป=ที่ต องการ

2) กรณีกําหนดรายได และเงินลงทนุรายป=ก�อนแล วจึงคํานวณหาอัตราผลตอบแทนที่ทาํให เงินออมสะสม และเงนิลงทนุดังกล�าวมีมูลค�าเท�ากับเงนิที่ต องมี ณ วนัเกษียณในเวลาที่กําหนด ซ่ึงกรณีนี้ผู ลงทนุต องยอมรับว�าอัตราผลตอบแทนอาจไม�สอดคล องกับพฤติกรรมความเสี่ยงของตนเอง

12

ตัวอย�างกิจกรรม 2: การยกกรณีศึกษา “จัดพอร�ตลงทุน”

ตัวอย�างการลงทุนของนักศึกษา

ท่ีมา:http://topicstock.pantip.com/sinthorn/topicstock/2012/01/I11594459/I11594459.html

จากกรณีนักศึกษาท�านนี้ เม่ือทราบเงินออมในแต�ละเดือนแล ว แต�ไม�รู จะลงทุนอย�างไร

ปWญหา: ไม�ทราบว�าตนเองควรลงทุนในสินทรัพย4ประเภทใด อย�างไร

แนวทางลงทุน: ในข้ันแรกควรประเมินความเสี่ยงท่ีตนเองยอมรับได และกําหนดเป�าหมายการลงทุนก�อน แล วจึงจัดพอร4ตการลงทุนและเลือกลงทุนในสินทรัพย4ให สอดคล องกับแผนท่ีวางไว เช�น หากตนเองสามารถรับความเสี่ยงได ในระดับปานกลาง มีเป�าหมายการลงทุนเพ่ือสร างความม่ังคงในอนาคต (มีเงินซ้ือรถยนต4 1 คันเม่ือเรียนจบ) ซ่ึงเหลือระยะเวลาอีก 3 ป=จึงเรียบจบ ดังนั้น ตอนนี้จะทราบรายจ�ายในอนาคต (ท้ังจํานวนเงินดาวน4 เงินผ�อนในแต�ละงวด และเวลาท่ีต องจ�าย) ต�อจากนี้ก็ประเมินเงินออมสะสมในปiจจุบัน และเงินออมในแต�ละเดือน เพ่ือประเมินอัตราผลตอบแทนท่ีทําให ตนเองมีรายได เพียงพอต�อรายจ�าย และเป!นความเสี่ยงท่ียอมรับได

13

ตัวอย�างกิจกรรม 3: ทดลองลงทุนในสินทรัพย�ลงทุนประเภทต�างๆ

1. ทดลองลงทุนในกองทุนรวม ซ่ึงมีระบบจําลองการลงทุนท่ีจัดทําข้ึนโดยwww.wealthmagik.com โดยสามารถสมัครสมาชิกและทดลองลงทุนได ท่ีhttps://www.wealthmagik.com/LoginDialog.aspx

2. ทดลองลงทุนในหุ�น เป!นการทดลองซ้ือขายหุ นโดยใช เงินสมมติ ภายใต สถานการณ4จริงในตลาดหุ น โดยมีเงินสมมติให ในพอร4ตจํานวน 5 ล านบาท และในแต�ละรอบการแข�งขัน ผู ชนะท่ีมีมูลค�าพอร4ตสูงท่ีสุดจะได รับเงินรางวัลเป!นเงินจํานวนหนึ่งให ไปทุนในการซ้ือขายหุ นในตลาดจริง โดยสามารถดูรายละเอียดเพ่ิมเติมได ท่ี http://click2win.settrade.com/SETClick2WIN/index.jsp

14

ปiจจัยแวดล อมท่ีเอ้ือต�อการปรับเปลี่ยน

พฤติกรรมทางการเงิน

ปWจจัยแวดล�อมภายใน

ปWจจัยแวดล�อมภายนอก

2.3 การจัดปWจจัยแวดล�อมท่ีเอ้ือต�อการปรับเปล่ียนพฤติกรรมทางการเงิน

ปiจจัยแวดล อม คือ สิ่งต�างๆท่ีอยู�รอบตัวเรา และมีความสัมพันธ4หรือมีอิทธิพลต�อพฤติกรรมทางการเงินของบุคคล ท้ังนี้ปiจจัยแวดล อมบางประการอาจส�งผลกระทบโดยตรง และบางประการอาจส�งผลกระทบโดยทางอ อมต�อพฤติกรรมทางการเงินของบุคคล ซ่ึงปiจจัยแวดล อมเหล�านี้อาจแบ�งได เป!น 2 ประเภทใหญ� ๆ คือ ปiจจัยแวดล อมภายใน และปiจจัยแวดล อมภายนอก

ปiจจัยแวดล อมภายในท่ีมีอิทธิพลต�อพฤติกรรมทางการเงินของบุคคล เช�น ทัศนคติของบุคคลนั้นๆ

ระดับความรู หรือการศึกษา รวมถึงเพ่ือน และครอบครัว เป!นต น

ตัวอย�างกิจกรรม 4: Young Financial Star Competition

ผู ถ�ายทอดฯ อาจสนับสนุนหรือแนะนําให กลุ�มเป�าหมายได รู จักและเข าร�วมกิจกรรมเก่ียวกับความรู ทางการเงิน เช�น Young Financial Star Competition ซ่ึงเป!นกิจกรรมการแข�งขันความรู ความสามารถทางการเงินในระดับอุดมศึกษา ท่ีจัดข้ึนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นป=ท่ี 3 ถึงระดับปริญญาโท ในทุกคณะ ทุกสาขาวิชา อายุไม�เกิน 25 ป= ชิงรางวัลรวมกว�า 6,000,000 บาท ซ่ึงจัดโดยตลาดหลักทรัพย4แห�งประเทศไทย ร�วมกับ บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จํากัด (มหาชน) บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) บริษัท ตลาดสัญญาซ้ือขายล�วงหน า (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และหน�วยงานต�างๆ ในตลาดทุน

รายละเอียดเพ่ิมเติมท่ี http://www.set.or.th/yfs/2015/home/index.html

15

ปiจจัยแวดล อมภายนอกท่ีมีอิทธิพลต�อพฤติกรรมทางการเงินของบุคคล เช�น เทคโนโลยีทางการเงิน สังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนสถาบันท่ีเก่ียวข อง ซ่ึงหมายรวมถึงสถาบันการศึกษา สถาบันการเงิน ตลอดจนหน�วยงานท่ีให ความรู ทางการเงิน เป!นต น

หลักการจัดปWจจัยแวดล�อมท่ีเอ้ือต�อการปรับเปล่ียนพฤติกรรม

การจัดปiจจัยแวดล อมท่ีเอ้ือต�อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางการเงิน หมายถึง การจัดการกับสิ่งต�าง ๆ สภาวะแวดล อมท่ีอยู�รอบ ๆ ตัวกลุ�มเป�าหมาย ท้ังท่ีเป!นรูปธรรมและนามธรรม ซ่ึงสิ่งต�างๆเหล�านี้ ส�งผลต�อกลุ�มเป�าหมายท้ังทางบวกและทางลบ และมีผลกระทบต�อประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเรียนรู ด านการเงินของกลุ�มเป�าหมาย เช�น สภาพของมหาวิทยาลัย มีสื่อ สิ่งอํานวยความสะดวก และบุคลากรท่ีให ความรู และคําปรึกษาทางการเงินท่ีมีคุณภาพเหมาะสม และสนับสนุนการเรียนรู ด านการบริหารการเงินส�วนบุคคล ซ่ึงจะส�งผลทางบวกต�อกลุ�มเป�าหมาย ทําให กลุ�มเป�าหมายเกิดการเรียนรู อย�างมีความสุข มีความต้ังใจและกระตือรือร นในการเรียนรู ด านการบริหารการเงินส�วนบุคคล

การจัดสภาพแวดล อมการเรียนรู ในปiจจุบันนั้น สามารถทําได อย�างกว างขวาง ยกตัวอย�างเช�น การจัดศูนย4การเรียนรู ด านการบริหารการเงินส�วนบุคคล จะช�วยให กลุ�มเป�าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางการเงิน สามารถใช เป!นแหล�งค นคว าหาความรู เพ่ิมเติมได ตลอดเวลาท่ีต องการ อันเป!นการส�งเสริมการเรียนรู ด วยตนเอง สามารถจัดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเงินได อย�างดี ซ่ึงแนวทางปฏิบัติในการจัดศูนย4การเรียนรู ต�างๆ นั้นควรท่ีต องดําเนินการดังนี้

1. ศึกษาความต องการและปiญหาในการจัดศูนย4การเรียนรู ด านการบริหารการเงินส�วนบุคคล เ พ่ือให ได ข อมูลท่ีจะนํามาจัดปiจจัยแวดล อมได ถูกต องตรงตามความต องการของกลุ�มเป�าหมาย

2. วิเคราะห4กลุ�มเป�าหมายท่ีจะมาใช บริการว�ามีความต องการท่ีเฉพาะเจาะจงต�อเรื่องใดเรื่องหนึ่งเก่ียวกับด านการบริหารการเงินส�วนบุคคลหรือไม� อย�างไร

3. วิเคราะห4เนื้อหาท่ีจะให บริการว�ามีความต องการเนื้อหาใด ตรงหรือสอดคล องกับความต องการของกลุ�มเป�าหมายหรือไม�

4. กําหนดพ้ืนท่ีและบริเวณท่ีเหมาะสม 5. ดําเนินการจัดพ้ืนท่ีบริเวณต�างๆ โดยเน นบรรยากาศท่ีเอ้ือต�อการเรียนรู สามารถใช สอยพ้ืนท่ี

ให เกิดประโยชน4สูงสุด และสะดวกต�อการเข าถึงบริการ 6. กําหนดผู รับผิดชอบและข อปฏิบัติในการใช บริการ เพ่ือให ข อตกลงร�วมกันของสมาชิกในการ

ท่ีจะก�อให เกิดความราบรื่นในการดําเนินงาน 7. มีการกําหนดแผนในการนําเสนอเนื้อหาด านการบริหารการเงินส�วนบุคคลท่ีสอดคล องกับ

ปiญหาในพ้ืนท่ีและความต องการของกลุ�มเป�าหมายท่ีใช บริการ

16

3. การเป3นผู�แนะนําและให�ความรู�ทางการเงินสําหรับกลุ�มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา

ผู แนะนําและให ความรู ทางการเงินหรือผู ถ�ายทอดฯ ท่ีดี ควรมีคุณสมบัติดังนี้

1) บุคลิกภาพ ผู ถ�ายทอดฯ ควรมีความเชื่อม่ันในตนเอง มีความรับผิดชอบ ตรงต�อเวลา การ

แสดงออกท้ังคําพูด น้ําเสียงมีความกระตือรือร นในการถ�ายทอดความรู ซ่ึงจะช�วยให ผู รับความรู ต่ืนตัวและติดตามเนื้อหาสาระของความรู

2) ความรู ในเรื่องท่ีสอน ผู ถ�ายทอดฯ ควรมีความรู หรือมีประสบการณ4เก่ียวกับเรื่องท่ีแนะนําหรือถ�ายทอดความรู เป!นอย�างดี โดยเฉพาะเรื่องท่ีควรมุ�งเน นของกลุ�มเป�าหมาย สามารถลําดับเนื้อหาการสอนได อย�างเหมาะสม เช�น ลําดับเนื้อหาท่ีน�าสนใจท่ีสุดไว ตอนต นและตอนสุดท าย หรือเรียงลําดับตามเรื่องท่ีควรสอนเป!นพ้ืนความรู ก�อนเพ่ือให สามารถเข าใจในเรื่องหลัง ๆ ได เป!นต น การเล�าประสบการณ4หรือเทคนิคของผู แนะนําและให ความรู จะเป!นสูตรสําเร็จให ผู เรียนนําไปประยุกต4ใช ได เป!นอย�างดี

3) ความสามารถหรือทักษะ โดยความสามารถท่ีผู ถ�ายทอดฯ ควรมี ได แก�

o ความสามารถในการถ�ายทอด ผู ถ�ายทอดฯ สามารถสื่อสารในเรื่องท่ีต องการได อย�างถูกต อง และผู รับการถ�ายทอดเกิดความเข าใจ สามารถเชื่อมโยงความรู หรือประสบการณ4 โดยใช การนําเสนอท่ีกระตุ นให ผู ฟiงอยากเรียนรู เช�น - ยกตัวอย�างกรณีศึกษา ซ่ึงจะทําให ผู เรียนเข าใจเนื้อหาได ง�ายข้ึน และจดจําได

นานข้ึน - ใช ภาษาท่ีเข าใจได ง�าย เช�น กลุ�มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา อาจใช ภาษาท่ี

วัยรุ�นเข าใจง�าย หรือหากเป!นกลุ�มท่ีเรียนการเงินก็อาจใช ศัพท4ทางการเงินเพ่ือให สามารถสื่อสารหรือถ�ายทอดได อย�างรวดเร็วแต�ตรงตามความต องการมากยิ่งข้ึน

- ใช น้ําเสียงสูงตํ่า ไม�ราบเรียบ นั่นคือ มีการเน นคํา มีจังหวะการพูด ไม�พูดเสียงเบาหรือดังเกินไป

- แสดงท�าทางประกอบการสอน ไม�ยืนพูดตัวตรงเพียงอย�างเดียว - มีอารมณ4ขัน เพ่ือช�วยสร างบรรยากาศไม�ให น�าเบ่ือ ซ่ึงการพูดให สนุกนั้นควร

สอดแทรกสาระเข าไปด วย

o ความสามารถในการจูงใจผู ฟiง ผู แนะนําและให ความรู ทางการเงินควรรู จักลักษณะและปiญหาของกลุ�มเป�าหมายเป!นอย�างดี ทําให ทราบว�าจะสร างแรงจูงใจในการเรียนรู ของกลุ�มเป�าหมายได อย�างไร การจัดกิจกรรมละลายพฤติกรรมเพ่ือทําความรู จักและเรียนรู เพ่ิมเติมระหว�างผู ถ�ายทอดและผู รับความรู จะช�วยให ผู แนะนําและถ�ายทอดความรู เรียนรู กลุ�มเป�าหมายได เพ่ิมเติมในระหว�างการเรียนรู เนื้อหา ทําให ช�วยรู ภูมิหลังและพ้ืนความรู ของผู เรียน เพ่ือท่ีวิทยากรจะสามารถเลือกวิธีทํากิจกรรมได เหมาะสมกับความสนใจของกลุ�มเป�าหมาย ควรมีการกระตุ นผู เรียนรู ในกระบวนการถ�ายทอดความรู ควรสังเกตปฏิกิริยาของผู รับความรู อย�างระมัดระวัง

17

(ท้ังท่ีแสดงออกเป!นคําพูดหรือท�าทาง) สิ่งนี้จะบอกเป!นนัยว�ากลุ�มเป�าหมายสามารถซึมซับเนื้อหาหรือมีแรงจูงใจท่ีจะเรียนรู มากน อยเพียงใด

o ความสามารถในการแก ปiญหา ผู แนะนําและให ความรู อาจเผชิญกับปiญหาเฉพาะหน าท่ีไม�ได เตรียมมา ท้ังในเรื่องของการสอน การทํากิจกรรม หรืออ่ืน ๆ เพ่ือเป!นการป�องกัน หรือทําให เกิดปiญหาน อยลง จึงควรเตรียมตัว ดังนี้ - ตรวจสอบข อมูล: ตรวจสอบก�อนว�ากลุ�มเป�าหมายท่ีจะไปสอนเป!นคนกลุ�มใด

เพ่ือจะได สามารถคาดการณ4ได ว�าประเด็นท่ีคนกลุ�มนี้ส�วนใหญ�สนใจเรียนรู เรื่องใด หรือมีพ้ืนความรู ระดับใดอยู�แล ว จะได เตรียมตัวเป!นพิเศษในเรื่องนั้น ๆ

- สมมติสถานการณ4: ลองคาดการณ4ว�าหากสอนเรื่องใด ผู เรียนรู จะถามคําถามใดบ าง หรือหากผู เรียนรู ก�อปiญหาทําอย�างไร เช�น คุยกันเอง ก�อความรําคาญให คนอ่ืน ผู แนะนําและให ความรู อาจแก ปiญหาได โดยเชิญคนใดคนหนึ่งท่ีคุยนั้นออกมาแสดงความคิดเห็น เป!นต น

- มีแผนสํารอง: เช�น ถ าสื่อการสอนท่ีเตรียมไป ไม�สามารถใช ได กับสถานท่ีนั้น ก็มีสื่ออ่ืนทดแทน หรือถ าต องใช เวลาในการถ�ายทอดความรู มากกว�าท่ีเตรียมมา ก็ควรมีเนื้อหาส�วนอ่ืนมาสอนเพ่ิมเติม เป!นต น

18

แหล�งอ�างอิง

GUIDE FOR TRAINERS: A manual on techniques of training in precursor control.). New Delhi: United Nations Office on Drugs and Crime, Regional Precursor Control Project for SAARC Countries.

Stocktipdd, “ทัศนคติท่ีถูกต องของการลงทุนหุ น มีอะไรบ าง?”

http://www.stocktipsdd.com/stock-investing-attitude-is-key-to-winning/

กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข “วิธีการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ” เล�มท่ี 4

ศรีนวล สงวนไว . Train the trainer. เข าถึงเม่ือ 16 เมษายน 2558 จาก http://www.slideshare.net/coloradostatelibrary/101-interactive-training-techniques.

สมาคมนักวางแผนการเงินไทย (2558) "สร างฐานความม่ังค่ังด วยการออม" http://www.tfpa.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=63&catid=27

สมชาติ กิจยรรยง. (2555). เทคนิคการเปrนวิทยากรท่ีประสบความสําเร็จ (1 ed.). กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร4เน็ท.