metal and metal corrosion

54
Metals and metal corrosion Metal and alloys Metal corrosion These subjects will be presented according to the curriculum of Apply Chemistry (02-411-105), Faculty of Science and Technology, RMUTP Dr.Woravith Chansuvarn

Upload: woravith-chansuvarn

Post on 14-Jun-2015

4.680 views

Category:

Education


8 download

TRANSCRIPT

Page 1: Metal and metal corrosion

Metals and metal corrosion

Metal and alloys Metal corrosion

These subjects will be presented according to the curriculum of Apply Chemistry (02-411-105), Faculty of Science and Technology, RMUTP

Dr.Woravith Chansuvarn

Page 2: Metal and metal corrosion

ทบทวน

2

Page 3: Metal and metal corrosion

ทบทวน-โครงผลึกของโลหะ

3

Page 4: Metal and metal corrosion

4

90% ของโลหะมีรูปผลกึเป็น body centered cubic (BCC) อีก 10% จะเป็น face centered cubic (FCC) และ hexagonal close packed (HCP)

BCC FCC

HCP

Page 5: Metal and metal corrosion

โครงผลึกของโลหะ

5

Page 6: Metal and metal corrosion

ตารางเปรียบเทยีบสมบัตโิลหะ อโลหะและกึ่งโลหะ

6

Page 7: Metal and metal corrosion

สมบัตขิองโลหะ

โลหะ คือ วสัดท่ีุประกอบด้วยธาตโุลหะที่มีอิเลก็ตรอนอิสระอยู่มากมาย นัน่คืออิเลก็ตรอนเหลา่นีไ้ม่ได้เป็นของอะตอมใดอะตอมหนึง่โดยเฉพาะ ท าให้มนัมีคณุสมบตัิพิเศษหลายประการ เช่น เป็นตวัน าไฟฟ้าและความร้อนได้ดีมาก ไม่ยอมให้แสงผ่าน ผิวของโลหะท่ีขดัเรียบจะเป็นมนัวาว

โลหะมีความแข็งแรงพอสมควรและสามารถแปรรูปได้จงึถกูใช้งานในด้านโครงสร้างอย่างกว้างขวาง

ตวัอย่างโลหะ เหลก็ ทอง เงิน ทองแดง ตะกัว่

7

Page 8: Metal and metal corrosion

สมบัตโิลหะ - เหล็ก

8

เหล็ก (lron) จะใช้สญัลกัษณ์วา่ Fe ซื่อมาจากภาษาละติน Ferrum ถือได้วา่เป็นวสัดวุิศวกรรมตวัหนึง่ ซึง่มาทางสายโลหะ กลุม่เหลก็ได้จากการแปรรูปจากสนิแร่เป็นโลหะ หรือด้วยการถลงุแร่

เป็นตวัไฟฟ้าและน าความร้อนได้ด ี เคาะมีเสียงดงักงัวาน มีความเเข็งแรงและความเหนียว ผิวขดัเป็นเงา มนัวาวได้ จดหลอมเหลวคอ่นข้างสงู มีความคงทนถาวร

Page 9: Metal and metal corrosion

9

แมงกานิส (Mn) เป็นโลหะหนกั มีสีขาวเทา จดุหลอมเหลว 1250 C • เม่ือเติมลงไปในเหลก็จะท าให้เหลก็ทนทานตอ่แรงดงึมากขึน้

• ลดคณุสมบตัิในการเป็นตวัน าไฟฟ้าและความร้อนในสเตนเลส

โครเมียม (Cr) จะเป็นตวัช่วยเพิ่มความต้านทานตอ่การกดักร่อนในสภาพบรรยากาศทัว่ไป สเตนเลสต้องมีโครเมียมผสมอยูอ่ยา่งน้อย 10.5 %

นิกเกิล (Ni) ช่วยเพิ่มความต้านทานการกดักร่อน เพิ่มความสามารถในการขึน้รูปเยน็ได้ดี เพิ่มความสามารถในการเช่ือมสเตนเลส สว่นใหญ่จะผสมอยู ่2 ช่วง คือ 0% (ปริมาณเลก็น้อยท่ีติดมากบัเหลก็) และ 9% (6-15%)

Page 10: Metal and metal corrosion

10

โมลิบดีนัม (Mo) ช่วยเสริมผลความต้านทานการกดักร่อนของโครเนียม

ไททาเนียม (Ti) ช่วยปรับปรุงความต้านทานตอ่การกดักร่อนของโครเมียมโดยจะป้องกนัการเกิดโครเมียมคาร์ไบด์

ทองแดง (Cu) คณุสมบตัิออ่นเหนียว ขยายตวัแยกตวัได้ดี เป็นตวัน าไฟฟ้าที่ดีทนตอ่การกดักร่อน ใช้ผสมในสเตนเลสบางเกรดเพื่อปรับปรุงคณุสมบตัิด้อยบางประการของสเตนเลสให้ดีขึน้

Page 11: Metal and metal corrosion

สมบัตขิองโลหะเจือ

11

โลหะเจือหรือโลหะผสม (หรือท่ีเรียกวา่ อลัลอย) คือวสัดท่ีุเกิดจากการรวมกนัของโลหะตัง้แต ่2 ชนิดขึน้ไปตามอตัราสว่นเพื่อให้ได้คณุสมบตัิทางกล ทางไฟฟ้าและเคมีตามความต้องการ โดยวสัดโุลหะเจือท่ีได้จะมีคณุสมบตัิแตกตา่งจากสว่นประกอบเดิมของมนั ถ้าเกิดจากโลหะ 2 ชนิด เรียกวา่ binary alloy 3 ชนิด เรียกวา่ ternary alloy 4 ชนิด เรียกวา่ quaternary alloy

Page 12: Metal and metal corrosion

ประเภทโลหะเจือ

12

อะลมูิเนียมสมัฤทธ์ิ (aluminium bronze)

อลันิโก (alnico) อะมันกัม (amalgam) ทองเหลือง (brass) ทองสัมฤทธ์ิ (bronze) ดรูาลมูิน (duralumin) อีเลก็ตรัม (electrum) กาลนิสแตน (galinstan) อินเตอร์เมทลัลิก (intermetallics)

ม-ูเมทลั (mu-metal) นิกโครม (nichrome) ปิวเตอร์ (pewter) ฟอสเฟอร์สมัฤทธ์ิ (phosphor

bronze) โซลเดอร์ (solder) สไปเจไลเซน (spiegeleisen) เหล็กไร้สนิม (stainless steel) เหล็กกล้า (steel) เงิน สเตอร่ิง (sterling silver) โลหะไม้ (wood's metal)

Page 13: Metal and metal corrosion

โลหะผสม

13

โลหะที่ไม่ใชเ่หลก็น ามาผสมกนัตัง้แตส่องชนิดขึน้ไปโดยมีความหนาแน่นมากกวา่ 5 kg/cm2

โลหะที่เกิดจากการผสมนีมี้คณุสมบตัิดีกวา่โลหะแม ่(โลหะเดิม)

ข้อดขีองโลหะผสม คือ มีความแข็ง ความแข็งแรง ทนตอ่การสกึหรอ ปรับปรุงคณุสมบตัิได้ตามต้องการและทนตอ่ความเค้นแรงดงึ

ข้อเสียของโลหะผสม คือจดุหลอมเหลวจะลดลง การน าไฟฟ้าจะลดลง

Page 14: Metal and metal corrosion

โลหะผสม : ทองแดงผสม

14

ทองเหลือง : เกิดจากทองแดง (Cu) ผสมกบัสงักะสี (Zn)

คณุสมบตัทิางกายภาพเช่น มีสีเหลือง ใช้งานมากท่ีสดุ มีทองแดงผสมอยู ่50% ถ้าผสมมากกวา่นี ้เช่นมีทองแดง 70% ขึน้ไปจะท าให้เนือ้ทองแดงออ่นมาก เรียกวา่ ทอมบคั (Tombak)

สามารถรีดเป็นแผน่ได้หรือดงึเป็นเส้นได้ การน าไฟฟ้าลดลง และความแข็งเพิ่มขึน้

Page 15: Metal and metal corrosion

อุตสาหกรรมผลิตทองเหลือง ปริมาณ Zn ชื่อทางการค้า ประโยชน์

< 5% gilding metal ท าเหรียญ 10% Bronze บรอนซ์ คล้ายคลงึกบั gilding

metal 12.5% jewelry bronze ท าเคร่ืองประดบั 15% red brasses เคร่ืองตนตรี 30% cartridge brass ท าปลอกกระสนุปืน 35% yellow brass การใช้งานใกล้เคียงกบั

cartridge brass 40% munts metal 15

Page 16: Metal and metal corrosion

16

ทองเหลือง (ทองแดง+สงักะสี) ท่ีใช้ท าเคร่ืองใช้เคร่ืองประดบั และงานทางศลิปะ ทองเหลืองท่ีใช้งานทัว่ๆ ไปมีอยูม่ากมายหลายชนิด แตส่ามารถแยกออกเป็นประเภทใหญ่ๆ 2 ประเภท คือ ทองเหลืองแอลฟา (alpha brass) และทองเหลืองแอลฟา-บีตา (alpha-beta brass)

ทองเหลืองแอลฟา คือ ทองเหลืองท่ีมีสว่นผสมของทองแดงมากกวา่ร้อยละ 61 ทองเหลืองประเภทนีอ้อ่น สามารถตีแผ่ หรือท าเป็นรูปร่างตา่งๆ ได้ง่ายเหมาะส าหรับท าภาชนะ และเคร่ืองใช้ตา่งๆ ทองเหลืองแอลฟา-บีตา ประกอบด้วยทองแดงระหวา่งร้อยละ 54-61 ทองเหลืองชนิดนีแ้ข็ง และเปราะกวา่ชนิดแรก ใช้ท าชิน้สว่นหรือสว่นประกอบของเคร่ืองจกัร

Page 17: Metal and metal corrosion

17

Page 18: Metal and metal corrosion

ทองเหลืองผสมโลหะอื่น

18

ทองเหลืองอะลมิูเนียม (Cu+Zn+AI : MSAI) มีอะลมิูเนียมผสมอยูไ่ม่เกิน 3%

ทองเหลืองแมงกานิส (Cu+Zn+Mn : MSMh) มีแมงกานีสผสมอยูน้่อยมากท าให้แข็ง ขึน้

ทองเหลืองเหลก็ (Cu+Zn+Fe : MSFe) มีเหลก็ผสมอยู ่1-3% ช่วยให้หลอ่หลอมได้งา่ย

ทองเหลืองตะกัว่ (Cu+Zn+Pb : MSPb) มีตะกัว่ปนอยู ่1-2% ช่วยให้ใช้กบังานกลงึได้ดีและงา่ยขึน้

Page 19: Metal and metal corrosion

ส าริด หรือ สัมฤทธ์ิ

19

ส าริด หมายถงึโลหะที่มีสว่นผสมของแร่ทองแดงเป็นหลกั มีดีบุกเป็นสว่นผสม

ส าริดเป็นโลหะที่แข็งแรง และเหนียว และมีการใช้งานอยา่งกว้างขวางในทางอตุสาหกรรม

นอกจากดีบกุ บางครัง้ก็มีธาตอุื่นๆ เช่นฟอสฟอรัส, แมงกานีส, อะลมิูเนียมหรือซิลิกอน

Page 20: Metal and metal corrosion

ส าริดทางอุตสาหกรรม

20

ส าริด โลหะผสมอ่ืน สมบัตแิละประโยชน์ Sn < 8% คอ่นข้างออ่น ตีแผ่ หรือรีดได้ง่าย เหมาะกบังาน

ทัว่ๆ ไป Sn < 8% แตส่งักะสีหรือตะกัว่

ผสมอยูด้่วย เช่น ส าริด 5-5-5 มีสว่นผสมของดีบกุสงักะสีและตะกัว่อยา่งละ 5% ใช้ท าเฟืองและหลอ่ท าเคร่ืองสบูน า้

Sn 8-10% อาจมีสงักะสี หรือตะกัว่ปนอยูบ้่าง

ใช้ท าทอ่น า้

Sn 6-14%

มีฟอสฟอรัส 0.1-0.6% ทนตอ่การกดักร่อนของน า้ทะเล ท าชิน้สว่นของเรือเดินทะเล เช่น ใบพดัเรือ และท าเฟืองเกียร์

Sn 0-10% มีตะกัว่ผสม 8-20% ใช้ท าแทน่รองรับ (bearing) Sn 30% ผสมตะกัว่และสงักะสีลง

ไปเลก็น้อย ใช้ท าระฆงั หรือเคร่ืองเสียง

Page 21: Metal and metal corrosion

บรอนซ์ผสมโลหะอ่ืนๆ

21

บรอนซ์อะลมูิเนียม (Cu+Zn+Sn+AI : BZAI) ทนตอ่การกดักร่อนได้ดี เช่ือมได้ดี

บรอนซ์ดีบกุ (Cu+Zn+Sn : BZSn) มีดีบกุไม่เกิน 20% มีความแข็งแรงใช้ท าสปริงล้อตามตวัหนอนในกงัหนั ตะแกรงลวด งานตอ่เรือเดินทะเล

บรอนซ์ตะกัว่ (Cu+Zn+Sn+Pb : BZPb) มีผิวลื่น รับแรงกดอดับนผิวตวัมนัเองใช้ท าเป็นวสัดแุบร่ิง

บรอนซ์เบริลเลียม (Cu+Zn+Sn+Be : BZBe) มีความยืดหยุน่ ชบุแข็งได้แตต้่องเผาให้ร้อน 7000–8000 C

ทองแดงหลอ่ (Cu+Zn+Sn+Pb : BZPb) เป็นบรอนซ์ชนิดหนึง่มีสีคอ่นข้างแดงมีคณุสมบตัิเป็นวสัดแุบร่ิงท่ีดี รับภาระหนกัได้ใช้ท าแบร่ิงใช้หลอ่เป็นตวัหนอนและล้อตามตวัหนอน

Page 22: Metal and metal corrosion

White metal

22

• โลหะผสมตะกัว่–พลวง (Pb+Sb) เป็นโลหะผสมตามอตัราสว่น แตถ้่าผสมพลวงมากขึน้มีความแข็งและเปราะ

• โลหะผสมดีบกุ–พลวง–ทองแดง (Sn+Sb+Cul) โดยทัว่ไปเรียกโลหะนี ้วา่โลหะแบปบิต (babbitt metal) ราคาแพงกวา่ตะกัว่ผสมพลวงแตมี่คณุสมบตัิดีกวา่เพราะมีดีบกุผสมอยูม่าก ช่วยให้ไม่แข็งและมีความเปราะลดลงใช้งานเหมือนกบัตะกัว่ผสมพลวง

Page 23: Metal and metal corrosion

โลหะนิกเกิลผสม

23

นิกเกิลผสมทองแดง (Ni+Cu) มีนิกเกิล 70% ทองแดง 30% เป็นโลหะชนิดใหม่เรียกวา่ โมเนล (monel) เป็นโลหะท่ีทนตอ่การกดักร่อน และทนตอ่อณุหภมูิตา่งๆ ได้ดี โลหะนีใ้ช้ท าอปุกรณ์ไฟฟ้า ท าขดลวดต้านทาน แหวนลกูสบูเคร่ืองยนต์

นิกเกลผสมเหล็ก (Ni+Fe) โลหะชนิดนีเ้รียกวา่ invar steel ถ้านิกเกิลผสมอยูเ่กิน 25% ขึน้ไป เหล็กจะหมดคณุสมบตัิแม่เหลก็ ถ้านิกเกิล 30% จะมีความต้านทานสงูใช้ประโยชน์เหมือนกบันิกเกิลผสมทองแดง

นิกเกิลผสมโครเมียม (Ni+Cr) มีนิกเกิล 70-92% โครเมียม 8-30% ทนตอ่ความเร็วสงู ทนตอ่กรด

Page 24: Metal and metal corrosion

โลหะดีบุกผสม

24

• โลหะบดักรีชนิดมีตะกัว่ (Normal Solder) • โลหะบดักรีชนิดไมมี่ตะกัว่ (lead Free Solder)

โลหะกลุม่นีเ้ป็นโลหะท่ีมีจดุหลอมต ่า มีคณุสมบตัิความลื่นตวัและมีจดุหลอมต ่า ด้านประโยชน์ใช้ท าโลหะบดักรี อปุกรณ์ในมิเตอร์วดัน า้ ใช้ท ามิเตอร์ไฟฟ้า

Page 25: Metal and metal corrosion

โลหะเบาผสม

25

อะลมูิเนียม (Al) คณุสมบตัิทนตอ่บรรยากาศ น า้หนกัเบา น าไฟฟ้าได้ น าความร้อยได้ดี เช่ือมและบดักรีได้ ท าให้เป็นผลได้ และราคาถกู ประโยชน์ ท าแผน่สะท้อนแสง สร้างยานอวกาศ เป็นวสัดกุ่อสร้าง ถงัรถบรรทกุเคมีภณัฑ์ ท าสายเคเบลิ ท าแผ่นฟอยด์ ใช้สร้างเคร่ืองบนิ ท าภาชนะอาหาร ใช้โรงงานอตุสาหกรรม ถงัน า้มนั ท าโลหะผสม ท าคอนเดนเชอร์วิทย ุ

แมกนีเซียม (Mg) คณุสมบตัิเป็นโลหะท่ีเบาท่ีสดุ แข็งแรงน้อย ต้องผสมกบัโลหะอื่น แมกนีเซียมผสมชบุแข็งได้ ไมท่นตอ่การกดักร่อน ลกุตดิไฟ เปลวไฟพะเนียง ประโยชน์ผสมกบัโลหะอื่น ใช้ท าหลอดไฟถ่ายรูป ท าดอกไม้ไฟ

Page 26: Metal and metal corrosion

โลหะเบาผสม

26

ไทเทเนียม (Ti) คณุสมบตัิมีจดุหลอมเหลวสงู (1,727 C) น า้หนกัเบา มีความแข็งแรงสงู ทนตอ่การกดักร่อนได้ดี มีความแข็ง ประโยชน์ใช้ท าโครงสร้างจรวด ท าโครงสร้างยายอวกาศ ท าแผ่นกัน้ความร้อน

เซอร์โคเนียม (Zr) มีคณุสมบตัิทนการกดักร่อน ทนกรดและน า้ทะเล ทนความร้อนได้สงูมาก ประโยชน์ใช้ในการเตาปฏิกรณ์ปรมาณ ูท าหลอดไฟถ่ายรูป ชิน้สว่นท่ีใช้ผงัในการผ่าตดั เช่นสกรู หมดุย า้

เบริลเลียม (Be) คณุสมบตัิยดึตวัได้น้อย น า้หนกัเบา ฝุ่ นของมนัเป็นพิษตอ่ร่างกาย ทนความร้อนได้ 1,285 C มีความแข็งแรง ทนตอ่การกดักร่อนได้สงู ประโยชน์ใช้เป็นโลหะผสม ใช้กบังานท่ีต้องการความแข็งแรง สร้างยานอวกาศ เป็นวสัดกุ่อสร้าง ท าถงัรถบรรทกุเคมีภณัฑ์ ถงัน า้มนั ท าโลหะผสม ท าคอนเดนเชอร์วิทย ุ

Page 27: Metal and metal corrosion

โลหะผสมที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบ

27

มีเหลก็เป็นองค์ประกอบหลกั เรียกวา่ ferrous alloy • Stainless steel (Cr, Ni) • Surgical (Cr, Mo, Ni) • Tool steel (W, Mg) • Chromoly (Cr, Mo)

มีเหลก็น้อยกวา่ 50% เรียกวา่ ferroalloy • Ferroboron • Ferrochrome • ferromagnesium

ไม่มีเหลก็เป็นองค์ประกอบ เรียกวา่ nonferrous alloy • Nickel alloy, copper alloy, gold alloy, mercury alloy

(amalgum), lead alloy (solder)

Page 28: Metal and metal corrosion

ferrous alloy

28

Stainless steel Surgical

Tool steel Chromoly

Page 29: Metal and metal corrosion

เหล็กกล้า (Steel)

29

เป็นเหลก็ท่ีผลิตได้จากการหลอมละลายเหลก็ดิบสขีาว

จะมีปริมาณธาตคุาร์บอนผสมอยู่ประมาณ 0.008-2% โดยน า้หนกั นอกจากนีย้งัมีธาตอ่ืุนปนอยูใ่นรูปของสารมลทิน เช่น ซลิกิอน (Si) แมงกานีส (Mn) ฟอสฟอรัส (P) และก ามะถนั (S)

ทนตอ่แรงดงึ แรงบดิ การขึน้รูป มีจดุหลอมเหลวสงูกวา่เหลก็ดบิ เพราะมี

ปริมาณคาร์บอนต ่า

Page 30: Metal and metal corrosion

เหล็กกล้าคาร์บอน (carbon steel)

30

1) เหล็กกล้าคาร์บอนต ่า (Low carbon steel) • เป็นเหลก็ท่ีมีปริมาณคาร์บอนไมเ่กิน 0.25% • มีธาตอ่ืุนผสมอยูด้่วย เช่น Mn, Si, P, S แตมี่ปริมาณน้อย

• น าไปใช้ในอตุสาหกรรมและในชีวิตประจ าวนัไม่ต ่ากวา่ 90%

• ขึน้รูปง่าย เช่ือมง่ายและราคาไมแ่พง โดยเฉพาะเหลก็แผน่มีการน ามาใช้งานอยา่งกว้างขวาง เช่น ตวัถงัรถยนต์ ชิน้สว่นยานยนต์ตา่งๆ กระป๋องบรรจอุาหาร สงักะสีมงุหลงัคา เคร่ืองใช้ในครัวเรือนและในส านกังาน

คือเหลก็กล้าท่ีมีสว่นผสมของธาตคุาร์บอนเป็นธาตหุลกัท่ีมีอิทธิพลอยา่งมากตอ่คณุสมบตัิทางกลของเหล็ก

Page 31: Metal and metal corrosion

เหล็กกล้าคาร์บอน (carbon steel)

31

• มีปริมาณคาร์บอน 0.2-0.5% • มีความแข็งแรงและความเค้นแรงดงึ

มากกวา่ เหลก็กล้าคาร์บอนต ่า แตจ่ะมีความเหนียวน้อยกวา่

• สามารถน าไปชบุแข็งได้ เหมาะกบั งานท าชิน้สว่นเคร่ืองจกัรกล รางรถไฟ เฟือง ก้านสบู ท่อเหลก็ ไขควง เป็นต้น

2) เหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง (Medium carbon steel)

Page 32: Metal and metal corrosion

เหล็กกล้าคาร์บอน (carbon steel)

32

3) เหล็กกล้าคาร์บอนสูง (High carbon steel) • มีปริมาณคาร์บอน 0.5 - 1.5% • มีความแข็งความแข็งแรงและความ

เค้น-แรงดงึสงู • เม่ือชบุแข็งแล้วจะเปราะ เหมาะ

ส าหรับงานท่ีทนตอ่การสกึหรอ ใช้ในการท าเคร่ืองมือ สปริงแหนบ ลกูปืน เป็นต้น

Page 33: Metal and metal corrosion

เหล็กกล้าประสม (Alloys Steel)

33

• เหลก็ท่ีมีธาตอ่ืุนนอกจากคาร์บอนผสม • ธาตบุางชนิดท่ีผสมอยู ่อาจมีปริมาณมากกวา่คาร์บอนท่ีผสมลงไป

ได้แก่ Mo, Mn, Si, Cr, Al, Ni และ V เป็นต้น • เพื่อท าให้คณุสมบตัิของเหลก็เปลี่ยนไป

• เพิ่มความแข็ง • เพิ่มความแข็งแรงท่ีอณุหภมูิปกตแิละอณุหภมูิสงู • เพิ่มคณุสมบตัิทางฟิสกิส์ • เพิ่มความต้านทานการสกึหรอ • เพิ่มความต้านทานการกดักร่อน • เพิ่มคณุสมบตัิทางแม่เหลก็ • เพิ่มความเหนียวแน่นทนตอ่แรงกระแทก

Page 34: Metal and metal corrosion

34

1. เหล็กกล้าประสมต ่า (Low Alloy Steels ) • เป็นเหลก็กล้าท่ีมีธาตปุระสมรวมกนัน้อยกวา่ 8% • ธาตท่ีุผสมอยูค่ือ Cr, Ni, Mo, Mn • ปริมาณของธาตท่ีุใช้ผสมแตล่ะตวัจะไมม่ากประมาณ 1–2% • การผสมท าให้เหลก็สามารถชบุแข็งได้ มีความแข็งแรงสงู เหมาะส าหรับใช้ในการท าชิน้สว่นเคร่ืองจกัรกล เช่น เฟือง เพลาข้อเหวี่ยง จนบางครัง้มีช่ือวา่เหลก็กล้า เคร่ืองจกัรกล

2. เหล็กกล้าประสมสูง (High alloy steels) • เหลก็กล้าประเภทนีจ้ะถกูปรับปรุงคณุสมบตัิ ส าหรับการใช้งาน

เฉพาะอยา่ง ซึง่ก็จะมี ธาตปุระสมรวมกนัมากกวา่ 8% เช่น เหลก็กล้าทนความร้อน เหลก็กล้าทนการเสียดสี และเหลก็กล้าทนการกดักร่อน

Page 35: Metal and metal corrosion

การผลิตเหล็กกล้า (steel)

35

การผลิตเหลก็กล้าสิ่งเจือปน (impurity) จะถกูก าจดัออกโดยใช้ O2 SiO2(s) + CaO(s) CaSiO3(l) P4O10(l) + 6CaO(s) 2Ca3(PO4)2(l) MnO(s) + SiO2(s) MnSiO3(l)

http://www.youtube.com/watch?v=UnaDF9tqESk

Page 36: Metal and metal corrosion

ประเภทเหล็กกล้า

36

Page 37: Metal and metal corrosion

เหล็กกล้าไร้สนิม (Stainless steel)

37

เหลก็กล้าที่ผสมโครเมียมอย่างน้อย 10.5 % ท าให้มีคณุสมบตัิต้านทานการกดักร่อน โดยเหลก็กล้าไร้สนิมจะสร้างฟิล์มของโครเมียมออกไซด์ที่บางและแน่นที่ผิวเหลก็กล้า ซึง่จะปกป้องเหลก็กล้าจากบรรยากาศภายนอก

Page 38: Metal and metal corrosion

ประเภทของเหล็กกล้าไร้สนิม

38

1. เหลก็กล้าไร้สนิมเฟอร์ริติก (Ferritic) 2. เหลก็กล้าไร้สนิมออสเตนนิติก (Austenitic) 3. เหลก็กล้าไร้สนิมดเูพลก็ซ์ (Duplex) 4. เหลก็กล้าไร้สนิมมาร์เทนซิติก (Martensitic) 5. เหลก็กล้าไร้สนิมอบชบุแข็งด้วยการตกผลกึ (Precipitation-

hardening)

Page 39: Metal and metal corrosion

เหล็กกล้าไร้สนิมเฟอร์ริตกิ (Ferritic)

39

ท่ีใช้กนัมากจะผสม Cr ประมาณ 12% หรือ 17% มีคณุสมบตัิท่ีแม่เหลก็สามารถดดูติดได้ มีราคาถกูกวา่เมื่อเทียบกบักลุม่ออสเตนนิติก การใช้งาน เช่น ชิน้สว่นเคร่ืองซกัผ้า ชิน้สว่นระบบท่อไอเสียและในบาง

เกรดจะผสมโครเม่ียมสงูเพื่อใช้กบังานท่ีต้องทนอณุหภมูิสงู

Page 40: Metal and metal corrosion

เหล็กกล้าไร้สนิมออสเตนนิตกิ (Austenitic)

40

ท่ีใช้กนัมากจะผสมโครเมียมประมาณ 17% และนิกเกิล (Ni) ประมาณ 9%

การผสมนิกเกิลช่วยเพิ่มความต้านทานตอ่การกดักร่อน

ด้านคณุสมบตัิเชิงกล เหลก็กลุม่ออสเตนนิตกิจะมีคา่ความต้านทานแรงดงึใกล้เคียงกบัของกลุม่เฟอร์ริติก

การใช้งาน เช่น หม้อ ช้อน ถาด

Page 41: Metal and metal corrosion

เหล็กกล้าไร้สนิมมาร์เทนซิตกิ (Martensitic)

41

จะผสมโครเมียมประมาณ 11.5-18% มีคาร์บอนพอสมเหมาะและสามารถชบุแข็งได้ มีคณุสมบตัิต้านทานการสกึกร่อนและแข็งแรงทนทานได้ดีย่ิงกวา่สเตนเลสกลุม่ออสเทนนิติกและเฟอร์ริติก มกัน าไปใช้งานที่ส าคญัในการผลิตเคร่ืองตดั อตุสาหกรรมเคร่ืองบิน พดัลมกงัหนั เป็นต้น

Page 42: Metal and metal corrosion

เหล็กกล้าไร้สนิมดูเพล็กซ์ (Duplex)

42

จะมีโครงสร้างผสมระหวา่งออสเตนไนต์และเฟอร์ไรต์ มีโครเมียมผสมประมาณ 21-28% และนิกเกิลประมาณ 3-7.5% มีทัง้ความแข็งแรงและความเหนียวสงู มีคณุสมบตัิทนตอ่การกดักร่อน คณุสมบตัิทางกาพภาพอยูร่ะหวา่งสเตนเลสกลุม่ออสเทนนิติกและเฟอร์ริติก แตใ่กล้เคียงกบัเฟอร์ติตกิและเหล็กคาร์บอนมากกว่า คณุสมบตัิทนตอ่การกดักร่อนแบบรูเข็ม (Pitting) และแบบซอกอบั (Crevice)

Page 43: Metal and metal corrosion

เหล็กกล้าไร้สนิมอบชุบแข็งด้วยการตกผลกึ

43

เหลก็กล้าไร้สนิมอบชบุแข็งด้วยการตกผลกึ มีโครเมียมผสมประมาณ 15-18% และนิกเกิลอยูป่ระมาณ 3-8%

เหลก็กล้ากลุม่นีส้ามารถท าการชบุแข็งได้ จงึเหมาะส าหรับท าแกน ป๊ัม หวัวาล์ว

Page 44: Metal and metal corrosion

การกัดกร่อนของโลหะ

44 http://www.youtube.com/watch?v=YAg9AYqGGT0

Page 45: Metal and metal corrosion

สาเหตุการกัดกร่อนของโลหะ

45

• การผกุร่อนของโลหะคือการท่ีโลหะท าปฏิกิริยากบัสารตา่งๆ ในสิง่แวดล้อมรอบๆ แล้วท าให้โลหะนัน้เปลี่ยนสภาพไปเป็นสารประกอบประเภทออกไซด์หรือไฮดรอกไซด์

• การผกุร่อนของโลหะท่ีพบบอ่ยในชีวิตประจ าวนัได้แก่ เหลก็เป็นสนิม (สนิมเหลก็เป็นออกไซด์ของเหลก็ Fe2O3.xH2O)

• การท่ีอะตอมของโลหะท่ีถกูออกซไิดส์แล้วรวมตวักบัออกซิเจนในอากาศเกิดเป็นออกไซด์ของโลหะนัน้ เช่น สนิมเหลก็(Fe2O3) สนิมทองแดง (CuO) หรือสนิมอลมูิเนียม (Al2O3)

Page 46: Metal and metal corrosion

46

Page 47: Metal and metal corrosion

47

1) เกิดการผกุร่อนด้วยปฏิกิริยาเคมีโดยตรง (direct chemical corrosion) เป็นการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยตรงระหวา่งผิวโลหะและแก๊ส เช่น O2 SO2 เป็นต้น และปฏิกิริยาดงักลา่วมกัเกิดท่ีอณุหภมูิสงู

2) เกิดการผกุร่อนด้วยปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี (electro–chemical corrosion) โลหะจะผกุร่อนได้ จะต้องมี electrolyte ซึง่อาจจะเป็นบรรยากาศท่ีชืน้หรือของเหลวใดๆ ท่ีโลหะสมัผสัอยู ่ปฏิกิริยาแบบนี ้จะเกิดการเคลื่อนท่ีของอิเลก็ตรอนจากโลหะท่ีผกุร่อนซึง่เรียกว่า anode ไปยงัโลหะหรือธาตซุึง่ anode สมัผสัอยู ่โลหะหรือธาตตุวัหลงันีเ้รียกวา่ cathode เป็นขัว้ท่ีมีประจบุวก (cation) วิ่งไปหา ในขณะท่ีขัว้ anode มีประจลุบ (anion)

Page 48: Metal and metal corrosion

ประเภทการกัดกร่อน

48

1. การกัดกร่อนแบบสม ่าเสมอ (Uniform Corrosion)

2. การกัดกร่อนเน่ืองจากความต่างศักย์ (Galvanic Corrosion)

Page 49: Metal and metal corrosion

ประเภทการกัดกร่อน

49

3. การกัดกร่อนแบบช่องแคบ (Crevice Corrosion) 4. การกัดกร่อนแบบเป็นหลุม (Pitting)

Page 50: Metal and metal corrosion

ประเภทการกัดกร่อน

50

5. การกัดกร่อนตามขอบเกรน (Intergranular Corrosion) 6. การผุกร่อนแบบเลือก (Selective Leaching or Dealloying)

Page 51: Metal and metal corrosion

ประเภทการกัดกร่อน

51

7. การกัดเซาะ (Erosion Corrosion) 8. Stress corrosion

Page 52: Metal and metal corrosion

การป้องกันการกัดกร่อน

52

1) การป้องกนัการถกูกบั O2 และความชืน้ โดยการทาสี ทาน า้มนั เคลือบพลาสติก

2) ชบุหรือเคลือบด้วยโลหะอ่ืนบางชนิด เช่น Al Cr Zn โลหะเหลา่นีเ้ม่ือท าปฏิกิริยากบั O2 จะเกิดเป็นออกไซด์ ท่ีคอ่นข้างคงตวั สลายตวัยากเคลือบท่ีผิวของโลหะ (Fe) ท าให้โลหะไมเ่กิดการผกุร่อน วิธีนี ้เรียกวา่ อะโนไดซ์ (anodize)

3) ท าเป็นโลหะผสม โดยการน าโลหะตัง้แต ่2 ชนิดขึน้ไปมาหลอมรวมกนั ท าให้ทนตอ่การผกุร่อน

4) วิธีแคโทดกิ เน่ืองจากการผกุร่อนของโลหะ คือ การท่ีโลหะเสียอิเล็กตรอน จงึเปรียบได้กบัขัว้แอโนด ดงันัน้ถ้าต้องการไมใ่ห้โลหะเกิดการผกุร่อน จะต้องท าให้โลหะนัน้มีสภาวะเป็นแคโทด หรือคล้ายแคโทด

Page 53: Metal and metal corrosion

การป้องกันการผุกร่อนของถังเหล็กโดยใช้ขัว้ Mg

53

Page 54: Metal and metal corrosion

กิจกรรม

นกัศกึษาค้นคว้าวิธีการป้องกนัการผกุร่อนของโลหะคนละ 1 วิธี บอกวิธีการ อปุกรณ์ และประโยชน์ พร้อมยกตวัอย่างวิธีดงักลา่วที่ใช้จริงในทางอตุสาหกรรม หรือทางอื่นๆ

เขียนด้วยลายมือ ไม่เกิน 1/2 หน้ากระดาษ A4

ก าหนดสง่ สปัดาห์ถดัไป

54