newsletter%20feb12

6
จดหมายขาว เพื่อการเตือนภัย ดานมาตรฐาน ภายใตโครงการสรางระบบขอมูล และองคความรูดานมาตรฐานระบบการ จัดการและการเตือนภัย ECHA ประกาศ “Concern List” (SVHC) เพิ่มเติม ISO&WaterStandard BS 8900 Standard Warning “Concern List” (SVHC) ISSN 2228-9925 ปที2 ฉบับที10 เดือนกุมภาพันธ 2555

Upload: worachart-wongsamphan

Post on 08-Mar-2016

215 views

Category:

Documents


1 download

DESCRIPTION

http://www.masci.or.th/upload/magazinefile/newsletter%20Feb12.pdf

TRANSCRIPT

Page 1: newsletter%20Feb12

จดหมายขาว

เพือ่การเตอืนภยัดานมาตรฐานภายใตโครงการสรางระบบขอมูล และองคความรูดานมาตรฐานระบบการจัดการและการเตือนภัย

ECHA ประกาศ “Concern List” (SVHC) เพิ่มเติม ISO&WaterStandard BS 8900 Standard Warning

“ Conce rn L i s t ”

( SVHC ) ISSN 2228-9925

ปที่ 2 ฉบับที่ 10 เดือนกุมภาพันธ 2555

Page 2: newsletter%20Feb12

จดหมายขาวเพ่ือการเตือนภยัดานมาตรฐานภายใตโครงการสรางระบบขอมลู และองคความรูดานมาตรฐานระบบการจดัการและการเตอืนภยั

M A N A G I N G T O D A Y F O R T O M O R R O W ’ S W O R L D

PA G E 2

กอง บก. ขอกลาวสวสัดทีานผูอาน “จดหมายขาวเพือ่

การเตือนภัยดานมาตรฐาน” สาํหรบบทความท่ีนาสนใจ

ประจําเดือนกุมภาพันธ 2555 ทีมงาน Intelligence

Unit ไดทําสรุปสาระสําคัญของ ECHA ประกาศ

“Concern List” (SVHC) เพิ่มเติม และบทวิเคราะห

เรื่อง ISO & Water Standard รวมถึง Standard

Warning เกีย่วกับรานคาปลกีในแคลฟิอรเนยียกเลกิ

ขายเครื่องประดับท่ีมีแคดเมียมเกิน 0.03% ตั้งแต 1

มกราคม 2555 และขาวประชาสัมพันธกิจกรรมงาน

เปดตัวโครงการสงเสริมมาตรฐานความปลอดภัยใน

โซอปุทานของผูประกอบการอตุสาหกรรมจากผูกอการ

ราย ภัยพิบัติหรือโจรกรรม ISO 28000:2007

สดุทายน้ี ขอขอบคุณสํานักเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ที่

ใหการสนับสนุนงบประมาณดําเนินการโครงการสราง

ระบบขอมูลและองคความรู ดานมาตรฐานระบบการ

จัดการ และการเตือนภัย หรือ Intelligence Unitกอง บก.

ECHA ประกาศ “Concern List” (SVHC) เพิ่มเติม

REACH Directive Update: European Chemicals Agency (ECHA) ประกาศรายการสารเคมีที่มีการนําไปใชในอุตสาหกรรมพลาสติก (Plastic Sector) ไดแก

• 2,2’-Dichloro-4,4’-Methylen-edianiline: Polymer & Resin curing agent

• N,N-dimethylacetamide: ใชในการผลิต Polyimide films

• 2-Methoxyaniline: Color Polymers• 4-(1,1,3,3-Tetramethylbutyl)

Phenol: ใชในการเตรียม Polymer และผลิตภัณฑยาง

• Technical MDA: เปน Hardener สําหรับ Epoxy Resins

• Bis(2-Methoxyethyl) Phthalate: เปน Plasticiser ใน Polymeric Materials

ผลกระทบและแนวทางการดาํเนินการของผูประกอบการไทย: สาํหรบัสารเคมีตามรายการประกาศ EU list of Substances of Potentially Very High Concern (SVHC) เพิ่มเติม 6 รายการดังกลาวนัน้ มผีลบังคบัตัง้แตเดอืนกมุภาพนัธ 2012 นี ้ผูประกอบการตองตรวจสอบสารเคมีของตนเอง

วาเปนสารเคมีทีม่กีารนําไปใชในกระบวนการผลิตเปนสนิคา หรือมกีารจาํหนาย หรือมกีารนาํเขาไปยัง EU หรอืไม เนือ่งจากสารเคมใีนกลุมรายการ SVHC นัน้ ทาง EU จดัเปนสารเคมปีระเภททีมี่ผลกระทบรนุแรงตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของมนุษย

และสําหรับผูผลิต/ผูนําเขาสารเคมีที่ตองจดทะเบียน (Chemical Registration) ที่มีปริมาณการผลิตหรือการนําเขาปริมาณมากกวา 100 ตัน/ป ตองเรงดาํเนินการจดทะเบียนใหเรียบรอยกอนวันที่จะมีผลบังคับใชในวันที่ 31 พฤษภาคม 2013 ซึ่งทาง ECHA จะจัดใหมีกิจกรรม Workshop เพื่อการเตรียมความพรอมดานการจดัทําแฟมเอกสารขอมลูสารเคมีสาํหรบัการย่ืนจดทะเบียน ในรปูแบบ Webinars และการฝกอบรมประจําป 2012 ซึ่งผูประกอบการไทยท่ีสนใจสามารถติดตามไดในเวปไซตทางการของ ECHA

ที่มา: Plastics & Rubber Weekly (30-01-2555): http://www.prw.com

ปที่ 2 ฉบับที่ 10 เดือนกุมภาพันธ 2555

Management System Certification Institute (Thailand): MASCI1025, 2nd 11 th 18th Floor, Yakult Building,

Phaholyothin Road, Samsen Nai, Phayathai, Bangkok

10400, Thailand

Tel. (+662) 617-1727-36 Fax. (+662) 617-1703, 617-1727- 9

www.masci.or.th

Page 3: newsletter%20Feb12

PA G E 3

จ ด ห ม า ย ข า ว เ พื่ อ ก า ร เ ตื อ น ภั ย ด า น ม า ต ร ฐ า น

ทรัพยากรน้ําซึ่งเปนทรัพยากรท่ีมีความสําคัญตอการดํารงชีวิตและตองมีการบํารุงรักษาใหคงอยูอยางยั่งยืน ซึ่ง United Nation (UN) ไดกาํหนดเปนเปาหมายสําคัญใน UN Millennium Development Goals (MDGs) ซึง่เปนหวัใจสําคัญของแผนปฏิบตักิารดานน้ํา หรือ UN Decade of Action Water for life 2005-2015

ทัง้น้ี องคการระหวางประเทศวาดวยการมาตรฐาน (International Organization for Standardi-zation : ISO) ไดมีการพัฒนามาตรฐานดานนํ้ากวา 550 มาตรฐาน เพื่อใหเปนเครื่องมือที่ชวยในการจดัการนํา้ทีใ่ชรวมกนัอยางเทาเทยีมและยัง่ยนื เพื่อใหสอดคลองกับเปาหมายของ UN

ISO มกีารจดัตัง้คณะกรรมการวิชาการเพือ่พฒันามาตรฐานและจดัทําเอกสารความรูดานการบริหารจัดการนํ้า โดยแบงเปน 3 กลุม ไดแก

คุณภาพและการอนุรักษ (Quality and conservation) มาตรฐานทีเ่กีย่วของแบงไดดังน้ี • มาตรฐานการคํานวณ Water footprint

ไดแก ISO/CD 14046 ซึ่งชวยสงเสริมประสิทธิภาพการวัดผลและการจัดการทรัพยากรนํ้า และชวยใหองคกรตั้งคาเปรียบเทียบการใชนํ้าทั่วโลกได

• มาตรฐานคุณภาพน้ําที่มีมากกวา 260 มาตรฐาน ประกอบดวย คําศัพททั่วไป วิธีการสุมตัวอยางนํ้าและการทํารายงาน แนวทางการติดตามในการตรวจสอบสถานะของแบคทีเรยี และความบริสทุธ์ิของน้ํา ซึง่มีมาตรฐานทีอ่ยูระหวางการพัฒนา ประมาณ 50 มาตรฐาน ภายใตคณะกรรมการวชิาการ ISO/TC 147

• การวัดและการจัดการน้ําบาดาล ทีม่มีากกวา 70 มาตรฐาน ซึ่งมีมาตรฐานที่อยูระหวางการพัฒนาประมาณ 10 มาตรฐาน ภายใตคณะกรรมการวิชาการ ISO/TC 113

ISO&W a t e rS t a n d a r d

การจัดการบริการและวิกฤตการณ (Service management and cri-ses) ซึง่มีมาตรฐานและเอกสารทีเ่กีย่วของ เชน • การจัดการกิจกรรมการบริการน้ําดื่ม

และระบบบําบัดนํ้า ซึ่งมีมาตรฐานหลัก 3 มาตรฐาน คือ ISO 24510:2007, ISO 24511:2007 และ ISO 24512:2007 ที่เปนแนวทางในการประเมิน ปรับปรุง และการจัดการกจิกรรมการบรกิารนํา้ดืม่และระบบบําบัดนํ้า และอยูระหวางการพัฒนา 1 มาตรฐาน คือ ISO/CD 11830 Crisis management of water utilities ภายใต ISO/TC 224

• การจัดการภายใตสถานการณวิกฤติ ซึ่งมีเอกสาร คือ แนวทางการจัดการการใหบรกิารน้ําดืม่ภายใตวกิฤติ (Guidelines for the management of drinking water utilities under crisis conditions)

โครงสรางพืน้ฐาน (Infrastructure) มาตรฐานที่เกี่ยวของแบงไดดังน้ี• การชลประทาน (ใชในภาคการเกษตร

70%) ซึง่มาตรฐานในกลุมนีเ้ปนการวัดผลการดําเนินงาน วัตถุดิบ การทดสอบ การตคีวามขอมูลและการรายงาน เพือ่สนับสนุนการชลประทานท่ีมีประสิทธิภาพ รวมถึงมาตรฐานการใชนํา้ทีไ่ดรบัการบาํบดัสาํหรบัการชลประทาน เชน ISO/NP 16075 ทีค่าดวาจะประกาศใชภายในป 2013

• การวดัการไหลของนํา้และมาตรวดันํา้ และมาตรฐานทอและวาลว ซึง่มาตรฐานเหลานี้จะชวยในการอนุรักษนํ้าได

จะเหน็ไดวาองคกรระดบัสากลนีไ้ดใหความสาํคญักบัการบรหิารจดัการนํา้ การอนรุกัษ และแหลงนํา้ โดยพัฒนามาตรฐานและจัดทาํเอกสารวิชาการตางๆ ขึน้เพือ่ใหผูทีเ่กีย่วของไดนาํไปใชงาน อนัจะนาํไปสูเปาหมายรวมกนั ซึง่ผูประกอบการและหนวยงานทีก่าํกบัดแูลเรือ่งนํา้ของไทยสามารถศกึษาและนาํมาตรฐานท่ีเกีย่วของไปประยุกตใชกบัองคกรและกจิกรรมของตนเองได โดยเฉพาะมาตรฐาน Water footprint ซึง่นาจะมีการนํามาใชอยางกวางขวางในอนาคต เพราะสามารถนาํไปใชไดกบัทกุหนวยงาน ทุกกิจกรรม และทุกคนที่มีการใชนํ้า

ที่มา: www.iso.org กุมภาพันธ 2555

Page 4: newsletter%20Feb12

Standard Warningรานคาปลีกในแคลิฟอรเนีย ยกเลิกขายเครื่องประดับที่มีแคดเมียมเกิน 0.03% ตั้งแต 1 มกราคม 2555

โดย Intel l igence Team

PA G E 4

รานคาปลีกในแคลิฟอรเนีย ยกเลิกขายเคร่ืองประดับที่มีแคดเมียมเกิน 0.03% ตั้งแต 1 มกราคม 2555

ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2555 รานคาปลีกของสหรัฐอเมริกา 26 บริษัท เชน Target Corp. และ Gap Inc. ยกเลิกการจําหนายเครื่องประดับทีม่แีคดเมยีมผสมเกนิ 0.03% ของนํา้หนกัสนิคา ในรัฐแคลิฟอรเนีย เพ่ือใหสอดรับกับกฎหมาย California Proposition 65 ทีค่วบคมุปรมิาณสารพษิในผลติภณัฑ และมาตรฐาน ASTM F2923-11

โดยในป 2010 รฐับาลของแคลฟิอรเนียฟองรองผูคาปลีกและผูสงมอบ (หรอืผูผลิต) กวา 20 ราย โดยกลาวหาวาทําใหผูบรโิภคสมัผสักบัแคดเมยีมในเครือ่งประดับในระดับทีส่งูโดยปราศจากฉลากเตือน ตามกฎหมายของแคลฟิอรเนยี ซึง่รฐัแคลฟิอรเนยีถอืเปนตลาดขนาดใหญทีส่ามารถผลักดนัมาตรฐาน ASTM F2923-11 ทีเ่ปนมาตรฐานแบบสมคัรใจและไดรับการยอมรับจากภาคอุตสาหกรรม ไปสูการเปนมาตรฐานระดับประเทศได แมวายงัไมเปนการบงัคับใชในรฐัอืน่แตกม็คีวามเคลือ่นไหวในอกี 5 รฐั ซึ่งมีการพิจารณาและผานการเห็นชอบกฎหมายการจํากดัปริมาณแคดเมียมในเคร่ืองประดับแลว แตกาํหนดขอบขายใชกบัเคร่ืองประดับสาํหรับเด็กซึง่เปนผูทีม่คีวามเสีย่งในการไดรบัสารพษิเทานัน้

มาตรฐาน ASTM F2923-11 วาดวยมาตรฐานความปลอดภัยเคร่ืองประดับสําหรับเด็ก วิธีการทดสอบและการจาํกดัปรมิาณแคดเมยีมในสนิคาเคร่ืองประดับสาํหรับเด็กทีท่าํจากโลหะ โดยปรับใชจากขอกาํหนดของ The US Consumer Product Safety Commission (CPSC) วตัถปุระสงคเพือ่ลดความเส่ียงจากอันตรายท่ีอาจเกิดขึน้กบัเด็ก มีสาระสําคัญ ดังน้ี • มาตรฐานใหมครอบคลุมอนัตรายท่ีอาจเกิด

ขึ้นจากเครื่องประดับสําหรับเด็ก แมเหล็ก แบตเตอรี ่นกิเกลิ ตะกัว่จากสแีละทีอ่ยูในพืน้ผวิ รวมท้ังโลหะหนักอืน่ๆ ทีใ่ชเคลอืบพ้ืนผวิ

• เคร่ืองประดับสําหรับเด็ก หมายถึง เคร่ืองประดับที่ออกแบบหรือตั้งใจผลิตเพ่ือใหใชกับเด็กอายุตํ่ากวาหรือ เทากับ 12 ป เชน Fine and Fashion Jewelry แตไมรวมเคร่ืองประดับที่ใชกับตุกตาเด็กเลนกระเปา เข็มขัด และรองเทา

• ขอกําหนดเกี่ยวกับสารเคมี• ตะก่ัวในพ้ืนผิว : ใหมีตะก่ัวไดไมเกิน

100 ppm. ทั้งน้ี ไมรวมตะก่ัวในสิ่งทอ ไม โลหะมีคา หินมีคา วัสดุที่มีแหลงกาํเนดิจากพชืหรอืสตัว ซึง่สอดคลองกับกฎหมาย Consumer Product Safety Improvement Act (CPSIA)

จ ด ห ม า ย ข า ว เ พื่ อ ก า ร เ ตื อ น ภั ย ด า น ม า ต ร ฐ า น

Page 5: newsletter%20Feb12

• สารละลายโลหะหนักท่ีใชเคลอืบพ้ืนผิว : กาํหนดปริมาณสงูสดุของสารละลายโลหะหนัก ดงันี้

Soluble Heavy Metal Maximum Levels : ppm Antimony 60 Chromium 60 Arsenic 25 Mercury 60 Barium 1,000 Selenium 500 Cadmium 75

• แคดเมยีมในวสัดุพืน้ผิวท่ีเปนโลหะและพลาสติก: เคร่ืองประดบัสําหรบัเดก็ทีม่สีวนประกอบของโลหะและพลาสติก/โพลิเมอรจะตองทดสอบปริมาณสารแคดเมียมที่ migrate ออกมา ทั้งนี้ หากมีนอยกวา 300 ppm. ไมตองทดสอบ กรณีที่มีสวนประกอบมากกวา 300 ppm. ตองทดสอบการ migrate หรือ การละลายดังน้ี

• สวนประกอบขนาดเล็ก วสัด ุ มาตรฐานการทดสอบ Migratable or soluble limit พลาสติก EN 71:3 ไมเกิน 75 ppm. โลหะ CPSC-CH-E 1004-11 ไมเกิน 200 µg

• สวนประกอบท่ีไมใชชิ้นสวนขนาดเล็กและอาจจะเอาเขาปากได จะตองทดสอบการ extract ของแคดเมียมตามมาตรฐาน CPSC Standard Operating Procedure for Measuring Lead in Children’s Metal Jewelry, Feb-ruary 3,2005, Section II แคดเมียมที่ถูกสกัดออกมาจะตองไมเกิน 18 µg

• นกิเกลิในวสัดทุีเ่ปนโลหะ : ใชวธิทีดสอบการ migrate ของนกิเกลิ ตามมาตรฐาน BS EN 1811: 1999 ; EN 12472 ดังนี้ Children jewelry Migratable nickel limit สวนประกอบท่ีนําเขาไปในหูหรือรางกายที่มีการเจาะ ไมเกนิ 0.2 µg/cm2/week เครื่องประดับอื่น ๆ ที่สัมผัสโดยตรงทางผิวหนัง ไมเกิน 0.5 µg/cm2/week

• Liquid Filled Jewelry เชน การทําความสะอาดเคร่ืองสําอาง แปงพอกหนา แปงผง เจล และแปงที่ใชในเคร่ืองประดับสําหรับเด็ก (ไมรวมวัสดุที่ใชในทางศิลปะ) : การทดสอบความเปนอันตรายและทดสอบจุลินทรียใหเปนไปตามขอกําหนดตามมาตรฐาน ASTM F963

• Mechanical Requirement : ตองทดสอบความเปนอันตรายโดยใชมาตรฐาน ASTM F963 Toy Safety Standard เชน อนัตรายจากแมเหล็กท่ีอาจหลุดออกมาจากสินคาและเด็กอาจกลืนเขาสูรางกาย ตางหูที่ใชแมเหล็กแนบติดผิว การทดสอบการบีบรัดของสรอยคอ เครื่องประดับสําหรับเด็กท่ีมีแบตเตอร่ี ฯลฯ เปนตน

ที่ผานมาสหรัฐฯ มีการตรวจสอบและยกเลกิการจาํหนายเครือ่งประดบัหลายรายการทีม่ปีรมิาณแคดเมียมและสารพิษอนัตรายผสมอยูในผลติภณัฑสงูเกนิท่ีกฎหมายกาํหนด และสงผลตอการตรวจสอบและสกัดสินคาที่เปนไปตามระเบยีบทีน่าํเขาจากตางประเทศ ดงันัน้ ผูประกอบการไทยท่ีมกีารผลิตเคร่ืองประดับหรือสวนประกอบของเครือ่งประดบัทีน่าํเขาสหรฐัฯ ทั้งทางตรงและทางออมที่มีการใชแคดเมียมเปนสวนผสมจึงตองใหความสําคัญกับ การออกแบบผลิตภัณฑ ปริมาณการใช และการทดสอบ ทีส่อดคลองกบักฎหมายและมาตรฐานตาง ๆ เพ่ือปองกบัการถกูปฏเิสธสนิคาทีจ่ะสรางความเสียหายทั้งรายไดและช่ือเสียง

ที่มา: www.washingtonpost.com และกรมการคาตางประเทศ

จ ด ห ม า ย ข า ว เ พื่ อ ก า ร เ ตื อ น ภั ย ด า น ม า ต ร ฐ า น

PA G E 5

Page 6: newsletter%20Feb12

เชิญชวนเขารวมงานเปดตัว

โครงการสงเสริมมาตรฐานความปลอดภัยในโซอุปทานของผูประกอบการอุตสาหกรรมจากผูกอการราย ภัยพิบัติ หรือโจรกรรม

PA G E 6

กรมอุตสาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมืองแร จะจดัสมัมนาเปดตวัโครงการ (Kick off) โครงการสงเสริมมาตรฐานความปลอดภยัในโซอปุทานของผูประกอบการอตุสาหกรรมจากผูกอการราย ภยัพิบัติ หรือโจรกรรม ในวันที่ 2 เมษายน 2555 เวลา 9:00 – 12:00 น. ณ หองธาราเทพฮอล อาคารธาราเทพฮอล โรงแรมเจาพระยาปารค ถ.รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ เพื่อแนะนําโครงการ และใหความรูพืน้ฐานเกีย่วกบัมาตรฐานระบบการจดัการดานการรกัษาความปลอดภยัในโซอปุทาน (ISO 28000 : 2007)

กลุมเปาหมาย• สถานประกอบการกลุมอุตสาหกรรม

เปาหมาย ไดแก ปโตรเคมี พลาสติก ยา เฟอรนเิจอร และอตุสาหกรรมเพือ่การสงออกอื่นๆ

• หนวยงานภาครัฐ องคกรภาคเอกชน และหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

ประโยชนที่จะไดรับสถานประกอบการสามารถรับประกันความ

ปลอดภัยใหกับโซอุปทาน ปองกันทรัพยากร และปองกันความเส่ียงและผลกระทบท่ีมีแนวโนมจะเกดิขึน้ ใหสามารถบริหารความตอเนือ่งทางธุรกจิ (Business Continuity Management) ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยไมเสียคาใชจายใด ๆ ทั้งสิ้น

รายละเอียดเพ่ิมเติมสามารถเขาดไูดที่ http://logistics.dpim.go.th/webdatas/Download2555/G6.pdf

สําหรับทานที่สนใจกรุณาสงแบบตอบรับกลบัมา ทางอเีมล [email protected]; [email protected]; [email protected]

หรอืทางแฟกซ 0-2617-1708 ภายในวนัที ่28 มนีาคม 2555 หรอืสอบถามขอมลูเพิ่มเติมที่คุณทัชชะพงศ, อุษาศิริ, สุวิมล โทร 0-2617-1727 ตอ 207,212,215

ISO 28000 : 2007

จ ด ห ม า ย ข า ว เ พื่ อ ก า ร เ ตื อ น ภั ย ด า น ม า ต ร ฐ า น