ข้อสอบo-net วิชาดนตรี

38
โรงเรียนบัวเชดวิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์

Upload: art-floor-thaweekoon-intharachai

Post on 29-May-2015

25.911 views

Category:

Education


2 download

DESCRIPTION

รวมข้อสอบO-netรายวิชาดนตรี ตั้งแต่ปรการศึกษา2550-2553 พร้อมเฉลยละเอียด

TRANSCRIPT

Page 1: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

นางพรนภัส พันธ์เกียรติ ครู วิทยาฐานะ ช านาญการ โรงเรียนบัวเชดวิทยา อ าเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 33

โรงเรียนบัวเชดวิทยา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33

อ าเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์

Page 2: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
Page 3: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

68. เครื่องดนตรีในข้อใดที่จัดอยู่ในประเภทเดียวกัน 1. Clarinet , Tuba , French Horn 2. Piccolo , Trombone , Trumpet 3. Oboe , Flute , Saxophone 4. Violin , Cello , Bassoon

Page 4: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

69. ปัจจุบันการผสมวงมโหรี มีเครื่องดนตรีในข้อใดที่แสดงให้เห็นว่าวงดนตรีดังกล่าว เป็นวงมโหร ี 1. จะเข ้ 2. ซอสามสาย 3. กระจับป่ี 4. ขลุ่ยเพียงออ

Page 5: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

73. เทคนิคการบรรเลงดนตรีในข้อใดที่มีลักษณะใกล้เคียงกันมากที่สุด 1. กรับพวง และ Timpani 2. ปี่ใน และ Flute 3. จะเข้ และ Guitar 4. ซอสามสาย และ Harp

Page 6: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

75. เครื่องดนตรีพื้นบ้านในข้อใดที่เป็นเครื่องดนตรีในภูมิภาคเดียวกันทั้งหมด 1. ปี่ พิณ โปงลาง แคน และโหวด 2. พิณ สะล้อ โหวด โปงลาง และซึง 3. ร ามะนา ฆ้องคู่ กลองโนรา และพิณ 4. โทนชาตรี ปี่ ตะโพน และฆ้องวง

Page 7: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

77. เสียงเพลงในข้อใดที่ชาวบ้านรอ้งเล่นกัน โดยมีลูกคู่ร้องรับช่วงหนึ่งว่า “เอ้า ฮ้า ไฮ้ เชี้ยบ เชี้ยบ เชี๊ยบ” 1. เพลงโคราช 2. เพลงซอ 3. เพลงเรือ 4. เพลงอีแซว

Page 8: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
Page 9: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

55. การผสมวงดนตรีในข้อใดที่เกิดก่อนและหลัง เรียงล าดับตามยุคสมัยประวัติศาสตร์ไทย 1. วงปี่พาทย์เครื่องห้า วงปี่พาทย์ดึกด าบรรพ์ วงเครื่องสาย 2. วงปี่พาทย์ดึกด าบรรพ์ วงเครื่องสายผสมขิม วงมโหรี 3. วงขับไม้ วงปี่พาทย์ดึกด าบรรพ์ วงปี่พาทย์เครื่องห้า 4. วงขับไม้ วงปี่พาทย์เครื่องห้า วงเครื่องสายผสมออร์แกน

Page 10: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

56. ถ้านักเรียนต้องการประพันธ์เพลงโดยการผสมวงมาตรฐานที่ใช้กันมานาน ควรเป็นวงในข้อใด 1. Violin , violin , viola , cello 2. Violin , trumpet , clarinet , horn 3. Violin , viola , cello , bassoon 4. Violin , violin , oboe , cello

Page 11: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

57. บทเพลงในข้อใดที่มีวัตถุประสงค์ในการประพันธ์ เพื่อใช้ประกอบกิจกรรมในสังคม มิใช่การฟังเพื่อความไพเราะ 1. เพลงพราหมณ์ดีดน้ าเต้า 2. เพลงเดี่ยวพญาโศก 3. เพลงงามแสงเดือน 4. เพลงบุหลันลอยเลื่อน

Page 12: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

58. ข้อใดไม่ได้เป็นความแตกต่างของการขับร้องเพลงไทยและเพลงสากล 1. การออกเสียงให้ตรงตามเสียงวรรณยุกต์ 2. การเอื้อนและการหายใจ 3. การร้องคู่เสียงหรือประสานเสียง 4. การสร้างอารมณ์เพลงจากถ้อยค า

Page 13: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

59. ข้อใดไม่ใช่เทคนิคการขับร้องเพลงไทย 1. การกระทบเสียง 2. การโหนเสียง 3. การครั่น 4. การควง

Page 14: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
Page 15: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

29. มารยาทในการชมการแสดงท่ีดีคือขอ้ใด 1. พูดคุยถึงการแสดงฉากต่างๆ เรื่องราวของการแสดงนั้นๆให้กับเพื่อนที่ชมด้วยกันฟังตลอดเวลา 2. พยายามอ่านสูจิบัตรการแสดงในเวลาชมการแสดงเพือ่ให้เข้าใจเรื่องราว 3. ปิดเสียงโทรศัพทแ์ละเครือ่งมือสื่อสารต่าง ๆ และไม่รับโทรศัพท์เด็ดขาดระหว่างชมการแสดง 4. ลุกไปเข้าห้องน้ าระหว่างทีก่ารแสดงอยู่ในช่วงที่ไม่ส าคัญ

Page 16: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

30. ในการแสดงงิ้ว สีของเครื่องแต่งกายที่ตัวละครสวมใส่ สามารถบ่งบอกลักษณะนิสัยได้ ดังเช่น ขุนนางที่มีคุณธรรมจะสวมชุดสีแดงหรือสีฟ้า แต่ถ้าเป็นขุนนางที่คดโกง จะสวมชุดสีอะไร 1. สีเขียวเข้ม 2. สีม่วง 3. สีน้ าเงิน 4. สีด า

Page 17: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

31. ข้อใดที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงศิลปะการแสดง 1. The Tgar and Carpenter - จันทกินรี 2. The Nut Cracker - รามายณะ (อินโดนีเซีย) 3. คาบกูิ - กถักกฬ ิ4. วายังวอง – มณีปุรี

Page 18: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

32. สมัยราชวงศ์ใดของจีนที่ละครหุน่มีความหลากหลายและโดดเด่นเป็นอย่างมาก 1. ราชวงศ์ฮั่น 2. ราชวงศส์ุย 3. ราชวงศ์ถัง 4. ราชวงศซ์่ง

Page 19: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

33. นาฏศิลป์อินโดนีเซียแบบใดที่ใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา 1. แบบสุราการต์า 2. แบบซุนดา 3. แบบบาหล ี 4. แบบสุมาตรา

Page 20: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
Page 21: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

12. การผสมวงดนตรีในข้อใด เรียงล าดับตามยุคสมัยประวัติศาสตร์ไทยถูกต้อง 1. วงดนตรีปี่พาทย์เครื่องห้า วงปี่พาทย์ดึกด าบรรพ ์วงเครื่องสาย 2. วงปี่พาทย์ดึกด าบรรพ ์ วงเครื่องสายผสมขิม วงมโหรี 3. วงบัวลอย วงปี่พาทย์ดึกด าบรรพ์ วงปี่พาทย์เครื่องห้า 4. วงขับไม้ วงปี่พาทย์เครื่องห้า วงเครื่องสายผสมออร์แกน

Page 22: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

13. บทเพลงใด ประพันธ์เพื่อใช้ประกอบกิจกรรมในสังคม มิใช่การฟังเพื่อความไพเราะ 1. เพลงโหมโรงจอมสุรางค์ 2. เพลงสุดสงวน เถา 3. เพลงขวัญใจดอกไม้ของชาติ 4. เพลงลาวดวงเดือน

Page 23: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

14. ในการแสดงเพื่อส่ือถึงบรรยากาศที่สดชื่นรื่นรมย์ ควรใช้เพลงใด 1. เพลงสร้อยสนตัด 2. เพลงมหาฤกษ ์ 3. เพลงสีนวล 4. เพลงนางนาค

Page 24: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

15. เอกลักษณ์ส าคัญของการขับร้องเพลงไทยเดิมคืออะไร 1. การใช้ปากและการหายใจ 2. การเอื้อน 3. การตัดเสียงให้กลมกล่อม 4. การผ่อนและการถอนลมหายใจ

Page 25: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

16. การใช้เพลงประกอบการแสดงท าให้เกิดอรรถรสด้านใดมากที่สุด 1. อารมณ์สะเทือนใจ 2. ความงดงามตระการตา 3. แสงและสีที่สร้างบรรยากาศ 4. แนวคิดในการสื่อความหมาย

Page 26: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
Page 27: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

68. เครื่องดนตรีในข้อใดที่จัดอยู่ในประเภทเดียวกัน 3. Oboe , Flute , Saxophone

69. ปัจจุบันการผสมวงมโหรี มีเครื่องดนตรีในข้อใดที่แสดงให้เห็นว่าวงดนตรีดังกล่าวเป็นวงมโหรี 2. ซอสามสาย

73. เทคนิคการบรรเลงดนตรีในข้อใดที่มีลักษณะใกล้เคียงกันมากที่สุด 3. จะเข้ และ Guitar

75. เครื่องดนตรีพื้นบ้านในข้อใดที่เป็นเครื่องดนตรีในภูมิภาคเดียวกันทั้งหมด 1. ปี่ พิณ โปงลาง แคน และโหวด

77. เสียงเพลงในข้อใดที่ชาวบ้านร้องเล่นกัน โดยมีลูกคู่ร้องรับช่วงหนึ่งว่า “เอ้า ฮ้า ไฮ้ เชี้ยบ เชี้ยบ เชี๊ยบ” 3. เพลงเรือ

Page 28: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
Page 29: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

55. การผสมวงดนตรีในข้อใดที่เกิดก่อนและหลัง เรียงล าดับตามยุคสมัย ประวัติศาสตร์ไทย 4. วงขับไม้ วงปี่พาทย์เครื่องห้า วงเครื่องสายผสมออร์แกน

56. ถ้านักเรียนต้องการประพันธ์เพลงโดยการผสมวงมาตรฐานที่ใช้กันมานาน ควรเป็นวงในข้อใด 1. Violin , violin , viola , cello การแสดงดนตรีคลาสสกิจะใชเ้ครือ่งดนตร ี4 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ เครื่องสาย (String) แบ่งออกเป็น ไวโอลิน วิโอล่า เชลโล 57. บทเพลงในข้อใดที่มีวัตถุประสงค์ในการประพันธ์ เพ่ือใช้ประกอบกิจกรรมในสังคมมิใช่การฟังเพ่ือความไพเราะ 3. เพลงงามแสงเดือน

Page 30: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

58. ข้อใดไม่ได้เป็นความแตกต่างของการขับร้องเพลงไทยและเพลงสาก 4. การสร้างอารมณ์เพลงจากถ้อยค า 59. ข้อใดไม่ใช่เทคนิคการขับร้องเพลงไทย 4. การควง การครั่น คือ วิธีการท าให้เสียงขับร้องสั่นสะเทือนภายในล าคอ เพ่ือให้เกิดความไพเราะในการขับร้อง การกระทบเสียง คือ การเอื้อนท านองสูงต่ าในสองพยางค์สุดท้าย โดยใช้เสียงที่สั้นกว่าปกติหรือรวบท านองเอื้อน การโหน คือ วิธีการร้องด้วยลีลาที่ต่อเนื่องจากเสียงสูงไปหาเสียงต่ า หรือเสียงต่ าไปหาเสียงสูง เพ่ือช่วยให้การขับร้องมีความไพเราะนุ่มนวลยิ่งขึ้น

Page 31: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
Page 32: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

29. มารยาทในการชมการแสดงที่ดีคือข้อใด 3. ปิดเสียงโทรศัพท์และเครื่องมือสื่อสารต่าง ๆ และไม่รับโทรศัพท์เด็ดขาดระหว่างชมการแสดง ปิดเสียงโทรศัพท์และเครื่องมือสื่อสารต่าง และไม่รับโทรศัพท์เด็ดขาดระหว่างชมการแสดง มารยาทในการชมการแสดงที่ดีนั้นผู้เข้าชมไม่ควรพูดคุยหรือวิจารณ์การแสดงขณะที่มีการท าการแสดงอยู่ และควรอ่านสูจิบัตรเพื่อท าความเข้าใจกับรายการการแสดงก่อนการแสดงเริ่ม ไม่ควรพุดคุยโทรศัพท์หรือลุกไปเข้าห้องน้ าขณะมีการแสดงอยู่ เนื่องจากจะรบกวนผู้ชมรอบข้างและท าลายสมาธิของผู้แสดงซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นมารยาทสากลที่ผู้ชมการแสดงทุกท่านควรปฏิบัติ

Page 33: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

30. ในการแสดงงิ้ว สีของเครือ่งแต่งกายทีต่ัวละครสวมใส่ สามารถบ่งบอกลักษณะนิสัยได้ ดังเช่น ขุนนางที่มีคุณธรรมจะสวมชุดสีแดงหรอืสีฟ้า แต่ถ้าเป็นขุนนางทีค่ดโกง จะสวมชุดสีอะไร 4. สีด า สีที่ใช้ในการแสดงงิว้นั้นจะบ่งบอกถึงวัยวุฒิ อุปนิสัย และต าแหน่งของบุคคลนั้น ดังนั้นผู้ที่แสดงเปน็ขุนนางผูค้ดโกง จึงควรแต่งกายด้วยสีด า เนื่องจากสีด าเป็นสีที่แสดงถึงชายที่โหดเหี้ยม ก้าวร้าว 1. สีเขียวเข้ม หมายถึง ชายที่มีคุณธรรม 2. สีม่วง เป็นสีของตัวละครที่วาดหนา้ 3. สีน้ าเงิน เป็นสีของผูท้ี่มียศสูง

Page 34: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

31. ข้อใดที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงศิลปะการแสดง 1. The Tgar and Carpenter – จันทกินร ีThe Tgar and Carpenter – จันทกินร ี ลักษณะของการแสดงต่างๆ สามารถแบ่งแยกได้ดังนี้ 1. The Tgar and Carpenter ละคร – จันทกินรี เป็นละครดึกด าบรรพ์ 2. The Nut Cracker คือ นาฏศิลป์ตะวันตก, บัลเลต ์- รามายณะ (อินโดนีเซีย) เป็นการแสดงละครคล้ายโขนของไทย แบ่งเป็นตอนๆ 3. คาบูกิ คือ ละครแบบญี่ปุ่น – กถักกฬ ิคือ นาฏศิลป์อินเดีย 4. วายังวอง เป็นการเชิดหุ่นมักพบในแถบประเทศอินโดนีเซียและมาเลเซีย – มณีปุรี เป็นนาฏศิลป์อินเดีย ถ้าพิจารณาจากตัวเลือกทั้งหมดจะเห็นได้ว่าการแสดงในข้อต่างๆ เป็นการแสดงที่มีความแตกต่างกันแต่มีการแสดงในตัวเลือกที่ 1 เท่านั้นที่เป็นการแสดงในรูปแบบเดียวกันนั่นคือ รูปแบบของละคร

Page 35: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

32. สมัยราชวงศ์ใดของจีนที่ละครหุ่นมีความหลากหลายและโดดเด่นเป็นอย่างมาก 4. ราชวงศ์ซ่ง ละครหุ่นของจีน เป็นศิลปะการแสดงที่มีมาอย่างยาวนานสืบค้นได้ถึงช่วงยุคราชวงศ์ฮั่น (พ.ศ.337-763) แต่ในช่วงราชวงศ์ซ่ง (พ.ศ.1503-1822) หุ่นได้มีวิวัฒนาการอย่างโดดเด่น ดังนี้ 1. เนื้อเรื่องมีความหลากหลายมากขึ้นโดยแสดงประกอบผู้เล่าเรื่อง 2. หุ่นมีหลายประเภท เช่น หุ่นสาย หุ่นน้ า หุ่นมนุษย์ เป็นต้น 3. ทักษะการเชิดหุ่นท าให้หุ่นมีลักษณะเหมือนกัน 4. มีการใช้เชือกและเหล็ก หรือโลหะมาประกอบการท าหุ่นเป็นครั้งแรก ข้อ 1 สมัยราชวงศ์ฮั่นก าเนิดหุ่นเงาและพัฒนาให้เคลื่อนไหวด้วยกลไกมาก ขึ้น ก าเนิดสถาบันคีตศิลป์ ข้อ 2 สมัยราชวงศ์สุย มีการปรับปรุงละครหุ่นให้สามารถเคลื่อนไหวได้ตาม ความต้องการของผู้เชิด มีโรงละคร ข้อ 3 สมัยราชวงศ์ถังก าเนิดสถาบันการแสดงท้ังชายและหญิง

Page 36: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี

33. นาฏศิลป์อินโดนีเซียแบบใดที่ใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา 4. แบบสุมาตรา นาฏศิลป์อินโดนีเซียแบบบาหลี ก่อก าเนิดจากการผสมผสานดัดแปลงระหว่างความเชื่อของฮินดูแบบอินเดียกับการนับถือสิ่งศักดิ์สิทธ์ิของชาวพื้นเมืองบาหลี หล่อล้อมขึ้นมาเป็นศาสนาฮินดูในแบบของบาหลี โดยการแสดงจะมีลีลาที่เร้าใจและมีชีวิตชีวา โดยการแสดงแบบทุกชุดมีความเก่ียวข้องกับศาสนาและใช้แสดงประกอบพิธีกรรมทางศาสนาเป็นส่วนใหญ่ ข้อ 1 นาฏศิลป์แบบสุราการต์ามีลักษณะแบบราชส านักคล้ายแบบยอร์ก ยาการต์า ไม่นิยมใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ข้อ 2 นาฏศิลป์แบบซุนดาคล้ายแบบยอร์กยาการต์า จะเน้นการใช้ผ้า ไม่ นิยมใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ข้อ 4 นาฏศิลป์แบบสุมาตราจะเน้นการแสดงนิทานชาวบ้านและราชส านัก ไม่นิยมใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา

Page 37: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
Page 38: ข้อสอบO-net วิชาดนตรี