onet เคมี m6

56
O-net …SCIENCE… (Part Chemistry) Create By Kru..0_o Nee..

Upload: oraneehussem

Post on 11-Jul-2015

988 views

Category:

Education


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Onet เคมี M6

O-net…SCIENCE…

(Part Chemistry)

Create By Kru..0_o Nee..

Page 2: Onet เคมี M6

……เคมี พื้นฐาน……

บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 3 ปโตรเลียมบทที่ 4 พอลเิมอรบทที่ 5 สารชีวโมเลกุล

Page 3: Onet เคมี M6

แบบจําลองอะตอม

อนุภาคมูลฐานของอะตอม

การจัดเรียงอิเล็กตรอน

พันธะเคมี

บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ

Page 4: Onet เคมี M6

แบบจําลองอะตอม

ดอลตัน

+ - + + - + - +- + - + -

ทอมสัน(หลอดรังสีแคโทด)

+

--

-

-

--

รัทเทอรฟอรด(ยิงอนุภาคแอลฟาไปแผนทองคํา)

+

--

-

-

--

แชดวิก

+ +++

นิวเคลียส = อนุภาคบวก + อนุภาคกลาง หรือ โปรตอน (p) + นิวตรอน (n)

นีลส โบร

P + n

e-

Page 5: Onet เคมี M6

สัญลักษณนิวเคลียรสัญลักษณนิวเคลียร

• สัญลักษณนิวเคลียร บอก

อนุภาคมูลฐานของอะตอมโปรตอน (p) หรือ ประจุบวกอิเล็กตรอน (e-) หรือ ประจุลบ นิวตรอน (n) หรือ ประจุกลาง

สรุป (ตองจํา) A ; เลขมวล = p + n Z ; เลขอะตอม = p

P = e-

n = A - Z

XZ

AP + n = เลขมวล

P = เลขอะตอม

Page 6: Onet เคมี M6

ไอโซโทน

ธาตุตางชนิดกัน

เลขอะตอมตางกัน

เลขมวลตางกัน

นิวตรอนเหมือนกัน

C6

12 N7

13

ไอโซบาร

ธาตุตางชนิดกัน

เลขอะตอมตางกัน

เลขมวลเหมือนกัน

เชน

C6

13N

7

13

N7

ธาตุชนิดเดียวกัน

เลขอะตอมเหมือนกัน

เลขมวลตางกัน

C6

12

เชน

C6

13

ไอโซโทป

คําถาม กับ เปนอะไรกัน ? (…………………………..) N7

14 N7

13 Isotope

Page 7: Onet เคมี M6

IC C12 13

6 6\Isotope p = โปรตอนเทากัน

\IsotoneC N12

6

13

7n = นิวตรอนเทากัน

C N13

6

13

7\Isobar เลขมวลเทากัน

หลักการจํา Isotope Isotone Isobar

Page 8: Onet เคมี M6

\tope

tone

\bar

หรือจําเปนรูปก็ได

ธาตุเหมือนกัน p = โปรตอน = เลขตัวลาง เทากัน

ธาตุตางกัน n = นิวตรอน = บนลบลาง เทากัน

ธาตุตางกัน เลขมวล = เลขตัวบน เทากัน

หมายเหตุ : ขอสอบมักออกเปนตัวเลือก “ขอใดกลาวผิด ขอใดกลาวถูก”

Page 9: Onet เคมี M6

จากสัญลักษณนิวเคลียร จงบอกอนุภาคมูลฐาน

C6

12

28 p = …….

14 e- = ……

n = …...

14

14

14

27 p = …….

13 e- = ……

n = …...

Al13

13

14

40 p = …….

18 e- = ……

n = …...

Ar18

18

22

Si

Cd

Si กับ Al เปนอะไรกัน…. เพราะ..?....^___^

ตอบ ………………………เพราะ……………………..

……………………..……………………..……………………..……………………..

Isotone

อะตอมตางชนิดกันเลขมวลตางเลขอะตอมตางแตนิวตรอนเหมือนกัน

Page 10: Onet เคมี M6

การจัดเรียงอิเล็กตรอน

กฎ 1 : จํานวน e- มีมากที่สุดในแตละระดับพลังงาน = 2n2

ระดับพลังงานชั้นที่ (n) 1 2 3 4 5

จํานวน e- 2 8 18 32 50

กฎ 2 : จํานวน e- (เวเลนซ e-) (ตัวสุดทาย) หามเกิน 8

กฎ 1

กฎ 2

Page 11: Onet เคมี M6

ตัวอยางการจัดเรียงอิเล็กตรอน

Cl =17

2 8 7

Na = 11

2 8 1

Ca =20

2 8 8

I =53

2 8 18

Br =35

2 8 18

2

7

18 7

หมู 1 คาบ 3

หมู 7 คาบ 3

หมู 2 คาบ 4

หมู 7 คาบ 4

หมู 7 คาบ 5

23

35

40

80

127

Page 12: Onet เคมี M6

การจัดเรียงอิเล็กตรอนของไอออน

ขอควรรู เสียอิเล็กตรอน ไอออนบวก

รับอิเล็กตรอน ไอออนลบ

หมายเหตุ โลหะ (ชอบเสีย e-) ไอออนบวก

อโลหะ (ชอบรับ e-) ไอออนลบ

ขอควรรู

หมายเหตุ

รับประจุลบ

เสียประจุลบ

Page 13: Onet เคมี M6

วิธีจํา

เรามักจะพูด

โลหะ อโลหะ

บวก ลบ

หรือจํา โล = บวก , อโล = ลบ

Page 14: Onet เคมี M6

การจัดเรยีงอิเล็กตรอนของไอออน

K+ =

19 2 8 8

Br - =

2 8 18 735

K+ =

192 8 8

Br - =

352 8 18 8

มันเสีย e- ไป 1 ตัวจึงกลายเปนไอออน +1

มันรับ e- มา 1 ตัวจึงกลายเปนไอออน -1

39

80

39

80

Page 15: Onet เคมี M6

การจัดเรยีงอิเล็กตรอนของไอออน

Al3+=

13 2 8 3

O 2-=

2 6

7

8

Al3+

=

132 8

O2-=

8

2 8

มันเสีย e- ไป 3 ตัวจึงกลายเปนไอออน +3

มันรับ e- มา 2 ตัวจึงกลายเปนไอออน -2

27

27

16

16

Page 16: Onet เคมี M6

พันธะเคมี

1) พันธะโคเวเลนต

- เกิดกับ อโลหะ + อโลหะ - เกิดจากการใชเวเลนซอิเล็กตรอนรวมกัน (ใหครบ 8 ตามกฎออกเตต)

1) พันธะโคเวเลนต

Page 17: Onet เคมี M6

1) พันธะโคเวเ

- เกิดกับ อโลหะ + โลหะ - อโลหะ (ชอบรับ e- จึงเปนไอออนลบ) , โลหะ (ชอบให e- จึงเปนไอออนบวก) จะเกิดแรงดึงดูดระหวางประจุ - และมีการใชเวเลนซอิเล็กตรอนรวมกัน (ใหครบ 8 ตามกฎออกเตต)

2) พันธะไอออนิก

Page 18: Onet เคมี M6

1) พันธะโคเวเ

- เกิดกับ โลหะ + โลหะ - เวเลนซอิเล็กตรอนอิสระ เคลื่อนที่ไปทั่วทั้งกอนโลหะ และเกิดแรงยึดเหนี่ยวกับไอออนบวกของโลหะ (ลักษณะเหมือนไอออนบวกลอยอยูในทะเลอิเล็กตรอนที่มีประจุลบ) - ทําใหพันธะมีความแข็งแรงมาก

3) พันธะโลหะ

Page 19: Onet เคมี M6

ธาตุ หมู 1 และ หมู 2 เปนโลหะ (นอกนั้นเปนอโลหะ)

Li = ลิ (ลิเทียม)

หมู 1 (โลหะ)

Na = นา (โซเดียม)

K = คา (โพแทสเซียม)

Rb = รู (รูบิเดียม)

Cs = สี (ซเิซียม)

Fr = ฟา (แฟรนเซียม)

Be = บี (เบริลเลียม)

หมู 2 (โลหะ)

Mg = แมก (แมกนีเซียม)

Ca = แคล (แคลเซียม)

Sr = เอสอาร (สรอนเซียม)

Ba = บา (แบเรียม)

Ra = รา (แรเดียม)

Page 20: Onet เคมี M6

ดูวิธีการใชกัน….

NaCl = พันธะไอออนิก (Na เปนโลหะ ,Cl เปนอโลหะ)

H2O = พันธะโคเวเลนต (H และ O เปนอโลหะ)

MgSO3 = พันธะไอออนิก (Mg เปนโลหะ ,S และ O เปนอโลหะ)

KOH = พันธะไอออนิก (K เปนโลหะ ,H และ O เปนอโลหะ)

Page 21: Onet เคมี M6

สรุป พันธะเคมี

ความแข็งแรงของพันธะ

พันธะโลหะ > พันธะไอออนิก > พันธะโคเวเลนต

จุดเดือด-จุดหลอมเหลว พันธะโลหะ > พันธะไอออนิก > พันธะโคเวเลนต

พันธะโลหะ นําไฟฟา-นําความรอน ไมได (ทุกสถานะ)พันธะโคเวเลนต

พันธะไอออน นําไฟฟา-นําความรอนได (เฉพาะที่ละลายน้ําได)พันธะไอออนิก

พันธะโลหะ นําไฟฟา-นําความรอนได (มีสถานะของแข็งเทานั้น)พันธะโลหะ

Page 22: Onet เคมี M6

การเปลี่ยนแปลงของสสาร

น้ําแข็ง น้ํา ไอน้ําละลาย ระเหย

การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ

สาร A + สาร B สาร C

เรียก การเกิดปฏิกิริยาเคมี (โมเลกุลเกิดการชนกัน)

การเปลี่ยนแปลงทางเคมี

Page 23: Onet เคมี M6

บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี

ปฏิกิริยาเคมี

สารตั้งตน + สารตั้งตน ผลิตภัณฑ (สารใหมที่ไมเหมือนเดิม)

จะรูไดไงวาเกิดปฏิกิริยาเคมี ?....

เกิดฟองแกส เกิดตะกอน เปลี่ยนสี เปลี่ยนอุณหภูมิ

จํา โมเลกุลมีการชนกัน จึงเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้น

Page 24: Onet เคมี M6

ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกริิยาเคมี

+

สารตั้งตน สารตั้งตน อัตราการเกิดปฏิกิริยา

สรุป : ความเขมขนสารตั้งตนมาก อัตราการเกิดปฏิกิริยามาก

1. ความเขมขนของสารตัง้ตน

Page 25: Onet เคมี M6

ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกริิยาเคมี

สรุป : อุณหภูมิสูง อัตราการเกิดปฏิกิริยามาก

2. อุณหภูมิอุณหภูมิสูง

โมเลกุลอุณหภูมิสูงจะวิ่งชนกันมากขึ้น

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น

Page 26: Onet เคมี M6

ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกริิยาเคมี

สรุป : พื้นที่ผิวมาก อัตราการเกิดปฏิกิริยามาก

3. พื้นที่ผิวของสาร

รูป รูป A รูป Bรูป B

รูป A และ B มี มวลเทากันรูป A มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงกวา B เพราะ พื้นที่ผิวมากกวา

Page 27: Onet เคมี M6

ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกริิยาเคมี

4. ตัวเรงปฏิกิริยา และตัวหนวงปฏิกิริยา

A + B Cตัวเรงปฏิกิริยา (catalyst)

อัตราการเกิดปฏิกิริยา เพิ่มขึ้น

A + B Cตัวหนวงปฏิกิริยา (inhibitor)

อัตราการเกิดปฏิกิริยา ลดลง

เชน เอนไซม

เชน สารกันบูด

Page 28: Onet เคมี M6

ตัวอยางปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน

1. ปฏิกิริยาการเผาไหม

เผาไหมสมบูรณ เผาไหมไมสมบูรณ

มีออกซิเจน เพียงพอ มีออกซิเจน ไมเพียงพอ

ไมมีเขมา มีเขมา

Page 29: Onet เคมี M6

ตัวอยางปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน

เผาไหมไมสมบูรณ มีเขมา , CO2 , CO

เชน การเผาไหมในรถยนต

CO2 + H2O H2CO3 (กรดคารบอนิก) รวมกับน้ําฝน เรียกวา ฝนกรด

CO (แกสคารบอนมอนอกไซด) จับกับ ฮีโมโกลบิน รางกายขาดแกสออกซิเจน

(ปกติฮีโมลโกลบินนํา O2 เขาสูรางกาย แตถูก CO แยงจับเสียกอน

Page 30: Onet เคมี M6

บทที่ 3 ปโตรเลียม

Petroleum ประกอบดวยธาตุ C และ H

Petroleum เกิดจากซากพืช ซากสัตว ทับถมเวลานาน

Petroleum แหลงที่พบ หินดินดาน (ดักดาน)

Petroleum แบงเปน 1) แกสธรรมชาติ

2) น้ํามันดิบ C >>> H > O = S > N

Page 31: Onet เคมี M6

การกลั่นลําดับสวนน้ํามันดิบ

Page 32: Onet เคมี M6

การแยกแกสธรรมชาติ

Page 33: Onet เคมี M6

เชื้อเพลิงในชีวิตประจําวัน

น้ํามันเบนซิน (gasoline)

บอกคุณภาพน้ํามันดวย เลขออกเทน

เชน น้ํามันเบนซิน ออกเทน 91 หมายความวา

ใชไอโซออกเทน (ยิ่งมากยิ่งดี) 91 สวน ใชนอรมอลเฮปเทน 9 สวน

Page 34: Onet เคมี M6

เชื้อเพลิงในชีวิตประจําวัน

หมายเหตุ

ใหสารตะกั่ว (เลิกใช) เรียก น้ํามันไรสารตะกั่ว

อดีต : ใชเตตระเมทิลเลต หรือเตตระเอทิลเลต

ปจจุบัน : ใชเมทิลเทอรเชียรี บิวทิลอีเทอร (MTBE)

จึงมีการเพิ่มคา octane

น้ํามันที่เหมาะกับเครื่องยนตปจจุบัน คือ octane 91 , 95

แตที่กลั่น (กลั่นลําดับสวนจากนํ้ามันดิบ) ได octane ต่ํากวา 75

Page 35: Onet เคมี M6

เชื้อเพลิงในชีวิตประจําวัน

น้ํามันดีเซล (diesel fuel)

บอกคุณภาพน้ํามันดวย เลขซเีทน

เชน น้ํามันดีเซล ซเีทน 95หมายความวา

ใช ซีเทน (ยิ่งมากยิ่งดี) 95 สวน ใช แอลฟาเมทิลแนฟทาลีน 5 สวน

Page 36: Onet เคมี M6

เชื้อเพลิงในชีวิตประจําวัน

เชื้อเพลิงทดแทน

แกสโซฮอลล (gasohol , E10)

น้ํามันเบนซิน : เอทานอล 9 : 1

ใชแทนน้ํามันเบนซิน

ไบโอดีเซล (biodiesel)

น้ํามันพืช/น้ํามันสัตว + แอลกอฮอลใช กรด-เบส เรงปฏิกิริยา

ใชแทนน้ํามันดีเซล

Page 37: Onet เคมี M6

เชื้อเพลิงในชีวิตประจําวัน

แกสธรรมชาติ

แกสปโตรเลียมเหลว

แกสหุงตม (LPG)

แกสธรรมชาติอัด (CNG)

รถยนตสวนตัว รถยนตโดยสารประจําทาง

เรียกรถประเภทนี้วา NGV

Page 38: Onet เคมี M6

บทที่ 4 พอลิเมอร (Polymer)

โมเลกุลใหญ เรียกวา พอลเิมอร โมเลกุลเล็ก เรียกวา มอนอเมอร

พอลิเมอร (Polymer) คือ โมเลกุลใหญที่ประกอบดวยโมเลกุลเล็กมารวมกัน

รูปการเกิดพอลเิมอร

มอนอเมอร มอนอเมอร มอนอเมอรมอนอเมอร

Page 39: Onet เคมี M6

polymer

ธรรมชาติ

สังเคราะห

แปง

โปรตีน กรดนิวคลิอิก

ยางพารา (พอลิไอโซปรีน)

เสนใย ยาง พลาสติก

ปฏิกิริยาการเกิดพอลเิมอร เรียกวา polymerization

Copolymer

Page 40: Onet เคมี M6

ชนิดของพอลเิมอร

หลอมเหลวและขึ้นรูป

ใหมได

นํากลับมาใชใหมได

แบบเสน HDPEPPPVC

แบบเสน

แบบกิ่ง LDPEแบบกิ่ง

แบบรางแห เมลามินไมหลอมเหลว

ขึ้นรูปใหมไมได

แบบรางแห

Page 41: Onet เคมี M6

ผลิตภัณฑจากพอลเิมอร

ยางธรรมชาติยางพารา

ยางกัตตาพอลิไอโซปรีน

ยางสังเคราะห ยาง IR , SBR ฯลฯ

ยางธรรมชาติ และยางสังเคราะห ก็มีขอดอย

การปรับปรุงคุณภาพยางธรรมชาติใหดี

เรียกกระบวนการ วัลคาไนเซชัน (vulcanization)

ยางธรรมชาติ + กํามะถัน ยางที่มีคุณภาพดีขึ้น

ยาง

Page 42: Onet เคมี M6

ผลิตภัณฑจากพอลเิมอร

เสนใยธรรมชาติ

เสนใย

เสนใยสังเคราะห

เรยอน

พอลิเอสเทอร

ไนลอน 6,6

ฯลฯ

เซลลูโลส

นุน

ใยมะพราว

ฝาย

สัตว

ขนแกะ

ขนนก

ฯลฯ

ลินิน

ปอ

ฯลฯ

เปลือกไม

Page 43: Onet เคมี M6

บทที่ 5 สารชีวโมเลกุล

2. ไดแซคคาไรด (น้ําตาลโมเลกุลคู)

กลูโคส

ฟรักโตส (ผลไม)

กาแลกโตส (นม)

1. มอนอแซคคาไรด (น้ําตาลโมเลกุลเดี่ยว)

มอลโทส = กลูโคส + กลูโคส

ซูโครส = กลูโคส + ฟลักโทส (น้ําตาลทราย)

แลกโทส = กลูโคส + กาแลกโทส

มอลโทส

ซูโครส

แลกโทส

(องคประกอบ C H O) มี 3 ชนิดคารโบไฮเดรต

Page 44: Onet เคมี M6

ควรจําใหได

น้ําตาลโมเลกุลเดี่ยว(มอนอแซ็คคาไรด)

น้ําตาลโมเลกุลคู(ไดแซ็คคาไรด)

ฟรักโทส

กลูโคส

กาแลกโทส

มอลโทส (กลูโคส + กลูโคส

ซูโครส (ฟรักโทส + กลูโคส)

แลกโทส (กาแลกโทส + กลูโคส)

กล ู ฟรัก กา มอล ซู แลก

Page 45: Onet เคมี M6

พบในผนังเซลลพืช

รางกายมนุษยยอยไมได ชวยกระตุนการขับถาย (กากใย)

สัตวกินพืชยอยได

เซลลูโลส

กลูโคส (จากแปง) ในเลือดมาก

เก็บที่ตับและกลามเนื้อเอาออกมาใชยามจําเปน

ไกลโคเจน

พบที่ตับและกลามเนื้อ

รางกายกินแปงเยอะ

รางกายเปลี่ยน กลูโคส เปน ไกลโคเจน

แปง (Starch)3. พอลีแซคคาไรด (น้ําตาลโมเลกุลใหญ)

Page 46: Onet เคมี M6

การทดสอบคารโบไฮเดรต

กรดเชน กลูโคส + สารละลายเบเนดิกต ตะกอนสีแดงอิฐ มอนอแซคคาไรด

กลูโคส

สารละลายเบเนดิกต

เกิดตะกอนสีแดงอิฐ

Page 47: Onet เคมี M6

เชน ซูโครส กลูโคส + ฟลักโตสตม กรด

ไดแซคคาไรด มอนอแซคคาไรดไดแซคคาไรด ตม กรด

กลูโคส + ฟลักโตส

สารละลายเบเนดิกต

ตะกอนสีแดงอิฐ

ซูโครสกลูโคส ฟลักโตส

กรด สารละลายเบเนดิกต

เกิดตะกอนสีแดงอิฐ

นักเรียนคิดวา ถานําซูโครสไปทดสอบดวยสารละลายเบเนดิกตเลย (โดยไมตม) จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม ??? อยางไร

Page 48: Onet เคมี M6

แปง + สารละลายไออโอดีน มวงน้ําเงินพอลิแซคคาไรด

แปงง

ไอโอดีน

แปงสีมวงอมน้ําเงิน

Page 49: Onet เคมี M6

ลิพิด (ไขมันและน้ํามัน)

เกิดจาก กรดไขมัน + กลีเซอรอล3 โมเลกุล 1 โมเลกุล

Page 50: Onet เคมี M6

ลิพิด (ไขมันและน้ํามัน)

พันธะคู

การทดสอบวาเปนกรดไขมันอิ่มตัวหรือไมอิ่มตัว หยดสารละลายไอโอดีน ถาเปนกรดไขมันไมอิ่มตัว พันธะคูจะดูดจับไอโอดีนไว

ยิ่งพันธะคูมีมาก (กรดไขมันไมอิ่มตัวสูง) จํานวนหยดไอโอดีนยิ่งมาก

Page 51: Onet เคมี M6

ขอควรรู

รวมตัวกับคอเลสเตอรอล

เกิดเปนไขมันอุดตันผนังหลอดเลือด

กรดไขมัน น้ํามันสัตวกรดไขมันอิ่มตัว(พันธะเด่ียว)

เกิดสารใหมที่มีกลิ่นเหม็นหืน

เติมวิตามิน Eชะลอ/ยับยั้งเหม็นหืน

แกสออกซิเจนเขาทําปฏิกิริยาที่พันธะคู

น้ํามันพืช

กรดไขมันไมอิ่มตัว(พันธะคู)

Page 52: Onet เคมี M6

โปรตีน

หนวยยอย คือ กรดอะมิโน (จัดเปนพอลิเมอร)

กรดอะมิโน กรดอะมิโน กรดอะมิโน กรดอะมิโน

พันธะเพปไทด พันธะเพปไทด พันธะเพปไทด

การทดสอบโปรตีน

เกิดสีมวงอมชมพู (เรียก การทดสอบไบยเูร็ต)

ใชสารละลายคอปเปอร (II) ซัลเฟต (เบส)

Page 53: Onet เคมี M6

กรด- เบส

ความรอน

โลหะหนัก

เปนตน

การแปลงสภาพโปรตีน

Page 54: Onet เคมี M6

กรดนิวคลิอิก

พบในนิวเคลียส พบในนิวเคลียส/ไซโทพลาสซึม

เปนสารพันธุกรรม (เก็บขอมูล) สังเคราะหโปรตีนในเซลล

Deoxy ribonucleic acid(DNA)

Ribonucleic acid(RNA)

Page 55: Onet เคมี M6

เปรียบเทียบลักษณะ RNA และ DNA

RNA DNA

Page 56: Onet เคมี M6

ทุกสิ่งทุกอยาง…เกิดขึ้นไดเพราะตัวเรา…มิใชใครอื่น…

คนอ่ืนเปนไดเพียงผูแนะนํา…แตคนที่ตองทํา…คือตัวของเราเอง

ขอเพียงอยา…ทอหาก…ทําไมได…

ยังไง…ตองพยายาม…