ozone gas generation using hing voltage at hing frequency

12
วิธีการผลิตกาซโอโซนดวยสนามไฟฟาแรงดันสูงความถี่สูง Ozone Gas Generation Using High Voltage at High Frequency Electric Field ศิศีโรตม เกตุแกว คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง Siseerot Ketkaew Faculty of Engineering, Ramkhamhaeng University บทคัดยอ บทความนี้นําเสนอวิธีการผลิตกาซโอโซนดวยสนามไฟฟาแรงดันสูงความถี่สูงโดยนํา หลักการของวงจรฟลายแบคคอนเวอรเตอรแบบเพิ่มระดับแรงดันไฟฟา โดยใชไอซี TL494 ควบคุมการทํางานของอุปกรณสวิตชิ่ง โดยการออกแบบวงจรฟลายแบคคอนเวอรเตอรให ทํางานที่ความถี10 - 30 กิโลเฮิรต ผานหมอแปลงความถี่สูง วงจรเรียงกระแส และฟลเตอร ทางดานเอาตพุต เพื่อใหไดไฟฟากระแสตรงที่แรงดันเอาตพุต 10 kV dc เพื่อนํามาประยุกตใชกับ อิเล็กโตรดแบบไมสม่ําเสมอสูง ในการสรางชุดอิเล็กโตรดในการผลิตโอโซน โดยออกแบบให ทํางาน 1 ชั่วโมง และสามารถผลิตโอโซนไดสูงสุด 100.9 – 150.3 mgO 3 /hr คําสําคัญ สนามไฟฟา ฟลายแบคคอนเวอรเตอร อิเล็กโตรด กาซโอโซน เครื่องผลิตโอโซน Abstract This paper presents the method of ozone gas generation using high voltage high frequency electric field. With the working process of the increasing voltage flyback converter, TL494 controls of the switching. The flyback converter is designed to operate at 10 – 30 kHz frequency through a high frequency transformer, a rectifier and filter circuits in order to operate the maximum current power supply at output voltage of 10 kV dc . By adapting the highly nonuniform electric field to the electrode design of the ozone generator, one-hour operating yields the maximum ozone generating capacity of 100.9 – 150.3 mgO 3 /hr. Keywords electric field, flyback converter, electrode, ozone gas, ozone generator

Upload: trinhhanh

Post on 31-Jan-2017

242 views

Category:

Documents


6 download

TRANSCRIPT

Page 1: Ozone Gas Generation Using Hing Voltage at Hing Frequency

วิธีการผลิตกาซโอโซนดวยสนามไฟฟาแรงดันสูงความถี่สูง Ozone Gas Generation Using High Voltage at

High Frequency Electric Field

ศิศีโรตม เกตุแกว คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง

Siseerot Ketkaew Faculty of Engineering, Ramkhamhaeng University

บทคัดยอ บทความนี้นําเสนอวิธีการผลิตกาซโอโซนดวยสนามไฟฟาแรงดันสูงความถี่สูงโดยนําหลักการของวงจรฟลายแบคคอนเวอรเตอรแบบเพิ่มระดับแรงดันไฟฟา โดยใชไอซี TL494 ควบคุมการทํางานของอุปกรณสวิตชิ่ง โดยการออกแบบวงจรฟลายแบคคอนเวอรเตอรใหทํางานที่ความถี่ 10 - 30 กิโลเฮิรต ผานหมอแปลงความถี่สูง วงจรเรียงกระแส และฟลเตอรทางดานเอาตพุต เพื่อใหไดไฟฟากระแสตรงที่แรงดันเอาตพุต 10 kVdc เพื่อนํามาประยุกตใชกับอิเล็กโตรดแบบไมสม่ําเสมอสูง ในการสรางชุดอิเล็กโตรดในการผลิตโอโซน โดยออกแบบใหทํางาน 1 ช่ัวโมง และสามารถผลิตโอโซนไดสูงสุด 100.9 – 150.3 mgO3/hr คําสําคัญ สนามไฟฟา ฟลายแบคคอนเวอรเตอร อิเล็กโตรด กาซโอโซน เครื่องผลิตโอโซน

Abstract

This paper presents the method of ozone gas generation using high voltage high frequency electric field. With the working process of the increasing voltage flyback converter, TL494 controls of the switching. The flyback converter is designed to operate at 10 – 30 kHz frequency through a high frequency transformer, a rectifier and filter circuits in order to operate the maximum current power supply at output voltage of 10 kVdc. By adapting the highly nonuniform electric field to the electrode design of the ozone generator, one-hour operating yields the maximum ozone generating capacity of 100.9 – 150.3 mgO3/hr. Keywords electric field, flyback converter, electrode, ozone gas, ozone generator

Page 2: Ozone Gas Generation Using Hing Voltage at Hing Frequency

ศิศีโรตม เกตุแกว• วิธีการผลิตกาซโอโซนดวยสนามไฟฟาแรงดันสูงความถี่สูง

97

บทนํา ในปจจุบันมีการนําเอากาซโอโซนมาใชประโยชนในการดําเนินชีวิตกันอยางแพรหลาย เชน การนําเอากาซโอโซนมาลางผักแทนการใชสารทับทิม เพื่อทําการฆาเชื้อโรคและลดปริมาณคลอลีนในน้ํา การนําโอโซนมาฟอกอากาศใหบริสุทธิ์ แตกาซโอโซนก็มีขอเสียเหมือนกัน ถาใชในปริมาณที่เขมมากเกินไปก็จะทําใหเกิดการระคายเคืองกับรางกายได แตถาใชในปริมาณที่พอดีและเหมาะสมกับงานที่นําเอากาซโอโซนไปประยุกตใชในขางตนก็จะทําใหเกิดประโยชนตอสุขภาพไดดี จึงเปนที่มาในการศึกษาในการสรางโอโซน และแนวทางที่จะควบคุมปริมาณโอโซนใหเหมาะสมกับงาน ในบทความนี้จะไดทําการศึกษาผลของการเปลี่ยนความถี่วามีผลตอปริมาณโอโซนที่เกิดขึ้นหรือไม โดยใชแหลงจายไฟฟาแรงดันสูงความถี่สูงแบบสวิตชิ่งที่สรางขึ้นเพื่อจายแรงดันสูงความถี่สูงไปใหกับโหลด คือ ชุดอิเล็กโตรดทํางานเพื่อใหเกิดโอโซน โดยที่โอโซนจะเกิดขึ้นไดโดยอาศัยหลักการแตกตัวของโมเลกุลของกาซออกซิเจน ซ่ึงจะทําใหเกิดกาซโอโซนจากสมการคือ

32 0 OO →+ โดยกาซโอโซนจะมีความสามารถในการทนตอแรงดันไฟฟาไดคาหนึ่ง และความรอนก็มีผลตอปริมาณโอโซนที่เกิดขึ้นเพราะฉะนั้นจึงตองมีการควบคุมปริมาณแรงดันไฟฟา และความถี่ใหเหมาะสมในการผลิตโอโซน ยานพลังงานที่จําเปนใชทางเคมีคือ 493 kJ/mol – 762.23 kJ/mol เมื่อทําการแปลงหนวยจะไดยานพลังงานที่จําเปนตองใชคือ 5.583 kWh / m3 - 8.631 kWh / m3 แตเนื่องจากในอากาศมีออกซิเจนอยูประมาณ 21% ดังนั้นยานพลังงานที่จําเปนตองใชคือ 1.17243 kWh / m3 – 1.620 kWh / m3 จึงเพียงพอตอการเกิดโอโซนในแกปของชุดอิเล็กโตรด

ตารางที่ 1 ขอมูลปริมาณการใชโอโซนในลักษณะตางๆ

ลักษณะและพื้นที่ของการใชงาน ปริมาณท่ีใช (มิลลิกรัมตอชั่วโมง) 1. ในรถยนต 10 –15 2. ในหอง 10 ตารางเมตร 20 ตารางเมตร 33 ตารางเมตร 55 ตารางเมตร

20 40 70 100

3. น้ําดื่ม 10 – 30 ลิตร 100 – 125

Page 3: Ozone Gas Generation Using Hing Voltage at Hing Frequency

วารสารวิชาการ ม.อบ. ปที่ 8 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2549

98

ตารางที่ 1 (ตอ) ขอมูลปริมาณการใชโอโซนในลักษณะตางๆ

ลักษณะและพืน้ที่ของการใชงาน ปริมาณที่ใช (มิลลิกรัมตอชั่วโมง) 4. สลายสารพษิในผัก ผลไม เนื้อสัตวทําความสะอาดภาชนะ ซักลางสารที่ตกคางบนเสื้อผา

100

5. ในอางอาบน้ํา 200 6. สลายสารเคมี ทําลายและยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรค และกลิ่นอับไมพึงประสงค

250

ทฤษฎีเกี่ยวกับกระบวนการแตกตัวของกาซโอโซน อากาศมีองคประกอบหลักคือกาซไนโตรเจน ( )2N 79% และกาซออกซิเจน ( )2O 21% โดยประมาณนอกนั้นเปนกาซเฉื่อยและไอน้ํา โอโซนเปนกาซที่ประกอบไปดวยออกซิเจน 3 อะตอมจับตัวกันอยูในสถานะไมเสถียรสลายตัวไดงายขึ้นอยูกับเงื่อนไขสิ่งแวดลอมและความหนาแนนของปริมาณที่ผลิต ขั้นตอนการผลิตประกอบดวยกระบวนการสรางอะตอมอิสระของออกซิเจน (Ferr radical) จากโมเลกุลกาซออกซิเจนในอากาศ หลังจากนั้นอะตอมอิสระเหลานี้จะรวมตัวเขากับ โมเลกุลกาซออกซิเจนเกิดเปนโอโซน 3O ซ่ึงจะนําไปใชในระบบบําบัดทางอุตสาหกรรมตอไป กระบวนการเกิดโอโซนเกิดไดจากกระบวนการ 2 ชนิดคือ กระบวนการไอออไนเซชัน (Ionization) หรือกระบวนการแยกตัว (Dissociation) ในการแตกตัวของกาซนั้น ไอออไนเซชัน คือการเพิ่มของประจุแบบทวีคูณ (Electron avalanche) นําไปสูการเบรกดาวนในฉนวนที่พิจารณาทําใหกระแสไฟฟาวิ่งทะลุผานแนว ส่ิงที่เกิดตามมาคือ ความรอนเนื่องจากกระแสที่ไหลจากการ เบรกดาวนที่เกิดขึ้น ทําใหโอโซนท่ีมีพลังงานพันธะต่ําเกิดการสลายตัว ดังนั้นในการผลิตโอโซนจึงไมควรเกิดการเบรกดาวนขึ้น นั่นคือพลังงานที่อิเล็กตรอนรับจากสนามไฟฟาควรมีคานอยกวาพลังงานไอออไนเซชัน แตเพียงพอที่จะทําใหเกิดการแยกตัวของอะตอมออกซิเจนออกจากกัน

การออกแบบ 1. การออกแบบแผนอิเล็กโตรดที่ใชในเครื่องผลิตโอโซน ในการออกแบบไดเลือกใชอิเล็กโตรดที่ไมสม่ําเสมอสูงกับอิเล็กโตรดระนาบ ซ่ึงวัสดุที่ใชทําอิเล็กโตรดแบบไมสม่ําเสมอสูงคือตระแกรงปรับใหเปนปลายแหลม และวัสดุที่ใชทํา

Page 4: Ozone Gas Generation Using Hing Voltage at Hing Frequency

ศิศีโรตม เกตุแกว• วิธีการผลิตกาซโอโซนดวยสนามไฟฟาแรงดันสูงความถี่สูง

99

อิเล็กโตรดระนาบไดแกอลูมิเนียม ในการสรางเครื่องผลิตโอโซน ขอดีของอิเล็คโตรดแบบไมสม่ําเสมอสูงคือ มีความเครียดสนามไฟฟาสูงสุดที่บริเวณปลายแหลม การจายไฟฟากระแสสลับแรงดันสูงและความถี่สูง โดยความถี่ถูกควบคุมโดยชุดวงจรควบคุมความถี่ เอาทพุตของหมอแปลงความถี่สูงที่เปนแรงดันสูง ถูกนํามาจายใหแผนอิเล็กโตรดแบบไมสม่ําเสมอสูงขางหนึ่ง และอีกสวนจะจายใหกับแผนอิเล็กโตรดแบบระนาบ ซ่ึงจะจายแรงดันสูงแตไมทําใหเกิดการเบรคดาวนมีแตความเครียดของสนามไฟฟาสูง ดังนั้นในระบบจึงไมควรเกิดความรอนขึ้นภายในแกปมากเกินไปเพราะจะทําใหไมเกิดโอโซน และจากการเปรียบเทียบสนามไฟฟาของอิเล็กโตรดลักษณะตางๆ พอจะสรุปไดวารูปรางอิเล็กโตรดที่เปนแบบไมสม่ําเสมอสูง กับอิเล็กโตรดแบบระนาบใหผลผลิตสูงสุด ดังนั้นจึงนําอิเล็กโตรดแบบไมสม่ําเสมอสูง และอิเล็กโตรดแบบระนาบทําการออกแบบเครื่องผลิตโอโซนดวยแหลงจายแรงดันสงูแบบสวิตชิ่ง

DC (-)

DC (+)

0.5 cm

Aluminium

Air

รูปท่ี 1 โครงสรางทั่วไปของเครื่องผลิตโอโซน และลักษณะแผนอิเล็กโตรดที่เลือกใช

2. พลังงานที่ใชของชุดอิเล็กโตรด

ปริมาตรอากาศในแกป = กวาง x ยาว x สูง

= ( 0.005m x 0.13m x 0.25m ) x 16 ชุด

Page 5: Ozone Gas Generation Using Hing Voltage at Hing Frequency

วารสารวิชาการ ม.อบ. ปที่ 8 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2549

100

= 260 x 10-5 m3

= 2600 cm3

ความตองการพลังงาน / ปริมาตร คือ 1.172 kWh/m3

ที่ปริมาตร = 2600 cm3

ความตองการของพลังงานที่ตองใช = 1.172 x 103 x 260 x 10-5

= 3.0472 W-h

จนถึงยานพลังงานที่ตองการ/ ปริมาตร คือ 1.62 kWh/m3

ที่ปริมาตร = 2600 cm3

ความตองการของพลังงานที่ตองใช = 1.62 x 103 x 260 x 10-5

= 4.212 W-h โดยประมาณ

พลังงานในการผลิตเกิดเนื่องจากสนามไฟฟา E สามารถหาไดจาก

∫= dvEW 2

21 ε (3)

VWEε2

= (4)

Ex

= −

2 3 0 4 7 28 8 5 4 1 0 2 6 0 01 2

( . )( . ) ( )

cmkVE /27.16=

ถึงคา E

x= −

2 4 2 1 28 8 5 4 1 0 2 6 0 01 2

( . )( . ) ( )

cmkVE /129.19=

Page 6: Ozone Gas Generation Using Hing Voltage at Hing Frequency

ศิศีโรตม เกตุแกว• วิธีการผลิตกาซโอโซนดวยสนามไฟฟาแรงดันสูงความถี่สูง

101

กําหนดให d= 0.5 cm., η*=20%

V E di i= × × ∗η (5)

ที่ Emax = 16.27 kV/cm V k Vi = × ×1 6 2 7 0 5 0 2. . .

V k Vi = 1 6 2 7.

ที่ Emax = 19.129 kV/cm V k Vi = × ×1 9 2 7 0 5 0 2. . .

V k Vi = 1 9 2 7.

ดังนั้นยานแรงดันที่ทําใหเร่ิมเกิดการโคโรนาในการผลิตคือ 1.627 – 1.927 kV ยานสนามไฟฟาทีใ่ชคือ 16.27 – 19.129 kV/cm. ยานพลังงานคือ 3.0472 – 4.212 W-h

d = ระยะหางระหวางแกป Emax = ความเครียดสนามไฟฟาสูงสุดในแกประหวางอิเล็กโตรด η* = แฟคเตอรของสนามไฟฟา

การทดสอบแหลงจายไฟฟากระแสตรงแรงดันสูงความถี่สูง แหลงจายไฟฟาแรงดันสูงแบบสวิตชิ่ง โดยใชไอซีเบอร TL494 เปนตวัสรางพัลสวิดมอดูเลชั่น เปนวงจรควบคุมการสวิตชิ่ง ซ่ึงใชเพาเวอรมอสเฟตเปนอุปกรณในการนํากระแส ซ่ึงมีความถี่ในการสวิตชิ่ง คือ 10 – 30 กโิลเฮิรตซ สุดทายจะผานหมอแปลงแรงดันสูงความถี่สูงเพื่อสรางแรงดันไฟฟากระแสตรงแรงดนัสูง ขนาด 10 กิโลโวลท เพื่อจายใหกับชุดผลิตกาซโอโซน

Page 7: Ozone Gas Generation Using Hing Voltage at Hing Frequency

วารสารวิชาการ ม.อบ. ปที่ 8 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2549

102

รูปท่ี 3 แหลงจายไฟฟากระแสตรงแรงดันสูงความถี่สูง

(ก) (ข)

รูปท่ี 4 (ก) สัญญาณกระแสที่ขาเกทของเพาเวอรมอสเฟต และ (ข) แรงดันเอาตพุต 10 kVdc ของหมอแปลงสวติชิ่งแรงดันสูงความถี่สูง ขณะจายไฟฟาที่ชุดอิเล็กโตรด

หมอแปลงฟลายแบคที่นํามาใชจายแรงดันไฟฟาแรงสูงใหกับชุดอิเล็กโตรด เนื่องจากใชหมอแปลงฟลายแบคสําเร็จรูปจึงไมสามารถหาอัตราสวนจํานวนรอบของหมอแปลงไดจาก (N1 / N2) = (V1 / V2) ทําใหสามารถประมาณอัตราสวนของแรงดัน (V1 / V2) ไดโดยจะใชคาในผลการทดลอง ขณะ No – load คิดที่ Duty cycle 10% สามารถคํานวณอัตราสวนแรงดัน (V1 / V2) ไดเทากับ 1:325.19 V นั้นหมายความวาจาย Vin เทากับ 1 V จะได

Page 8: Ozone Gas Generation Using Hing Voltage at Hing Frequency

ศิศีโรตม เกตุแกว• วิธีการผลิตกาซโอโซนดวยสนามไฟฟาแรงดันสูงความถี่สูง

103

Vout เทากับ 325.19 V ที่ (Duty cycle 10%) โดยหมอแปลงฟลายแบคเบอร TLF 14690 จะมีลักษณะการตอวงจร ดังรูปที่ 5

EHTSCREEN

FOCUS

9

2

1

5

4

3

7

8

6

2

3

1

4

5

6

7

8

9

Out put (-)

Vcc

D (MOSFET)

รูปท่ี 5 ลักษณะการตอวงจรภายในและการนับขาของหมอแปลงฟลายแบคเบอร TLF14690

(ก) (ข) รูปท่ี 6 (ก) Digital Oscilloscope (Yokogawa) ที่ใชวดัสัญญาณ และ (ข) Probe x 1000 ใชวัด

สัญญาณแรงดนัสูง 1. การวิเคราะหปริมาณโอโซน (Ozone analysis) ในงานวิจัยนี้ เลือกใชวิธีทางเคมีในการตรวจหาปริมาณโอโซน หลักการคือ ใชสารละลายที่เกิดปฎิกิริยากับโอโซน ในที่นี้ใชสารโปแตสเซียมไอโอไดด (KI) ทําใหไดสารใหมเกิดขึ้น จึงสามารถหาปริมาณโอโซนได โดยทําการไตเตรตกับสารละลายที่เปนตัวรีดิวส เชน โซเดียมไธโอซัลเฟต (Na2S2O3) เปนตน

Page 9: Ozone Gas Generation Using Hing Voltage at Hing Frequency

วารสารวิชาการ ม.อบ. ปที่ 8 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2549

104

สารเคมีที่ใชในการตรวจหาปริมาณโอโซนที่ผลิตไดโดยใช KI เปนตัวทําปฏิกิริยากับโอโซนดวย Na2S2O3 โดยกอนการทดสอบ KI เปนสารใสเมื่อผานกาซจากเครื่องกําเนิดโอโซนลงไปพบวาสีของสารละลายเปลี่ยนไป จุดยุติของการไตเตรตคือเมื่อสีของสารละลายกลับมาใสอีกครั้ง แลวทําการบันทึกคา Na2S2O3 ที่ใชไป และคํานวณหาปริมาณโอโซนที่ได

รูปท่ี 7 สีของสารละลาย KI กอนทําปฏิกิริยาและหลังทําปฏิกิริยากับโอโซน

2. ความสัมพันธระหวางความถี่กับปริมาณโอโซนที่เกดิขึ้น ทําการทดลองที่ความถี่ของวงจรควบคุม 10 – 30 kHz แรงดัน Vout เทากับ 10 kVdc คงที่ อัตราการการหมุนเวียนของอากาศ 129 ลูกบาศกเมตรตอช่ัวโมง จะเห็นผลของปริมาณโอโซนที่ผลิตได ดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 ความสัมพันธระหวางความถี่กับโอโซนที่เกิดขึ้น

แรงดันไฟฟาแรงสูงเอาทพุท (kVdc)

ความถี่ (Frequency) (kHz)

ปริมาณโอโซน O3 (mg/hr)

10 10 100.9 10 20 128.5 10 30 150.3

Page 10: Ozone Gas Generation Using Hing Voltage at Hing Frequency

ศิศีโรตม เกตุแกว• วิธีการผลิตกาซโอโซนดวยสนามไฟฟาแรงดันสูงความถี่สูง

105

(ก) (ข) รูปท่ี 8 (ก) เครื่องผลิตโอโซนที่สรางขึ้น และ (ข) อุปกรณในการทดลอง

สรุป จากการทดลองเครื่องผลิตโอโซนดวยแหลงจายไฟฟากระแสตรงแรงดันสูงความถี่สูงแบบสวิตชิ่ง จะพบวาการผลิตกาซโอโซนที่ไดนั้นมาจากปรากฏการณโคโรนาดิสชารจ ซ่ึงจะเกิดการเปลี่ยนแปลงโมเลกุลกาซออกซิเจนที่มีอยูในอากาศเปนกาซโอโซน โดยเชื่อมโยงความสัมพันธของพลังงานที่จําเปนตองใชในทางเคมีกับพลังงานทางไฟฟา ซ่ึงพลังงานที่จําเปนตองใชคือ 493.2 - 682.8 kJ/mol เปนพลังงานในการเปลี่ยนกาซออกซิเจน (21% ของอากาศ) โดยเปนโอโซนคือ 1.172 - 1.62 kWh/m3 ชุดผลิตโอโซน ในการออกแบบนี้ตองการใหเกิดการไอออไนเซชั่นโดยการปอนแรงดันไฟฟาเขาไปแลวไมใหเกิดการเบรกดาวนเกิดขึ้น จากการทดสอบพบวาขณะจายแรงดันไฟฟาเขาไปประมาณ 2 kV จะเริ่มเกิดการไอออไนเซชั่นที่อิเล็กโตรดแบบระนาบกับปลายแหลม และสามารถทํางานไดถึงแรงดันที่ 12 kV โดยไมเกิดการเบรกดาวน จึงเลือกอิเล็กโตรดแบบระนาบกับปลายแหลมมาทําการออกแบบชุดผลิตโอโซน โดยไดออกแบบใชงานของชุดผลิตโอโซนที่แรงดัน 10 kVdc เพราะจะเกิดโอโซนที่ปริมาณ 100.9 – 150.3 mgO3/hr ซ่ึงปริมาณโอโซนที่เครื่องผลิตโอโซนผลิตมาไดนั้น สามารถจะนําปริมาณโอโซนที่ผลิตมาไดเปนแนวทางในการเลือกใชงานในการแกปญหาทางดานสิ่งแวดลอม และนําไปใชประโยชนอ่ืนๆ ไดอยางมากมาย ชุดแหลงจายไฟฟากระแสตรงแรงสูงมีความสามารถปรับความถี่ตั้งแต 10 kHz – 30 kHz โดยคงคาแรงดันไวที่ 10 เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของปริมาณกาซโอโซนที่ผลิตออกมาได ซ่ึงผล

Page 11: Ozone Gas Generation Using Hing Voltage at Hing Frequency

วารสารวิชาการ ม.อบ. ปที่ 8 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2549

106

การทดลองที่ได คือ เมื่อปรับความถี่ใหสูงขึ้นจะทําใหปริมาณโอโซนสูงขึ้นดวย แตก็มีปจจัยอ่ืนๆดวยที่สงผลตอการผลิตกาซโอโซน คือ ปริมาตรอากาศ ความเร็วของอากาศ ความรอน ความชื้น แสง สี เสียง และอื่นๆ ซ่ึงปจจัยพวกนี้ทางผูวิจัยจะไดทําการศึกษาและวิจัยในอนาคตตอไป และในสวนของการเบรคดาวนของชุดผลิตกาซโอโซนนั้นสามารถเกิดขึ้นไดบอยคร้ังเพราะมีฉนวนอากาศเพียงอยางเดียว และท่ีสําคัญคือการเบรคดาวนบอยคร้ังสงผลทําใหฉนวนในหมอแปลงฟลายแบคเสื่อมไดงาย และอัตราการผลิตกาซโอโซนก็จะลดลงดวย แนวทางแกไขคือ การเพิ่มฉนวนแกวอีกชั้นหนึ่งเพื่อลดการเบรคดาวน และลดการกัดกรอนของกาซโอโซนที่แผนเพลท เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตกาซโอโซน

เอกสารอางอิง พรพิมล รัตนวิเชียร. 2540. เคร่ืองผลิตโอโซนโดยใชพลังงานแสงอาทิตย. ปริญญานิพนธ.

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. ศิศีโรตม เกตุแกว และวีระศกัดิ์ วงศววิัติ. 2547. ปที่ 21 ฉบับที่ 4 เดือนธันวาคม 2547.

การศึกษาผลของการเปลี่ยนความถี่สวิตชิง่ในฟูลบริดจอินเวอรเตอรตอปริมาณการผลิตกาซโอโซน. วิศวสารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. หนา 72-76.

ศิศีโรตม เกตุแกว. 2548. ปที่ 22 ฉบับที่ 2 เดือนมิถุนายน 2548. การศึกษาเทคนิคการผลิตกาซโอโซนโดยใชแหลงจายไฟฟากระแสตรงแรงดันสงูความถี่สูง แบบแรงดนักระเพื่อมสูง. วิศวสารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง. หนา 1-6.

สุวัฒน แซดัน่. 2537. เทคนิคการออกแบบสวิตชิง่เพาเวอรซัพพลาย. เอนเทลไทย. สุวัฒน แซดัน่. 2538. สวิตชิง่เพาเวอรซัพพลายในเครื่องรับโทรทัศนสี. บริษัทเอนเทลไทย

จํากัด. สํารวย สังขสะอาด. 2528. วิศวกรรมไฟฟาแรงสงู. ภาควชิาวิศวกรรมไฟฟา

คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย. สมคิด วิริยประสิทธิ์, สมบูรณ มาลานนท. 2537. แหลงจายไฟแบบสวติชิง่. หจก.ฟสิกส

เซนเตอร จํากดั. Alston L.L. 1968. High-Voltage Technology. London. Oxford University Press.

Page 12: Ozone Gas Generation Using Hing Voltage at Hing Frequency

ศิศีโรตม เกตุแกว• วิธีการผลิตกาซโอโซนดวยสนามไฟฟาแรงดันสูงความถี่สูง

107

Chalmers I.D. et al,1994. “Ozone Generator by Pluse Corona Discharge In a Wire Cylinder Arrangement,” Printed and Published by IEE, savoy Place, London.

Dorsey. J.A. et al. March/April 1994. Ozone Production in Electrostatic Air Cleaners with Contaminated Electrodes. IEEE Trans. Ind. Applicat. 30:2.

Kuff. E and Abddulah M. 1977. High-Voltage Engineering. Oxford. Pergamon Press,

Moom. J. et al. 1998. Discharge and Ozone Generation Characteristics of a Ferroelectric-Ball/Mica-Sheet Barrier. IEEE Trans. Ind. Applicat. 34:6.

Potivejkul S. et al. 1998. Design of Ozone Generator Using Solar Energy. IEEE Conference. Chaing Mai, Thailand.

Potivejkul S. et al. 1999. PV System Sing for Ozone Generation. IPEC’99 Singapore.

Rashid. Muhammad H. Power Electronics. Second Edition. Prentice-Hall International. Inc.

Robinson. J. A. et al. July/August 1998. A New Type of Ozone Generator Using Taylor Cones on Water Surfaces. IEEE Trans. Ind. Applicat. 30: 2.

Tapia C. G. Oct 1994. Perturbation Method for Ozone Synthesis from Oxygen in Single Discharge. IEEE Trans. Plasma Science. 22:5.

Viner A.S. et al. May/June 1992. Ozone Generation in dc-Energized Electrostatic Precipitators. IEEE Trans. Ind. Applicat. 28: 3.