pes book

33

Upload: undp

Post on 14-Jan-2017

82 views

Category:

Environment


3 download

TRANSCRIPT

การแทนคุณระบบนิเวศ

ที่ปรึกษา ธัญญา เนติธรรมกุล อธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

Martin Hart-Hansen United Nations Development Programme

สุธาริน คูณผล Programme Specialist – Team Leader/UNDP

เรื่อง ทรงธรรม สุขสวาง ผูตรวจราชการกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

รักษาราชการแทนผูอำนวยการสำนักอุทยานแหงชาติ

ผูอำนวยการโครงการเรงเสริมความยั่งยืนของระบบ

การจัดการพื้นที่คุมครอง (CATSPA)

คณะทำงาน หทัยรัตน นุกูล คมกริช เศรษบุบผา ทวี หนูทอง กัญจนสุรีย ยิ้มสาลี

มลวิภา ณ นรงค อรญา รอดขวัญ วิไลวรรณ แสนภักดี วรรณพร ภารสงัด

จิตวดี ขุนวงษา สุปราณี กองทัพ

ปรับปรุงจาก Journal of Thailand Protected Area Volume 1 Number 1

(January – December 2014)

คำนำ

ทิศทางของการจัดการพ้ืนท่ีคุมครองแนวใหมของประเทศไทย กำลังหาวิธีในการสรางความย่ังยืนทาง

ดานการเงินใหกับพ้ืนท่ีคุมครอง และมีความคาดหวังใหประสบความสำเร็จในบริบทของเศรษฐกิจระดับประเทศ

ท่ีกำลังเจริญเติบโต ซ่ึงมีนโยบายหลายแบบเปนตัวผลักดันในการสรางแหลงเงินทุนแหลงใหมใหกับพ้ืนท่ีคุมครอง

แตหลักการ “ผูสรางมลพิษเปนผูจาย” กลาวไววา ผูที่กอใหเกิดความเสียหายควรจายเงินสำหรับการซอมแซม

ความเสียหายตางๆที่เกิดขึ้นกับพื้นที่คุมครอง โดยเฉพาะคาปรับซึ่งกำหนดโดยกฎหมายของพื้นที่คุมครองที่

เกี่ยวของนั้น ยังไมเพียงพอตอการเปนรายไดที่มีนัยสำคัญตอการจัดการพื้นที่คุมครอง และไมเพียงพอตอการ

เปนเงื่อนไขที่ใชบังคับทางกฎหมายอยางเขมงวด อยางไรก็ตามในปจจุบันยังไมมีนโยบายใดที่เหมาะสมมากพอ

ที่จะนำหลักการ “ผูสรางมลพิษเปนผูจาย” มาปฏิบัติใชกับการจัดการดานการเงินในพื้นที่คุมครอง

แตหลักการ “ผูใชเปนผูจาย” นักอนุรักษหลายฝายไดเสนอวา กลุมคนท่ีไดรับผลประโยชนจากพ้ืนท่ี

คุมครองควรเปนผูจายเงินเพ่ือการจัดการพ้ืนท่ีคุมครองอยางย่ังยืน และหลักการน้ีสามารถเรียกรองการจายเงิน

จำนวนมากจากผูที่ไดรับผลประโยชนจากบริการของระบบนิเวศจากพื้นที่คุมครองได แตปจจัยทางการเมือง

หลายประการอาจเปนอุปสรรคในการดำเนินการตามหลักการพื้นฐานดังกลาวนี้ และเปนปญหาที่เกิดขึ้นกับ

พื้นที่คุมครองทุกแหงของโลก

แนวคิดเร่ือง 'การแทนคุณระบบนิเวศ' ไดรับความสนใจอยางมากในวงการนักอนุรักษ และนักจัดการ

ทรัพยากร ทั้งนี้เนื่องมาจากมันมีลักษณะของภาษาที่เปนเอกลักษณที่รวมเอาเรื่องของ เศรษฐกิจ ธุรกิจ และ

ส่ิงแวดลอมชุมชน มาผนวกเขาดวยกัน โดยสามารถระบุมูลคาของผลประโยชนจากบริการระบบนิเวศท่ีไดรับได

ในขณะท่ีผูท่ีมีสวนไดเสียท่ีไมเคยเก่ียวของมากอน ก็ไดรับการยอมรับใหเขามีสวนรวมในการอนุรักษสภาพแวดลอม

ดังนั้น หนังสือเลมนี้จะอธิบายเกี่ยวกับเรื่อง 'บริการของระบบนิเวศ หรือ Ecosystem services'

และแนวทางการแทนคุณระบบนิเวศ ซึ่งเพิ่งจะเริ่มกันขึ้นเมื่อไมกี่ปมานี้ โดยไดมีการอภิปรายถกเถียงกัน

ในประเด็นของการรักษาส่ิงแวดลอม โดยเฉพาะในเร่ือง “การประเมินระบบนิเวศแหงสหัสวรรษ (Millennium

Ecosystem Assessment ,MEA)” เรื่องนี้เปนที่สนใจมากขึ้น และมีมุมมองที่หลากหลายในการที่จะทำให

ระบบนิเวศ สภาพแวดลอมทางธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพสามารถค้ำจุนชีวิตมนุษยใหยั่งยืน

มากย่ิงข้ึน ผูเขียนหวังวา แนวคิดเร่ือง คาแทนคุณระบบนิเวศในหนังสือเลมน้ี จะเปนประโยชนกับภาคสวนตางๆ

โดยเฉพาะใหผูมีหนาท่ีกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศ และภาคเอกชนท่ีกำลังรวมตัวกันในนามของ

“ประชารัฐ”ซึ่งสามารถจะนำแนวคิดและบทเรียนจากการดำเนินงานของประเทศตางๆที่มีอยูในหนังสือเลมนี้

ไปใชในการสรางกลยุทธขับเคลื่อนทั้งการอนุรักษและจัดการเชิงธุรกิจในพื้นที่คุมครองของสำหรับประเทศไทย

ในอนาคตไดชัดเจนขึ้น

ดร.ทรงธรรม สุขสวาง

ผูอำนวยการสำนักงานโครงการ CATSPA

กProtected Area Sustainability

สารบัญ

หนาคำนำ ก

สารบัญ ข

สารบัญภาพ ค

บทนำ 1

ความหมายของการจายคาแทนคุณระบบนิเวศ 2

แนวคิดของการจายคาแทนคุณระบบนิเวศ 4

หลักการคาแทนคุณระบบนิเวศ 7

กลไกการแทนคุณระบบนิเวศ 10

การประเมินมูลคาบริการของระบบนิเวศกับความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศ 11

แนวทางการดำเนินการโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศในระบบนิเวศ 14

บทเรียนการดำเนินโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศลุมน้ำในประเทศตางๆ 16

การดำเนินการโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศในประเทศไทย 20

สรุป 22

เอกสารและสิ่งอางอิง 23

สารบัญตาราง

1 การประเมินมูลคาระบบนิเวศของโลก 12

2 ตัวอยางโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศที่เกี่ยวกับระบบนิเวศปาไม 19

และระบบนิเวศลุมน้ำในภูมิภาคตางๆ ของโลก

ตารางที่

สารบัญภาพ

1 บริการนิเวศ (Ecosystem Service) จากพื้นที่ตนน้ำลำธารที่ใหบริการน้ำ 2

กับชุมชนและในเมือง พื้นที่ลุมน้ำตอนลาง

2 กรอบมโนทัศนการประเมินระบบนิเวศแหงสหัสวรรษ 4

3 แบบจำลองคาแทนคุณระบบนิเวศบนพื้นฐานของพื้นที่ลุมน้ำ 8

(Basic watershed-based PES model)

4 การเชื่อมโยงระหวางโครงสรางและการทำงานของระบบนิเวศบริการ 12

นโยบายและมูลคาของระบบนิเวศ

5 บริการของระบบนิเวศลุมน้ำดานทรัพยากรน้ำ 21

หนาภาพที่

คProtected Area Sustainability

ระบบนิเวศตางๆเปนสวนท่ีเก่ียวของกับส่ิงมีชีวิต

บนโลกนี้ เชื่อกันวาระบบนิเวศสามารถทำหนาที่

ของระบบไดเองและมีบทบาทในการพัฒนาและ

รักษาองคประกอบของสังคมมนุษย ความอุดมสมบูรณ

ของระบบนิเวศจะอำนวยความผาสุกพ้ืนฐานของสังคม

เชน การท่ีมีน้ำสะอาดและเพียงพอท้ังในระดับปริมาณ

และคุณภาพใหแกมนุษย ระบบนิเวศมีสวนสำคัญท่ี

ทำใหมนุษย และความหลากหลายของส่ิงมีชีวิตดำรง

ชีวิตอยูไดอยางมีความสุข สาเหตุที่ทำใหบริการของ

ระบบนิเวศลดลงเกิดจากปจจัยท่ีเก่ียวของ คือ มนุษย

มีความตองการปจจัยสี่และใชทรัพยากรธรรมชาติ

เพิ่มมากขึ้น เชน ตองการเนื้อไมสรางบาน ตองการ

น้ำเพื่ออุปโภคบริโภค ตองการอาหารและเชื้อเพลิง

เพ่ือดำรงชีพ เปนตน ความตองการดังกลาวของมนุษย

ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศและการ

สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ นอกจากน้ีการ

เปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศจะมีผลกระทบกับการ

พัฒนาดานเศรษฐกิจและสังคม การดำรงชีวิตของมนุษย

การลดลงของระบบนิเวศนำไปสูการขาดบริการทาง

ระบบนิเวศสงผลใหประชากรโลกมีความอดอยาก

มากขึ้น มีความเสี่ยงตอการดำรงชีวิตที่ตองอาศัย

การบริการของระบบนิเวศ ถาหากมนุษยเรายังมีการ

ใชทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศท่ีอาศัยอยูอยาง

ไมฉลาด ผลกระทบก็จะเกิดขึ้นกับมนุษยเองหรือ

ความม่ันคงทางเศรษฐกิจและสังคม เชน ปญหาภัยแลง

น้ำทวม แผนดินถลม ซึ่งจะทำใหเกิดปญหาความ

ขัดแยงในสังคมตามมาแนนอน

ดังนั ้น ในอนาคตประเทศไทยตองนำเอา

หลักการของคาแทนคุณระบบนิเวศหรือ Payments

for Ecosystem Services (PES) มาใชในการจัดการ

ระบบนิเวศ เพ่ือเปนแนวทางท่ีจะพัฒนาการหามูลคา

ทางเศรษฐกิจของระบบนิเวศของประเทศ ซึ่งจะมี

ผลตอการสรางรายไดของประเทศและชุมชนที่มี

หนาที่ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะใน

พื้นที่คุมครองที่กำหนดใหเปนอุทยานแหงชาติหรือ

เขตรักษาพันธุสัตวปา เพ่ือเปนเคร่ืองมือหน่ึงในการ

จัดการพ้ืนท่ีอนุรักษของประเทศ อันจะเปนบทเรียน

พ้ืนฐานในการกำหนดแนวทางและมาตรการท่ีจะเรงเสริม

ใหมีการจัดการและการใชประโยชนระบบนิเวศท่ีย่ังยืน

การแทนคุณระบบนิเวศ

บทนำ

เหตุผลความจำเปนในการจัดการ

คาแทนคุณระบบนิเวศ

เรามีความจำเปนตองจายเงินคาตอบแทนคุณ

ระบบนิเวศ เพื่อที่จะหยุดยั้งการลดลงและความ

เสียหายของระบบนิเวศตลอดจนดูแลรักษาการ

บริการของระบบนิเวศ รัฐบาลของประเทศตางๆ ได

ดำเนินการการสนับสนุนนโยบายขององคการ

สหประชาชาติวาดวยการใชประโยชนสิ่งแวดลอม

อยางยั่งยืน โดยกำหนดแผนยุทธศาสตรการพัฒนา

โครงการการปองกันการลดลงหรือการสูญหายของ

ทรัพยากรสิ่งแวดลอม ทำการปรับปรุงกระบวนการ

จัดการท่ีถูกตอง เชน โครงการปรับปรุงและดูแลรักษา

แหลงน้ำท่ีสะอาดใหแกประชาชน ซ่ึงประกอบไปดวย

หลักสองประการ คือ มาตรการในการควบคุมดูแล

รักษาแหลงน้ำและการใชแหลงน้ำเพื่อประโยชน

ทางเศรษฐกิจ

1

ความหมายของการจายคาแทนคุณ

ระบบนิเวศ

อยางไรก็ดีวิธีการปองกันความเสียหายของส่ิงแวดลอม

สามารถกระทำไดโดยการออกกฎหมายหรือกฎขอบังคับ

หรือมีการสรางระเบียบท่ีเขมงวด มีคำส่ังหรือนโยบาย

การควบคุมที่มีประสิทธิภาพ เชน การควบคุมน้ำเสีย

จากแหลงตนน้ำลำธาร หรือการสรางโรงงานบำบัด

น้ำเสียท่ีทำใหน้ำเสียลดนอยลง แตก็ยังมีน้ำท่ีมีมลพิษ

เกิดข้ึนจากผูท่ีอาศัยอยูตามแหลงตนน้ำ เชน น้ำท่ีเกิด

จากการเล้ียงปศุสัตวและการเกษตร ซ่ึงผูใชน้ำท่ีอาศัย

อยูปลายน้ำจะไดรับน้ำท่ีไมสะอาดเพ่ือการบริโภคดวย

จึงจำเปนตองออกกฎหมายควบคุม

ดังน้ัน การจัดการระบบนิเวศ เพ่ือใหมีการบริการ

ที่ดีจำเปนตองใชกลไกทางเศรษฐศาสตรเพื่อนำไปสู

กระบวนการคาแทนคุณระบบนิเวศ เปนการสนับสนุน

การอนุรักษอยางย่ังยืน หลักการใชคาแทนคุณระบบ

นิเวศเปนวิธีการท่ีไดนำมาใชในหลายประเทศท้ังระดับ

ทองถ่ิน ภูมิภาค หรือระดับชาติ โดยมีการกำหนดราคา

ของระบบนิเวศและมีการจัดสรรคาตอบแทนใหแก

ชุมชนหรือผูใชประโยชนทางเศรษฐกิจจากท่ีดินท่ีอาศัย

อยูในพื้นที่ที่มีการดูแลระบบนิเวศนั้นๆ

ระบบนิเวศประกอบดวยสวนท่ีผูไดรับผลประโยชน

ซ่ึงอาศัยอยูภายนอกจะเปนผูจายคาแทนคุณระบบนิเวศ

ใหกับชุมชนซ่ึงอาศัยอยูภายในระบบนิเวศชวยสนับสนุน

ดูแลและรักษาระบบนิเวศน้ันๆ ท้ังสองเปรียบเสมือน

สะพานเชื่อมตอกันจากการที่ไดรับผลประโยชนทั้ง

สองกลุมซ่ึงจะเรียกวาผูขาย (Sellers) และผูซ้ือ (Buyers)

ยกตัวอยาง การบริการของระบบนิเวศในเร่ืองการใชน้ำ

เชน การดำเนินการของชุมชนในพื้นที่ตนน้ำจะเปน

ผูขายบริการ และประชาชนที่อยูปลายน้ำและที่ใช

ประโยชนจากน้ำที่มาจากพื้นที่ตนน้ำ จะเปนผูซื้อ

บริการ ซึ่งการดำเนินการดังกลาวนี้สามารถที่จะนำ

ไปใชในโครงการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติแบบอ่ืนๆ

ไดดวย

ภาพที่ 1 บริการนิเวศ (Ecosystem Service)

จากพื้นที่ตนน้ำลำธารที่ใหบริการน้ำกับ

ชุมชนและในเมือง พื้นที่ลุ มน้ำตอนลาง

มีผู ใหความหมายของคำวา Payment for

Ecosystem Services (PES) ในบริบทของภาษาไทย

หลายความหมาย เชน คาใชจายในการรับบริการจาก

ระบบนิเวศ คาบริการระบบนิเวศ คาตอบแทนคุณ

ระบบนิเวศ คาแทนคุณระบบนิเวศ แตในหนังสือ

เลมน้ีขอใชคำวา “คาแทนคุณระบบนิเวศ” เน่ืองจาก

คาแทนคุณระบบนิเวศยังเปนแนวคิดใหมสำหรับ

ประเทศไทย คำนิยามท่ีกำหนดข้ึนอาจมีความแตกตาง

กันอยูบาง เชน European Environmental Agency

ใหคำจำกัดความวา คาแทนคุณระบบนิเวศ คือ

การจัดสรรเงินคาตอบแทนใหกับชุมชนหรือผูที่ดูแล

รักษาทรัพยากรธรรมชาติ เพื ่อเปนหลักประกัน

ความยั่งยืนของการบริการของระบบนิเวศ เปนตน

2Protected Area Sustainability

อยางไรก็ดี การจายคาแทนคุณของระบบนิเวศ

ไดเริ่มมีการพูดคุยกันในเรื่องบริการของระบบนิเวศ

เมื ่อไมกี ่ปมานี ้เมื ่อมีการอภิปรายกันในประเด็น

ของการรักษาส่ิงแวดลอม การศึกษาในเร่ืองการประเมิน

ระบบนิเวศแหงสหัสวรรษ (Millennium Ecosystem

Assessment , MEA) ที่เพิ่งเสร็จสิ้น ทำใหหัวขอนี้

เปนที่สนใจมากขึ้นและมีมุมมองที่หลากหลายในการ

ที ่จะทำใหสภาพแวดลอมทางธรรมชาติสามารถ

ค้ำจุนชีวิตมนุษยใหยั่งยืนมากยิ่งขึ้น ตัวอยางของ

มุมมองเรื ่องบริการของระบบนิเวศก็คือการเปน

ทรัพยากรพันธุกรรมสำหรับการแพทย (genetic

resources for medicine) และเทคโนโลยีชีวภาพ

(biotechnology) การผสมเกสรพืช (plant

pollination) การก ักเก ็บคาร บอน (carbon

sequestration) และการพัฒนารูปแบบของดิน

(soil formation) จะเห็นไดวาความหลากหลายทาง

ชีวภาพซ่ึงเปนสวนหน่ึงของการทำงานแบบบูรณาการ

ของระบบนิเวศถือเปนบทบาทพ้ืนฐานสำคัญท่ีระบบนิเวศ

ธรรมชาติสงมอบบริการใหกับโลกมนุษย คำนิยาม

ของบริการของระบบนิเวศที่ยอมรับกันทั่วไป คือ

การพิจารณาใหการบริการระบบนิเวศเปนกระบวนการ

ทางธรรมชาติโดยตระหนักอยูเสมอวาระบบนิเวศท่ีมี

องคประกอบของพืชและสัตว ทำใหเกิดระบบที่ชวย

รักษาและเติมเต็มใหกับชีวิตมนุษย (Daily et al, 1997)

อีกนิยามที่ยอมรับทั่วไปก็คือ นิยามที่ใชในการ

ประเมินระบบนิเวศแหงสหัสวรรษ (Millennium

Ecosystem Assessment, MEA, 2005) กลาววา

ซ่ึงเปนผลประโยชนท่ีประชาชนไดรับจากระบบนิเวศ

โดย MEA ไดจำแนกระบบนิเวศลงไปถึงบริการใน

ดานการจัดเตรียม (provisioning) การควบคุม

(regulating) การสนับสนุน (supporting) หรือ

บร ิการทางว ัฒนธรรม (cultural services)

(ภาพที่ 2) MEA ไดรายงานวา 60-70 เปอรเซ็นต

ของบริการของระบบนิเวศของโลกเรากำลังลดนอย

ถอยลง และผลกระทบที่ตามมาก็ทวีความรุนแรง

มากขึ้นโดยเฉพาะกับผูคนสวนใหญที่ขึ้นอยูกับการ

พึ่งพาธรรมชาติโดยตรง (steady provision) เชน

การดำรงชีวิตของเกษตรกร ดวยหลักการของ MEA

แนวคิดเร่ืองบริการของระบบนิเวศจึงถูกนำมาใชเพ่ือ

เนนความสัมพันธระหวางบริการของระบบนิเวศและ

ความเปนอยูที่ดีของมนุษยระหวางสวัสดิการของ

มนุษยและความมั่นคงในชีวิต

เนื่องจากคาแทนคุณระบบนิเวศ หมายถึง การ

จัดสรรเงินคาตอบแทนหรือเงินทุนใหกับชุมชนหรือ

ผูที่ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่เพื่อเปน

หลักประกันความย่ังยืนของระบบนิเวศ และประโยชน

หรือบริการท่ีมนุษยไดรับจากระบบนิเวศเปนมูลคาท่ี

เกิดจากการใชประโยชนทั้งทางตรงและทางออมที่

แสดงใหเห็นถึงความสำคัญของระบบนิเวศกับ

สวัสดิภาพและความเปนอยูของมนุษย

การจายคาแทนคุณระบบนิเวศใหแกชุมชนหรือ

ผูดูแลรักษาระบบนิเวศเปนเคร่ืองมือในการสนับสนุน

ใหมีการอนุรักษระบบนิเวศที่มุงไปสูการพัฒนาที่มี

ความมั่นคงทางดานการอยูดีกินดีของมนุษยเพื่อ

รักษาสมดุลของระบบนิเวศ เชน การอนุรักษความ

หลากหลายทางชีวภาพ การควบคุมปริมาณและ

คุณภาพน้ำในพ้ืนท่ีตนน้ำลำธารและการลดผลกระทบ

จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

3

ภาพที่ 2 กรอบมโนทัศนการประเมินระบบนิเวศแหงสหัสวรรษ

ท่ีมา : http://cmsdata.iucn.org/downloads/a_gateway_to_pes_d_huberman.pdf (2008)

แนวคิดของการจายคาแทนคุณ

ระบบนิเวศ

ในโลกของการจัดการพื้นที่คุ มครองแนวใหม

เชื่อวาคาแทนคุณระบบนิเวศจะเปนเครื่องมือและ

นวัตกรรมใหมในการอนุรักษ แตก็ยังคงไมมีฉันทามติ

ท่ีชัดเจนในความหมายท่ีแนนอน อยางไรก็ตามมีการ

ยอมรับรวมกันอยางหนึ่งที่นำเสนอโดย Wunder

(2005) โดยเขาไดเสนอรูปแบบท่ีแพรหลายมากท่ีสุด

และเขาใจไดงายของคาแทนคุณระบบนิเวศ คือ การ

ทำธุรกรรมระหวางผูใชน้ำที่อยูในพื้นที่ตอนลางของ

ลุมน้ำ (downstream water users) และผูที่อยู

ตนน้ำ (upstream landowners) เพื่อรักษาความ

ม่ันคงและความปลอดภัยของผลประโยชนท่ีเก่ียวของ

กับน้ำในลุมน้ำท่ีมีการจัดการอยางย่ังยืน หรืออธิบาย

ไดวา การจายเงินใหกับผูดูแลระบบนิเวศหรือผูขาย

บร ิการเพ ื ่อร ักษาความมั ่นคงของระบบนิเวศ

โดยความสมัครใจ จะตองสอดคลองกับการดำรงอยู

ของระบบนิเวศเพื่อประโยชนของผูซื้อโดยสมัครใจ

เชนกัน

นอกจากนี้แบบจำลองคาแทนคุณระบบนิเวศ

(PES model) ไดรับการประยุกตใชในวงกวางมากข้ึน

ไดแก โครงการกักเก็บคารบอน (Carbon sequestration

projects) ที่ผานกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean

Development Mechanism : CDM) ในพิธ ี

สารเกียวโต กิจกรรมท่ีเก่ียวกับการศึกษาดานชีวภาพ

(Bioprospecting deal) และแมกระทั่งคาเขาชม

อุทยานแหงชาติทุกคนก็ไดรับการติดปายคาแทนคุณ

ระบบนิเวศ (tagged with a PES label) การรับรู

อยางกวางขวางเรื่องคาแทนคุณระบบนิเวศวาเปน

ทั้งนวัตกรรมและเครื่องมือสรางนโยบายที่สำคัญยิ่ง

ความสำเร็จของคาแทนคุณระบบนิเวศสวนใหญข้ึนอยู

กับความสามารถในการทำงานรวมกันของทุกภาคสวน

เชน การบูรณาการความรวมมืออยางย่ังยืนขององคกร

4Protected Area Sustainability

5

ตางๆ ในการจัดการระบบนิเวศในทุกระดับ ถือวา

เปนงานที่สำคัญยิ่งสำหรับการดำเนินงานดานการ

จัดการคาแทนคุณระบบนิเวศ โดยเฉพาะการจัดการ

ระบบนิเวศลุมน้ำมโนทัศนหรือแนวคิดเรื่องบริการ

ของระบบนิเวศไดรับความสนใจอยางมากเนื่องจาก

เปนภาษาท่ีเปนเอกลักษณท่ีรวมเอาเร่ืองของเศรษฐกิจ

ธุรกิจและส่ิงแวดลอมชุมชนมาผนวกเขาดวยกัน โดย

สามารถระบุมูลคาของผลประโยชนจากบริการท่ีไดรับได

ในขณะที่ผูที่มีสวนไดเสียที่ไมเคยเกี่ยวของมากอน

ไดรับการยอมรับใหเขามามีสวนรวมในการอนุรักษ

สภาพแวดลอม ดังน้ัน แนวคิดเร่ืองบริการของระบบ

นิเวศน้ีจึงเปนโอกาสใหผูมีหนาท่ีกำหนดนโยบายทาง

เศรษฐกิจของภาคราชการและภาคเอกชนสามารถ

สรางกลยุทธขับเคล่ือนท้ังการอนุรักษและจัดการเชิง

ธุรกิจสำหรับอนาคตไดชัดเจนมากข้ึน โดยภาคธุรกิจ

จะเปนฝายสนับสนุนภาคราชการในการดำเนินการ

จัดการบริการระบบนิเวศในอนาคต

ในปจจุบันกลาวไดวา แนวคิดเร่ืองการใหบริการ

ระบบนิเวศเปนเสมือนหนึ่งตัวเชื่อมที่ชัดเจนระหวาง

ความเปนอยูท่ีดีของมนุษยหรือมิติดานเศรษฐศาสตร

กับกระบวนการธรรมชาติหรือมิติดานนิเวศวิทยา

แนวความคิดนี้นับวาเปนประโยชนอยางมากที่จะสื่อ

ใหเห็นอยางงายๆ ถึงวิธีการอยูรวมกันระหวางผูใช

ทรัพยากรกับนักอนุรักษทรัพยากร การพัฒนาภาษา

ที่เขาใจรวมกัน คือคำวา “บริการของระบบนิเวศ”

จะทำใหเกิดดุลยภาพระหวางกลุมผูมีสวนไดเสีย

กลุมตางๆที่ไดรับประโยชนจากระบบนิเวศเหลานี้

กลาวโดยสรุปแลว การจัดการระบบนิเวศจะชวยทำให

เกิดดุลภาพในมิติทางสังคม เศรษฐกิจและส่ิงแวดลอม

ดังนั้น การนำเสนอในสวนนี้เปนความพยายามที่จะ

เนนถึง วิธีการ แนวคิดการพัฒนาที่ผานมาของเรื่อง

บริการของระบบนิเวศเพื่อนำไปประยุกตใชกับงาน

การจัดการระบบนิเวศใหกวางขวางขึ้น ชวงเวลา

ที่ผานมาการใชภูมิทัศนเปนแนวคิดในการจัดการ

บริการของระบบนิเวศ อาจมีปญหาในเร่ืองขนาดของ

พื้นที่ทางภูมิศาสตรที่จะนำมาประเมินมูลคาของการ

บริการของระบบนิเวศ เนื่องจากมักจะมีความเห็นที่

ไมตรงกันระหวางสถาบันทางสังคมและกระบวนการ

ทางธรรมชาติท่ีเกิดข้ึน ส่ิงท่ีทาทายก็คือตองหาวิธีการ

ที่ดีที่สุดที่สามารถเติมเต็มความตองการทั้งสองฝาย

คือเร่ืองขนาดของพ้ืนท่ีตามลักษณะภูมิทัศนซ่ึงกำหนด

โดย IUCN ที่เชื่อมเอาเรื่องของวิถีชีวิตชุมชนเขากับ

กลยุทธภ ูม ิท ัศน (IUCN’s Livelihoods and

Landscape Strategy,LLS) ซึ่งนาจะเหมาะสมกับ

การดำเนินการตามนโยบายในเรื่องการบริการของ

ระบบนิเวศมากที่สุด การบูรณาการนำเรื่องทุนทาง

ธรรมชาติเขามารวมกับเรื่องกระบวนการผลิตทาง

เศรษฐกิจนาจะเปนวิธีการที่ดำเนินการไดดีที ่สุด

ซึ่งไมเพียงแตเกี่ยวของกับบริบทเฉพาะกระบวนการ

ทางนิเวศวิทยาตามบริการของระบบนิเวศที่มีมูลคา

เทาน้ัน แตยังคำนึงถึงมิติท่ีทำใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ

ของชุมชนอยางย่ังยืนผานการมีสวนรวมในวงกวางและ

เสมอภาคดวย ดังน้ัน การใชภูมิทัศนระบบนิเวศลุมน้ำ

เปนแนวคิดในการจัดการบริการของระบบนิเวศที่

เกี่ยวของอยูกับการรวมกันของการบริหารจัดการ

แบบบนลงลาง (top - down) ของการลงทุนท่ีมีการ

ยอมรับทางวัฒนธรรมแบบลางข้ึนบน (bottom - up)

จากการดำเนินนโยบายเปนส่ิงจำเปนท่ีตองดำเนินการ

ใหไดเพ่ือนำไปสูการจัดการคาแทนคุณของระบบนิเวศ

อยางยั่งยืน

นอกจากเปนเครื่องมือที่ใชในการสรางแรงจูงใจ

การอนุรักษ (Incentive-based conservation tools)

ในทางปฏิบัติแลว แนวคิดเร่ืองบริการของระบบนิเวศ

ถูกนำมาประยุกตไดงายๆ ในการใหรางวัลแกผูให

บริการระบบนิเวศ โดยผานการจัดเงินทุนใหอยาง

ยั่งยืนอันที่แทจริงแลว คำวาบริการก็มีบุญญานุภาพ

ตอมนุษยทุกคนอยูแลว ในขณะท่ีการชำระเงินสำหรับ

บริการของระบบนิเวศสวนใหญมักจะเปนรูปแบบ

6Protected Area Sustainability

ของการถายโอนทางการเงิน ซ่ึงสามารถนำไปใชในการ

กำหนดการใหรางวัลกับผูดูแลบริการของระบบนิเวศ

รวมท้ังการถายทอดเทคโนโลยี การเสริมสรางศักยภาพ

และการบรรเทาหนี้ดวยการนำเสนอสิ่งจูงใจทาง

เศรษฐกิจในการบำรุงรักษาบริการของระบบนิเวศ

อยางไรก็ดีคาแทนคุณระบบนิเวศสามารถดำเนินงาน

บนพื้นฐานของกลไกการตลาดในทางเศรษฐศาสตร

โดยการนำเสนอวิธ ีการที ่ม ีประสิทธิภาพและมี

ประสิทธิผลในการสนับสนุนวัตถุประสงคของการ

พัฒนาที่ยั่งยืน อยางไรก็ตาม คาแทนคุณระบบนิเวศ

อาจเปนเครื่องมือกำหนดนโยบายที่เฉพาะเจาะจง

เทานั้นไมไดเปนรูปแบบของแบบจำลองแบบเดียวที่

เหมาะสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน

หลักการคาแทนคุณระบบนิเวศ

หลักการของคาแทนคุณระบบนิเวศ คือ การมี

ระบบการทำงานอยางมีสวนรวม ผูท่ีมีบทบาทในการ

ดูแลรักษาระบบนิเวศหรือผู ใหบริการควรไดรับ

คาตอบแทนจากผูใชประโยชนจากระบบนิเวศหรือ

ผูที่ไดรับประโยชนจากการบริการของระบบนิเวศ

ควรที่จะตองจายเพื่อแลกกับการบริการทางดาน

ระบบนิเวศหรือประโยชนที ่ไดร ับ โดยจายเปน

คาตอบแทนใหกับผู ม ีบทบาทในการดูแลรักษา

ระบบนิเวศ อาจจะอยูในรูปตัวเงินหรือส่ิงตอบแทนอ่ืนๆ

ท่ีไมเปนตัวเงิน อันไดแก การลดหยอนภาษีเงินไดหรือ

คาธรรมเนียมทำใหมีความมั่นคงในการจัดการที่ดิน

และทรัพยากรอ่ืนๆ ซ่ึงคาแทนคุณของระบบนิเวศจะ

มีองคประกอบที่สำคัญ คือ ผูที่ทำหนาที่ดูแลรักษา

ระบบนิเวศหรือผูขาย ผูที่ไดรับประโยชนและบริการ

จากระบบนิเวศหรือผูซ้ือ และการบริการของระบบนิเวศ

ท่ีใหบริการแกมนุษยผูรับประโยชน ดังน้ัน คาแทนคุณ

ระบบนิเวศเปนวิธีการที่วางอยูบนหลักการผูที่ไดรับ

ประโยชนเปนผูจาย ซึ่งจะสงผลใหเกิดแรงจูงใจใน

การใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพมากข้ึน โดยการ

สรางแรงจูงใจทางเศรษฐกิจเพื่อใหเกิดการอนุรักษ

ฟนฟูระบบนิเวศอยางยั่งยืน โดยใหผูที่ไดรับบริการ

จากระบบนิเวศจายผลประโยชนตอบแทนใหแกผู

ทำหนาที่อนุรักษ ซึ่งโดยทั่วไปไดแก ชุมชน กลไก

คาแทนคุณระบบนิเวศจึงเปนประโยชนตอการอนุรักษ

ระบบนิเวศ ในขณะเดียวกันก็ชวยสนับสนุนชุมชน

หรือเกษตรกรในชนบทใหมีรายไดเพ่ิมข้ึนโดยเช่ือมโยง

กับนักลงทุนจากภายนอกพ้ืนท่ี นอกจากน้ันคาแทนคุณ

ระบบนิเวศยังเปนเครื่องมือในการสรางความเขาใจ

เกี ่ยวกับการใชประโยชนทรัพยากรอยางยั ่งยืน

ซึ่งจะเกิดผลระยะยาวตอความอุดมสมบูรณของ

ระบบนิเวศ และนำไปสูการเพิ่มผลผลิตดานตางๆ

ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

ความยั่งยืนของฐานทรัพยากรและประโยชน

หรือบริการที่มนุษยจะไดจากระบบนิเวศ ไมจำเปน

ท่ีจะตองเปนสินคาท่ีมีการซ้ือขายกันในตลาด อาจเปน

มูลคาที่เกิดจากประโยชนทางออม (Indirect Used)

และมูลคาท่ีไมไดเกิดจากการใช (Non-used Value)

ก็ได แตก็เปนบริการที่จำเปนตอการอยูรอดของ

มนุษยดวย

7

; แบบจำลองคาแทนคุณระบบนิเวศบนพื้นฐานของพื้นที่ลุมน้ำในประเทศไทย

ระบบนิเวศปาไม(ผู ใหบริการ)

ระบบนิเวศเกษตร

ระบบนิเวศเมือง

ระบบนิเวศขนาดเล็กอื่นๆ

องคประกอบระบบนิเวศลุมน้ำ

(ผูดูแลรักษาพื้นที่ตนน้ำ)

(แมน้ำ)(ชุมชนเมือง)

(ผูรับประโยชน)

ภาพที่ 3 แบบจำลองคาแทนคุณระบบนิเวศบนพื้นฐานของพื้นที่ลุมน้ำ (Basic watershed-based PES model)

ที่มา : ดัดแปลงจาก Heal et al., (1999)

8Protected Area Sustainability

9

กลไกการแทนคุณระบบนิเวศ

ถึงแมวาหลักการของคาแทนคุณระบบนิเวศไดมี

การนำมาใชเปนเวลานานแลวก็ตาม เชน มีการนำมา

ใชในประเทศโบลิเวีย บราซิล โคลัมเบีย และเวียดนาม

รวมท้ังไดมีการนำไปใชกันในบางพ้ืนท่ีแตประสบการณ

หรือแนวทางการดำเนินงานยังไมประสบผลสำเร็จ

เทาที่ควร ซึ่งจะตองใชเวลาในการดำเนินงานที่อาจ

ยาวนานเพ่ือท่ีจะใหเห็นผลท่ีแทจริง อยางไรก็ดีหลักการ

ของคาแทนคุณระบบนิเวศไดมีการนำไปใชในหลายๆ

ภาคสวนของระบบนิเวศ เชน ระบบนิเวศลุ มน้ำ

ระบบนิเวศปาไม รวมทั้งนำไปใชไดดีในกระบวนการ

รักษาทรัพยากรธรรมชาติในหลายๆ ทองที่ โดยมี

นโยบายกฎหมายและสถาบันรับผิดชอบที่แนนอน

ขณะท่ีแนวโนมการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจ

ในหลายทองที่ไดเจริญขึ้นทรัพยากรธรรมชาติ ไดถูก

นำมาใชจนทำใหเกิดปญหาในหลายๆดาน เชน

เรื ่องของน้ำ หลายๆประเทศที่ไดนำหลักการของ

คาแทนคุณระบบนิเวศมาใชมีการจัดต้ังหนวยงานหรือ

สถาบันขึ้นมารับผิดชอบโดยตรง มีการวิเคราะหและ

ออกกฎหมาย หรือกฎระเบียบที่จะนำมาใชบังคับ

อยางไรก็ดี ในการศึกษาถึงเร่ืองคาแทนคุณระบบนิเวศ

ในหลายๆพื้นที่มีการวิเคราะหและอภิปรายในเรื่อง

ของกฎระเบียบที่ใชในการปฏิบัติรวมทั้งสถาบันหรือ

หนวยงานที่ตองรับผิดชอบในบทบาทที่แตกตางกัน

แลวแตสถานการณของแตละประเทศนั้นๆ

ดังท่ีไดกลาวมาแลววาคาแทนคุณระบบนิเวศเปน

แนวทางใหมเก่ียวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

พ้ืนท่ีท่ีเปนโครงการนำรองหลายๆ แหงมีความเขาใจ

กันดวยดี ตกลงกันได การดำเนินงานก็เปนไปดวยดี

แตสวนใหญเปนการยากท่ีจะเปนไปได ถาหากวาไมมี

กรอบการทำงานหรือไมมีกฎระเบียบและหนวยงาน

รับผิดชอบที่แนนอน การนำโครงการคาแทนคุณ

ระบบนิเวศไปใชทำใหเกิดเปนกระบวนการท่ีมีประโยชน

ดังที่หลายประเทศในทวีปอเมริกาใต เชน บราซิล

โบลิเวีย และโคลัมเบีย นำไปใชแลวไดผลท่ีมีประสิทธิภาพ

มากในการดูแลรักษาระบบนิเวศของประเทศ

อยางไรก็ตาม คาแทนคุณระบบนิเวศก็ยังเปนการ

พูดถึงกันอยางกวางขวางวานาจะมีกลไกที่สามารถ

จูงใจใหผูซื้อและผูขาย หันมาดำเนินกิจกรรมรวมกัน

เพ่ือสนับสนุนการปองกันและการดูแลรักษาระบบนิเวศ

ตามธรรมชาติ กลไกของคาแทนคุณระบบนิเวศจะ

ตองพึ่งพากฎระเบียบและการปฏิบัติที ่เปนไปได

ฉะนั ้น กฎระเบียบและสถาบันผู ร ับผิดชอบเปน

เปาหมายที่สำคัญของการดำเนินงาน โดยจะตองทำ

เปนขั้นตอน กลาวคือ

1. การสรางความเขาใจเกี ่ยวกับคาแทนคุณ

ระบบนิเวศโดยเฉพาะการบริการของระบบนิเวศ

2. การกำหนดกรอบนโยบาย กฎหมาย และ

สถาบันผูรับผิดชอบ

3. การกำหนดขอตกลงในการบริหารจัดการ

เพื่อที่จะใหหลักการของคาแทนคุณระบบนิเวศ

ไดถูกนำมาใชใหไดผลอยางมีประสิทธิภาพ จำเปนตอง

กำหนดวัตถุประสงคหรือนำบทเรียนจากตางประเทศ

ท่ีทำไดแลวมาศึกษาวิเคราะหความเปนไปไดในแตละ

พื ้นที ่ โดยสามารถดำเนินการตามกระบวนการ

ดังตอไปนี้ คือ

1. การกำหนดกรอบกฎหมายและสถาบันที ่

รับผิดชอบในการดำเนินการในปจจุบันและในอนาคต

2. การกำหนดสิทธิภายใตกฎหมายและแนวทาง

ปฏิบัติ

3. การกำหนดรูปแบบของคาแทนคุณระบบนิเวศ

4. การคนหาความเสี ่ยงที ่จะเกิดขึ ้นจากการ

ดำเนินการ

5. การดำเนินการเจรจาระหวางผูซื้อกับผูขาย

บริการระบบนิเวศ

6. การติดตามและการบังคับใชกฎหมาย

10Protected Area Sustainability

7. การวิเคราะหผลจากการดำเนินการคาตอบ

แทนคุณระบบนิเวศ

8. การกำหนดการมีสวนรวมของประชาชน

การประเมินมูลคาบริการของระบบนิเวศ

กับความหลากหลายทางชีวภาพของ

ระบบนิเวศ

ในการคนหาดุลยภาพที่ยั่งยืนระหวางผูแสวงหา

ผลประโยชน (exploitationists) และนักอนุรักษ

(conservationists) นั้น ภาษาที่จะตองใชรวมกันก็

คือ ทำอยางไรจึงจะหาวิธีการเปรียบเทียบมูลคาของ

ทรัพยากรท่ีขัดแยงกันอยูใหชัดเจน ส่ิงท่ีตองคำนึงถึง

ก็คือ การประเมินคาเชิงปริมาณของธรรมชาตินั้น

มีอุปสรรคอยูมาก มีคำถามมากมายไดแก เหมาะสม

หรือท่ีจะตีมูลคาความหลากหลายทางชีวภาพออกมา

เปนตัวเงิน เปนความตองการจริงๆหรือ เปนไปไดแนหรือ

เหลาน้ีเปนเพียงบางสวนของคำถามท่ีสำคัญท่ียังไมได

คำตอบท่ีชัดเจน ในป ค.ศ.1997 ส่ิงพิมพท่ีออกมาจาก

สำนักพิมพที่มีชื่อเสียงไดตีมูลคารวมของระบบนิเวศ

ของโลกออกมาอยูท่ีประมาณ 30 พันลานลานดอลลาร

(Costanza et al.,1997) ตัวเลขดังกลาวน้ีชวยจุดประกาย

ใหเกิดคล่ืนความกระตือรือรนท่ีตามมาของนักอนุรักษ

และความขัดแยงในแวดวงของการประเมินมูลคาทาง

เศรษฐศาสตรของระบบนิเวศ ในขณะที่อาจจะดู

เหมือนไรสาระในการคนหาวิธีการวัดคาเชิงปริมาณ

ของคาอันประเมินมิไดของระบบนิเวศตางๆในโลก

แนวคิดเร่ืองบริการของระบบนิเวศน้ีทำใหเกิดศัพทตัวใหม

คือมูลคาของระบบนิเวศและส่ิงแวดลอม ท่ีนำเขาสูการ

อภิปรายเก่ียวกับการประเมินมูลคาส่ิงแวดลอมอีกคร้ัง

อุปสรรคที่ขัดขวางแนวคิดที่สำคัญของความ

พยายามในการพัฒนาการประเมินมูลคาระบบนิเวศ

และสิ่งแวดลอมในปจจุบันก็คือ การยึดเอาความ

หลากหลายทางชีวภาพมาเปนจุดยืน แมวาความ

หลากหลายทางชีวภาพเปนแนวคิดที่ใชกันอยางแพร

หลายก็ไมไดหมายความวาเปนตัวชี้คาทางเศรษฐกิจ

ท่ีดีพอ นอกจากน้ีเร่ืองของการเช่ือมโยงของกระบวนการ

ระบบนิเวศและการบริการยังคงจะตองมีการอภิปราย

กันอยางกวางขวางตอไป Heal (1999) ไดจำแนกมูลคา

ของความหลากหลายทางชีวภาพท่ีเก่ียวของกับผลผลิต

ของระบบนิเวศ (ecosystem productivity) ไดแก

การผสมเกสรพืช มูลคาเชิงปองกันภัย เชน การเปน

แนวกันชนของมลพิษ การเปนแนวปะทะพายุ การควบคุม

การชะลางพังทลายของดิน การสนับสนุนใหความรู

แกมนุษย การวิจัยทางการแพทยดวยการตระหนักถึง

องคความรูในเร่ืองมูลคาของความหลากหลายทางชีวภาพ

จึงทำใหการประเมินมูลคากลายเปนเร่ืองยุงยากท่ีตอง

ใชลักษณะพิเศษในการประเมินโดยเฉพาะ และมักจะ

มองบริการของระบบนิเวศดานวัฒนธรรมไปอีกมุมหน่ึง

ของความพยายามในการประเมินมูลคา อยางไรก็ดี

นักนิเวศวิทยาจะตองคิดอยูในใจเสมอวาวิถีชีวิตใน

ทองถิ่นตองมีสวนรวมที่สำคัญในการบำรุงรักษาการ

ทำงานของระบบนิเวศโดยเฉพาะคาแทนคุณระบบนิเวศ

ถึงแมจะเปนท่ีตระหนักวา การใหบริการของระบบ

นิเวศมีคุณคาอยางมากตอระบบเศรษฐกิจและชีวิต

ความเปนอยูของประชาชน แตในการวิเคราะหเชิง

เศรษฐศาสตรและการเงินกลับพบวามูลคาของระบบ

นิเวศไมไดรับการประเมินอยางเหมาะสม มีชองวาง

ที่สำคัญ เชน ไมมีระบบตลาดและราคารองรับ ไมได

รับการสนับสนุนจากนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจ คาใชจาย

ของภาครัฐในการบริหารจัดการเพ่ือการอนุรักษมีจำกัด

และมีแนวโนมลดลงในสวนของผูที่ดำเนินการเพื่อ

อนุรักษและใชประโยชนอยางยั่งยืน เชน การจัดการ

ปาไม การทำการเกษตรอยางยั่งยืน การทองเที่ยว

เชิงนิเวศหรือธุรกิจสีเขียวก็ไมไดรับผลประโยชน

ตอบแทนที่เหมาะสมเมื่อเทียบกับกิจกรรมเศรษฐกิจ

11

หรือการตลาดในกระแสหลัก นอกจากนั ้น ยังมี

ปจจัยประกอบอื่นๆที่ลดทอนแรงจูงใจการอนุรักษ

ระบบนิเวศโดยรวม

ดังท่ีไดกลาวมาแลววา Constanza,et al. (1997)

ทำการศึกษาเพื ่อประเมินมูลคาการใหบริการ

ของระบบนิเวศของโลกโดยระบุวามูลคา GNP ของ

ทั้งโลกเฉลี่ยราว 18,000 ลานลานเหรียญสหรัฐตอป

ในขณะท่ีการใหบริการของระบบนิเวศท่ัวโลกมีมูลคา

ทางเศรษฐกิจเฉล่ียสูงถึง 33,000 ลานลานเหรียญสหรัฐ

ตอป การประเมินมูลคาการใหบริการของระบบนิเวศน้ี

เปนความพยายามที่ชวยสรางแนวคิดใหมเกี่ยวกับ

ม ูลค าทางเศรษฐศาสตร ของระบบน ิ เวศและ

ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งนำไปสูการพัฒนาเครื่องมือ

การจัดการในเชิงนโยบายเพื่อสรางรายไดหรือการ

จายคาบริการใหกับระบบนิเวศ (ตารางที่ 1)

ตารางที่ 1 การประเมินมูลคาระบบนิเวศของโลก

หนาที่ : เชน การกำกับควบคุม

แหลงที่อยูอาศัย/การผลิตเพื่อ

บริโภค-อุปโภค

โครงสราง

มูลคาจากการ

นำมาใช

ใชในการบริโภค:เชน

อาหาร ไม เชื้อเพลิง น้ำ

(ประปา,ชลประทาน)

ทรัพยากรทางพันธุกรรม

และยา

Nonuse values: เชน การ

ดำรงอยูของสรรพส่ิง การรักษา

สายพันธุพืช-สัตว ความหลาก

หลายทางชีวภาพ มรดกทาง

วัฒนธรรม

มูลคาจากการ

ไมนำมาใช

โดยออม: เชน การปองกันรังสี

ยูวีบี เปนที่อยูอาศัยของสรรพ

ชีวิตการควบคุมอุทกภัยและ

มลพิษ การปองกันการกัด

เซาะดิน

โดยตรง: เชน การนันทนาการ

การขนสง ความสวยงามของ

ธรรมชาติ, การดูนก

ภาพที่ 4 การเชื่อมโยงระหวางโครงสรางและการ

ทำงานของระบบนิเวศบริการ นโยบาย

และมูลคาของระบบนิเวศ

ที่มา : Constanza, et al. (1997)

ระบบนิเวศ มูลคาพันลานเหรียญสหรัฐ

ชายฝง ปาเขตรอน ปาเขตอบอุน ทุงหญา ปาชายเลน พื้นที่ชุมน้ำ ทะเลสาบ

พื้นที่เกษตรกรรม รวม

มหาสมุทร 8,318,000 12,568,000 3.813,000

894,000 906,000

1,648,000 3,231,000 1,700,000

128,000 33,268,000

12Protected Area Sustainability

13

การดำเนินการ

แนวทางการดำเนินการโครงการ

คาแทนคุณระบบนิเวศในระบบนิเวศ

การดำเนินการคาแทนคุณระบบนิเวศโดยการ

วางแผนใหชุมชนในชนบทเปนหัวใจของแผนการ

ตอบแทนคุณระบบนิเวศทำใหรูสึกวา คาแทนคุณ

ระบบนิเวศเปนเครื่องมือการจัดการระบบนิเวศโดย

เฉพาะที่ใชในการแกไขความลมเหลวของการจัดการ

ความหลากหลายทางชีวภาพและผลกระทบเชิงลบใน

ระบบนิเวศ วัตถุประสงคของคาแทนคุณระบบนิเวศ

ประกอบดวยการสนับสนุนใหเกิดการพัฒนาอยางย่ังยืน

ผานการรูถึงคุณคาและบุญคุณของความหลากหลาย

ทางชีวภาพและระบบนิเวศท่ีมีตอมนุษยชาติ ความพยายาม

ของการพัฒนาคาแทนคุณระบบนิเวศนั้น ทายที่สุดก็

จะตองระมัดระวังในเร่ือง trade-offs คือ การท่ีจะตอง

เลือกเอาทางใดทางหน่ึง เน่ืองจากโครงการอนุรักษท่ี

สนับสนุนการสงมอบบริการของระบบนิเวศท่ีตองการ

น้ันอาจขัดแยงกับการใหบริการของระบบนิเวศรูปแบบ

อื่นๆ หรืออาจเปนอุปสรรคตอกิจกรรมการพัฒนา

เศรษฐกิจของประเทศดานอื่นๆได

ดังนั้น สิ่งสำคัญที่จะตองพิจารณาการใชงาน

คาแทนคุณระบบนิเวศไมเพียงแตใชเปนการสรางแรง

จูงใจเพ่ือการอนุรักษเทาน้ัน แตตองมีกิจกรรมมากกวา

การสรางแรงจูงใจใหเกิดการใชประโยชนระบบนิเวศ

ใหเกิดความย่ังยืนเหนือส่ิงอ่ืนใด คาแทนคุณระบบนิเวศ

ควรจะนำมาใชเพ่ือสนับสนุนการพัฒนาอยางย่ังยืนใน

ชุมชนชนบทมากยิ่งขึ้น อีกนัยหนึ่งชุมชนที่อาศัยอยู

ในพื้นที่ที่ถูกกำหนดใหเปนแหลงบริการของระบบ

นิเวศควรที่จะนำเอาคาแทนคุณระบบนิเวศเขามา

ประยุกตใชในการพัฒนาชุมชน การวางชุมชนในชนบท

ใหเปนหัวใจของแผนการคาแทนคุณระบบนิเวศ และ

เหตุผลที่สำคัญที่สุด คือ การชำระเงินสำหรับบริการ

ของระบบนิเวศภายใตแนวคิดของวิถีชุมชนและการ

จัดการเชิงระบบนิเวศจะตองสามารถชวยใหบรรลุ

วัตถุประสงคของการอนุรักษและการทำมาหากิน

ของชุมชนรวมกับการชำระเงินคาแทนคุณระบบนิเวศ

ดังกลาว จึงควรกระจายลงไปในลักษณะท่ีเปนส่ิงจูงใจ

ทั้งเพื่อการอนุรักษระบบนิเวศและการพัฒนาชนบท

ในมุมมองการพัฒนาชนบทอาจจะมีความเหมาะสม

ที่จะพิจารณาวาระบบคาแทนคุณระบบนิเวศเปน

วิธีการใหรางวัลแกผูท่ีรักษาระบบธรรมชาติ ซ่ึงวิถีชีวิต

ของชุมชนชนบทหรือในเมืองสมัยใหมยังตองพึ่งพา

อาศัยอยู การดำเนินการคาแทนคุณระบบนิเวศจึงเปน

การเชื่อมโยงไปถึงการตีมูลคาของความหลากหลาย

ทางชีวภาพท่ีมีอยูในพ้ืนท่ีของชนบทท่ีผูบริโภคในเมือง

สามารถใชสรางความร่ืนรมยใหแกชีวิตไดเม่ือตองการ

นอกจากน้ี การวางแผนเพ่ือการแทนคุณระบบนิเวศ

จะตองมีแผนการระดับทองถ่ินท่ีเก่ียวของกับคาแทนคุณ

ระบบนิเวศในเกือบทุกกรณีของคาแทนคุณระบบนิเวศ

โดยผูที่ไดรับผลประโยชนและผูทำใหเกิดบริการของ

ระบบนิเวศมักจะอยูในพื้นที่เดียวกัน แมวาจะเปน

เรื่องยากที่จะปรับขนาดพื้นที่ทางนิเวศวิทยาและ

ขนาดพ้ืนท่ีของการบริหารจัดการใหสอดคลองกันแต

ก็ยอมรับกันวาพ้ืนท่ีลุมน้ำ (Watersheds) เปนตัวแทน

ของหนวยที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาโครงการ

คาแทนคุณระบบนิเวศ ดังน้ัน จึงนับเปนจุดเร่ิมตนท่ีดี

สำหรับการคิดเกี่ยวกับการดำเนินการใชคาแทนคุณ

ระบบนิเวศในพื้นที่ลุมน้ำเปนหลัก

14Protected Area Sustainability

15

สำหรับแผนการระดับนานาชาติที่เกี่ยวของกับ

คาแทนคุณระบบนิเวศนั้น คาแทนคุณระบบนิเวศได

ขยายขอบเขตท่ีเกินกวาแผนในระดับลุมน้ำ กลไกการ

พัฒนาที่สะอาด (Cleaning Development Mechanism)

ภายใตพิธีสารเกียวโตและโครงการ REDD (Reducing

Emissions From Deforestation and Degradation)

และ REDD plus เปนตัวอยางของโครงการคาแทนคุณ

ระบบนิเวศระดับนานาชาติอยางแทจริง โดยโครงการ

คารบอนในประเทศที่กำลังพัฒนาจะไดรับเงินจาก

ประเทศพัฒนาที่เปนผูกอมลพิษ ในขณะที่โครงการ

กลไกการพัฒนาท่ีสะอาด ไดรับคำวิพากษอยางนาสนใจ

น้ันก็มีความหวังวาจะเปนแนวคิดพ้ืนฐานท่ีเปนชองทาง

ที่นำไปสูการลงทุนที่ยั่งยืน โดยเสริมพลังความมุงมั่น

ผานระบบคาแทนคุณระบบนิเวศระหวางประเทศ

ซึ่งสามารถทำใหเกิดความเขาใจไดในสองระดับที่

แตกตางกันข้ึนอยูกับวาเรากำลังพิจารณาวาบริการของ

ระบบนิเวศท่ีมีความสำคัญในระดับโลก เชน การจัดหา

ขอมูลทางพันธุกรรม การควบคุมสภาพภูมิอากาศหรือ

บริการของระบบนิเวศท่ีมีผลกระทบมากกวาในระดับ

ภูมิภาค เชน การปองกันลุมน้ำ แนวปองกันพายุ การนำ

เอาท้ังสองระดับความสำคัญเขามาบูรณาการอยูในกรอบ

คาแทนคุณระบบนิเวศเดียวกันยอมหลีกเลียงไมไดที่

จะตองใชวิธีการแบบบูรณาการ เม่ือการเปล่ียนแปลง

สภาพภูมิอากาศมีผลในการเพ่ิมจิตสำนึกในระดับตนๆ

ของสาธารณชนทั่วโลกมากขึ้นอยางตอเนื่อง จึงเปน

โอกาสอันดีในการสรางแรงผลักดันใหมทั้งเพื่อทำให

เกิดการอนุรักษและเสริมความพยายามในการพัฒนา

ที่ยั่งยืน ความสนใจที่เพิ่มขึ้นในการกักเก็บคารบอน

และการอนุรักษคารบอนที่เก็บกักโดยธรรมชาติใน

โครงการ REDD+ สามารถนำมาใชเปนกาวที่สำคัญ

ในการดำเนินการโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศ

ในระดับสากล (International Payment for Ecosystem

Services) ดวยการจัดตั้งตลาดสำหรับการปลอย

กาซคารบอนยอมมีเหตุผลที่ทำใหเชื่อไดวาวาระเรื่อง

การกักเก็บคารบอนอาจจะกลายเปนแหลงสำคัญของ

เงินทุนเพ่ือการอนุรักษระบบนิเวศ อยางไรก็ตามความเช่ือ

ดังกลาวข้ึนอยูกับความสามารถของประชาคมระหวาง

ประเทศที่ทำใหบรรลุถึงฉันทามติเกี่ยวกับ วิธีการลด

ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากการทำลายปา

และความเสื่อมโทรมของปาในโครงการ REDD+

ปจจุบันมีประเทศตางๆ ใหความสนใจเร่ืองคาแทนคุณ

ระบบนิเวศมากข้ึน โดยเฉพาะกลุมประเทศลาตินอเมริกา

และกลุมประเทศแคริบเบียนมีการทดลองใชวิธีน้ีเพ่ือ

ทดสอบศักยภาพการจัดการทรัพยากรน้ำในลุมน้ำผาน

กลไกตลาด ซ่ึงมีการจายคาชดเชยใหกับเจาของท่ีดิน

ดานตนน้ำเพื่อคงไวหรือปรับปรุงรูปแบบการใชที่ดิน

เพ่ือประโยชนดานส่ิงแวดลอมท่ีคำนึงถึงผูใชทายน้ำดวย

คอสตาริกาเปนประเทศหนึ่งที่มีการพัฒนาระบบ

คาแทนคุณระบบนิเวศมาอยางยาวนานกวาศตวรรษ

สำหรับประเทศในกลุมอาเซียนที่จะรวมตัวเปน

ประชาคมอาเซียนในเร็ววันน้ี กำลังเผชิญกับปญหาการ

พัฒนาดานเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว และการขยายตัว

ของประชากร ซ่ึงสงผลใหระบบนิเวศถูกทำลายอยางมาก

และมีกระแสการต่ืนตัวดานการอนุรักษอยางกวางขวาง

องคกรระหวางประเทศหลายองคกรไดรวมกันจัด

ประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง คาแทนคุณระบบนิเวศ

เพื่อใหเปนเวทีในการแลกเปลี่ยนประสบการณและ

แนวคิดเก่ียวกับการริเร่ิมดำเนินงาน เร่ือง คาแทนคุณ

ระบบนิเวศ ในกลุมประเทศภูมิภาคเอเชียแปซิฟก

โดยมีผูเขารวมการประชุมซึ่งเปนผูแทนจากประเทศ

ตางๆ ในภูมิภาคเอเชีย ไดแก อินโดนีเซีย อินเดีย

ศรีลังกา เนปาล ฟลิปปนส เวียดนาม ลาว กัมพูชา

บทเรียนการดำเนินโครงการคาแทนคุณ

ระบบนิเวศลุมน้ำในประเทศตางๆ

16Protected Area Sustainability

บรูไน ฟจ ิ คาซัคสถาน และไทย การประชุมมี

วัตถุประสงค เพ่ือรายงานความกาวหนาการดำเนินงาน

เรื่องคาแทนคุณระบบนิเวศของประเทศในภูมิภาค

และรวมสรุปบทเรียนวิเคราะหประเด็นทาทายในการ

ประเมินความตองการดานเทคนิควิชาการ การพัฒนา

ศักยภาพขององคกรกลไก รวมทั้งการสรางเครือขาย

คาแทนคุณระบบนิเวศในภูมิภาคและการจัดทำแผน

ปฏิบัติการเพ่ือผลักดันการดำเนินการเร่ืองคาแทนคุณ

ระบบนิเวศอยางตอเน่ืองในประเทศตางๆ ในการประชุม

คร้ังน้ันหลายประเทศไดนำเสนอบทเรียนจากการริเร่ิม

ดำเนินงานเร่ืองคาแทนคุณระบบนิเวศในประเทศตางๆ

ไดแก

ประเทศเวียดนาม

เวียดนามมีการออกกฎหมายวาดวยความหลากหลาย

ทางชีวภาพซึ่งบังคับใชเมื่อเดือน กรกฎาคม 2552

กำหนดใหมีการจายคาบริการท่ีไดจากทรัพยากรชีวภาพ

และระบบนิเวศ มีโครงการนำรองในกิจการโรงไฟฟา

พลังน้ำและธุรกิจทองเที่ยวซึ่งทำสัญญาจายคาดูแล

รักษาระบบนิเวศ จำนวน 2.7 ลานเหรียญตอปใหกับ

ชุมชนจำนวน 2,700 ครัวเรือนและอยูระหวางการจัดทำ

แผนธุรกิจอีก 2 โครงการ วงเงิน 15 ลานเหรียญสหรัฐ

โดยรัฐบาลกลางและองคกรสวนทองถ่ินรวมกันบริหาร

จัดการและจัดสรรรายไดใหกับชุมชน

โครงการนำรองท่ีจังหวัดแลมดอง (Lam Dong)

เกิดข้ึนจากการท่ีรัฐบาลกำหนดเปาหมายการเพ่ิมพ้ืนท่ี

ปลูกปาจาก 12.7 ลานเฮกตารในป 2008 เปน 16

ลานเฮกตารในป 2020 แตประสบปญหางบประมาณ

ดังนั้น โครงการคาแทนคุณระบบนิเวศจะเปดโอกาส

ใหภาคเอกชนสนับสนุนเงินทุนในการดำเนินงานการ

จายคาตอบแทนเปนลักษณะการจายตรง โดยชาวบาน

จะไดรับเงินรอยละ 80 องคกรปกครองสวนทองถิ่น

ไดรับรอยละ 20 ของมูลคาที่กำหนดไวในสัญญา

โครงการโรงไฟฟาพลังน้ำดานิมห (Danhim)

เวียดนามไดทำการประเมินมูลคาการใหบริการเชิงนิเวศ

ของปาไม โดยใชแบบจำลองจากการศึกษาของ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม ประเทศไทย ในเบ้ืองตนพบวา

การอนุรักษปาตนน้ำชวยลดคาใชจายในการกำจัด

ตะกอน (2.45 ลานเหรียญสหรัฐตอป) และตนทุน

ปริมาณน้ำท่ีใชในระบบ (1.06 ลานเหรียญสหรัฐตอป)

ปริมาณการสูญเสียหนาดินลดลง 4 เทา และอายุของ

โรงไฟฟาพลังน้ำดานิมห จะลดลงรอยละ 50 (30 ป)

หากไมมีปาตนน้ำ ขอสรุปจากการดำเนินโครงการ

พบวา การประเมินมูลคาการใหบริการเชิงนิเวศของ

ปาตนน้ำยังมีขอจำกัด แตถือเปนการสรางเครื่องมือ

เชิงประจักษที่ทำใหสาธารณชนผูประกอบการ และ

ผูกำหนดนโยบายมีความเขาใจที่ตรงกัน

ประเทศอินโดนีเซีย

การดำเนินงานเรื่องคาแทนคุณระบบนิเวศใน

อินโดนีเซียถือเปนเคร่ืองมือแบบสมัครใจในการจายคา

บริการของระบบนิเวศระหวางผูไดรับประโยชน และ

ชุมชนที่ทำหนาที่อนุรักษ (Provider) โดยประเทศ

อินโดนีเซียมีการดำเนินงานหลายรูปแบบ เชน การ

จัดการปาชุมชน การจายคาบริการใหชุมชนที่ดูแล

อนุรักษพื้นที่ตนน้ำ การจายคาชดเชยใหเกษตรกรที่

ปรับเปลี่ยนจากพืชเชิงเดี่ยวมาเปนเกษตรอินทรีย

การสนับสนุนการทองเท่ียวเชิงนิเวศ การพัฒนาระบบ

เกษตรบนพื้นที่สูง การพัฒนาตลาดซื้อขายคารบอน

แบบสมัครใจ เปนตน

17

โครงการ RUPES (Rewards for Use and Shared

Investment in Pro-Poor Environmental Services)

เปนโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศที ่สำคัญใน

ประเทศอินโดนีเซีย มีหลักเกณฑการใหรางวัลสำหรับ

การใหบริการของระบบนิเวศท่ีคำนึงถึงคนจนเปนหลัก

ตัวอยางโครงการ เชน การอนุรักษตนยางปา เพ่ือการ

อนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและสัตว

โดยรัฐใหโรงงานและบริษัทผลิตยางรถยนตเปนผูให

รางวัลซึ่งมีผลทำใหการตัดไมลดลง นอกจากนี้ยังมี

โครงการคาแทนคุณระบบนิเวศลุ มน้ำมอนตาลา

(Montala Basin) เปนหน่ึงในโครงการนำรองคาแทนคุณ

ระบบนิเวศของประเทศอินโดนีเซียโครงการไดจัดทำ

ขอตกลงรวมระหวางการประปาทองถิ่น กับชุมชน

ที่อยูอาศัยในเขตพื้นที่ตนน้ำมอนตาลา โดยบริษัทจะ

จัดสรรกำไรสุทธิประมาณรอยละ 1 เพื่อใหชุมชนใช

ในกิจกรรมอนุรักษปาตนน้ำ เชน การตรวจเฝายาม

ปองกันการลักลอบตัดไมทำลายปาและการอบรมให

กับประชาชน โครงการมีระยะเวลาดำเนินงาน 3 ป

ผลประโยชนที่บริษัทคาดวาจะไดรับคือการควบคุม

ปริมาณน้ำและการผลิตพลังงานไฟฟาขนาดเล็กรวม

ทั้งชุมชนมีรายไดเพิ่มขึ้น

ประเทศกัมพูชาอยูระหวางการเริ่มดำเนินงาน

แตมีปญหาการจัดการเรื ่องความไมชัดเจนของ

กรรมสิทธิ์ในทรัพยากร การคิดคำนวณมูลคาทาง

เศรษฐกิจของการใหบริการของระบบนิเวศ การหา

ตลาดผูซื้อ และคาใชจายในการบริหารจัดการ ใน

ประเทศลาวไดริเริ่มโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศ

ในโครงการอนุรักษแนวเชื่อมตอความหลากหลาย

ทางชีวภาพในอนุภูมิภาคลุมน้ำโขง (GMS-BCI) สวนใน

ประเทศพมาก็มีการริเริ่มในโครงการอนุรักษปาไม

บางโครงการ เชน การจัดการพื้นที่คุ มครองขาม

พรมแดนกับประเทศไทยจะมีโครงการคาตอบแทนคุณ

ดำเนินการอยูดวย

18Protected Area Sustainability

ตารางที่ 2 ตัวอยางโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศที่เกี่ยวกับระบบนิเวศปาไมและระบบนิเวศลุมน้ำในภูมิภาค

ตางๆ ของโลก

องคกรปาไมของประเทศ

คอสตาริกา

บริษัทผลิตไฟฟา Energy

Global

กิจกรรม ระบบนิเวศ ผูซื้อบริการ ผูขายบริการ ราคา

เฮกตาร/ป

ประเทศ

การปลูกปาทดแทน -การควบคุมความเค็ม

-อุปทานน้ำสะอาดสมาคมเกษตรกรที่อยู

ปลายน้ำรัฐบาลและเจาของ

ที่ดินที่อยูตนน้ำ45 Murray

Darling

ออสเตรเลีย

การลดการใชน้ำ

และปจจัยการผลิต-การควบคุมคุณภาพน้ำ

-อุปทานน้ำสะอาด

บริษัทเอกชนที่ผลิตและ

จำหนายน้ำแร Perrier,

Vittel

เกษตรกรที่ใชที่ดิน

บริเวณตนน้ำ

230 Rhnie-Meuse

Basin ฝรั่งเศส

การรักษาและการ

จัดการปาที่ปลูก

ขึ้นทดแทน

-อุปทานน้ำสะอาด

-แหลงที่อยูอาศัยของ

สัตวปา

-มรดกทางดานวัฒนธรรม

-ไฟฟาพลังน้ำ

-การควบคุมกระแสน้ำ

-การควบคุมการ

ตกตะกอนของดิน

-การรักษาหนาดิน

การควบคุมการ

ตกตะกอนของดิน

-การควบคุมคุณภาพน้ำ

การควบคุมกระแสน้ำ

-อุปทานน้ำสะอาด

-แหลงที่อยูอาศัยของ

สัตวปา

-การรักษา

สภาพแวดลอมและ

คุณภาพน้ำ

-ปองกันการตัดไม

ทำลายปา

-การควบคุมการ

ตกตะกอนของดิน

-การควบคุมคุณภาพน้ำ

-การทองเที่ยวเชิงนิเวศSingarak

Watershed

อินโดนีเซีย

การรักษาและการ

จัดการปาที่ปลูก

ขึ้นทดแทน

การอนุรักษดิน

การฟนฟูปาตนน้ำ

การรักษาและการ

จัดการปาที่ปลูก

ขึ้นทดแทน

การฟนฟูปาตนน้ำ

การปลูกปาการ

อนุรักษแหลงปลา

องคกรปาไมของประเทศ

คอสตาริกา

กระทรวงเกษตรของ

สหรัฐอเมริกา

รัฐปานามา

บริษัทจัดการน้ำ

ของเอกชน

บริษัทผลิตน้ำประปา

ทองถิ่น

รัฐบาลทองถิ่น

เจาของที่ดินเอกชน

ที่อยูตนน้ำ

เจาของที่ดินเอกชน

ที่อยูตนน้ำ

เกษตรกร

รัฐบาลทองถิ่นและ

เจาของที่ดินเอกชน

เกษตรกรผูปลูกปา

เกษตรกรที่ใชที่ดิน

บริเวณตนน้ำ

เกษตรกรผูปลูกปา

45-116

48

125

170

120$

/เฮกตาร/

ปาตนน้ำ

Senapiqui

คอสตาริกา

ปาตนน้ำ

Senapiqui

คอสตาริกา

สหรัฐอเมริกา

รัฐปานามา

บราซิล

Cindanau

อินโดนีเซีย

เทือกเขา

Montala,

Aceh

อินโดนีเซีย

19

การดำเนินการโครงการคาแทนคุณ

ระบบนิเวศในประเทศไทย

ในประเทศไทยการใหบริการของระบบนิเวศมี

ความสำคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ

ประเทศโดยกอใหเกิดผลประโยชนทั้งทางตรงและ

ทางออมคิดเปนมูลคาทางเศรษฐกิจจำนวนมหาศาล

แตชุมชนซึ ่งมีสวนในการดูแลรักษาระบบนิเวศ

สวนใหญมีฐานะยากจนยังดำรงชีพอยูในชนบท ไมได

รับผลประโยชนจากการพัฒนา ขาดท่ีดินทำกิน บางสวน

ยังตองอาศัยอยูในปาซึ่งเปนแหลงบริการนิเวศและ

ไดรับบริการโครงสรางพ้ืนฐานและสาธารณูปโภคท่ีจำกัด

สถานการณการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและ

ความตองการอาหารของประชากรโลกท่ีเพ่ิมข้ึน รวมท้ัง

นโยบายการพัฒนาดานตางๆของประเทศไทย ทำให

มีการเปลี่ยนพื้นที่ปาไมเปนพื้นที่ทำกินเพื่อสราง

รายไดและนโยบายแกไขความยากจนเปนแรงกดดัน

ตอการสูญเสียพื้นที่อนุรักษและการใหบริการของ

ระบบนิเวศโดยรวม ความเส่ือมโทรมของระบบนิเวศ

สงผลตอภาคเศรษฐกิจที่ใชประโยชนโดยตรง เชน

การทองเท่ียว การใชประโยชนจากทรัพยากรน้ำเพ่ือ

การผลิตพลังงานเพ่ือภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม

และการอุปโภค บริโภค ทำใหเกิดตนทุนคาใชจายที่

ผูประกอบการตองจายเพิ่มขึ้นหรือสาธารณชนตอง

จายแทนกระแสสังคมที่เริ ่มตระหนักและใหความ

สำคัญตอการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและความ

หลากหลายทางชีวภาพ รวมท้ังการปรับตัวเพ่ือรับมือ

กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเทาๆกับการ

พัฒนาเศรษฐกิจในขณะที่ยังไมมีความชัดเจนในการ

สรางกลไกการมีสวนรวมในการอนุรักษที ่ชัดเจน

ตัวอยางในประเทศไทย ไดแก กรณีการแยงชิงการใชน้ำ

ระหวางโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมภาคตะวันออก

กับเกษตรกรที่ปลูกผลไม เปนตน

ความเรงดวนในการประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตร

ของการใหบริการของระบบนิเวศเพ่ือสรางความตระหนัก

ของผูใชประโยชนจากการใหบริการของระบบนิเวศ

เชน การทำหนาท่ีของปาไมในการอนุรักษดินและน้ำ

การควบคุมปริมาณน้ำผิวดินและน้ำใตดิน การปองกัน

การชะลางพังทลายและการเกิดตะกอนดินการควบคุม

วัฏจักรของน้ำและสภาพอากาศ การดูดซับมลพิษและ

การใหบริการดานนันทนาการ ส่ิงเหลาน้ีประเทศไทย

โดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

จะตองรีบดำเนินการอยางเรงดวน

อยางไรก็ตาม ประเทศไทยยังไมมีการดำเนินงาน

เร่ืองคาแทนคุณระบบนิเวศอยางเปนรูปธรรม สำนักงาน

คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

ในฐานะหนวยงานนโยบายไดเสนอประเด็นเรื ่อง

คาแทนคุณระบบนิเวศในฐานะที่เปนโอกาสของการ

พัฒนาในอนาคตโดยปรากฏอยูในรางแผนพัฒนา

เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 11 แตยังขาดกรอบ

การดำเนินงานท่ีชัดเจน อยางไรก็ตาม สภาขับเคล่ือน

การปฎิรูปประเทศ (สปท.) มีความพยายามท่ีจะผลักดัน

ในการจัดต้ังกองทุนแทนคุณคาระบบนิเวศ นอกจากน้ัน

มีโครงการนำรองของหนวยงานหลายแหงท่ีมีแนวคิด

เกี่ยวของกับคาแทนคุณระบบนิเวศ ไดแก โครงการ

ที่ดำเนินการอยูภายในกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา

และพันธุพืช โดยสถาบันนวัตกรรมอุทยานแหงชาติ

และพ้ืนท่ีคุมครอง ไดริเร่ิมโครงการประเมินมูลคาการ

ใหบริการของระบบนิเวศในพ้ืนท่ีอุทยานแหงชาติตางๆ

ท้ังอุทยานแหงชาติทางบกและทางทะเล รวมถึงพ้ืนท่ี

มรดกโลกดงพญาเย็น-เขาใหญ ซ่ึงไดรับการสนับสนุน

จากรัฐบาลไทยและองคกรความรวมมือระหวาง

ประเทศเยอรมัน (GIZ : German International

Coorperation) ไดแก โครงการ ECO - BEST

(Enhancing the Economics of Biodiversity and

Ecosystem Services in Thailand/Southeast Asia)

20Protected Area Sustainability

โดยวิเคราะหการกระจายผลประโยชนและคาใชจาย

วิเคราะหผูมีสวนไดเสีย ศึกษามูลคาทางเศรษฐกิจของ

ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพในพ้ืนท่ี

มรดกโลกทางธรรมชาติ เพื่อสรางแรงจูงใจในการ

อนุรักษใหกับคนในพื้นที่ที่อาศัยอยูบริเวณรอบแนว

เขตมรดกโลก นอกจากน้ีโครงการเรงเสริมความย่ังยืน

การจัดการระบบการจัดการพ้ืนท่ีคุมครอง (Catalyzing

Sustainability of Thailand’s Protected Area

System : CATSPA) ซ่ึงไดรับการสนับสนุนจาก UNDP

และ GEF มีพ้ืนท่ีนำรองในการดำเนินโครงการคาแทนคุณ

ระบบนิเวศไดแก อุทยานแหงชาติดอยอินทนนทท่ีเปน

ตัวแทนของนิเวศปาตนน้ำ ไดดำเนินการจัดต้ังกองทุน

อนุรักษดอยอินทนนทโดยใชรูปแบบของกองทุน

คาแทนคุณระบบนิเวศ และพื้นที่อนุรักษในกลุมปา

ตะวันออกซึ่งเปนแหลงน้ำของอุตสาหกรรมและการ

ทองเท่ียว ไดทำการประเมินมูลคาดานเศรษฐศาสตร

ของระบบนิเวศเรียบรอยแลว อยูระหวางดำเนินการ

จัดตั้งกองทุนคาแทนคุณระบบนิเวศโดยเชิญภาค

อุตสาหกรรมและภาคเกษตรที่ใชบริการน้ำในลุมน้ำ

ภาคตะวันออกเขารวมหารือในการจัดการต้ังกองทุน

เพื่อตอบแทนคุณระบบนิเวศภาคตะวันออก สวน

อุทยานแหงชาติตะรุเตาเปนตัวแทนของระบบนิเวศ

ทางทะเลและทรัพยากรชายฝง อยูระหวางการประเมิน

ภาพที่ 5 บริการของระบบนิเวศลุมน้ำดานทรัพยากรน้ำ

ที่มา : Pagiola (2003)

มูลคาของระบบนิเวศและจัดต้ังกองทุนรีฟ การเดียน

โดยสมาคมอนุรักษปะการัง จ.สตูล (Reef Guardian

Association) ท้ังน้ี โครงการท้ังหมดจะส้ินสุดในป 2559

เพื่อใชเปนเครื่องมือในการขับเคลื่อนกระบวนการ

คาแทนคุณระบบนิเวศสำหรับประเทศไทย

อยางไรก็ดี การดำเนินงานเร่ืองคาแทนคุณระบบนิเวศ

ของประเทศไทยในชวงท่ีผานมามีลักษณะเปนโครงการ

นำรองเทานั้น ยังไมสามารถยกระดับใหเปนกลไก

ระดับชาติ ในขณะท่ีเวทีระหวางประเทศไดเสนอกลไก

อ่ืนๆ อีกเปนจำนวนมาก เชน โครงการลดการปลดปลอย

กาซเรือนกระจกจากการทำลายปาและความเช่ือมโยง

ของปา (REDD PLUS) โครงการแบงปนผลประโยชน

และการเขาถึงความหลากหลายทางชีวภาพ (ABS)

โครงการชดเชยการปลดปลอยคารบอน (Carbon offset)

เปนตน ซึ่งมีหลักการและเปาหมายเดียวกันคือการ

สรางแรงจูงเพื่อการอนุรักษ ดังนั้น ในทางปฏิบัติการ

ดำเนินการคาแทนคุณระบบนิเวศจึงเปนกลไกแบบ

สมัครใจ ซึ่งเปนทางเลือกหนึ่งที่จะตองแขงขันกับ

กลไกอื่น ที่อาจไมไดรับความสนใจจากภาคเอกชน

มากนัก เนื่องจากภาคเอกชนสวนใหญจะใชระบบ

ความรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social

Responsibility : CSR) ในการแทนคุณระบบนิเวศ

เกือบทุกโครงการในประเทศไทย

21

คาแทนคุณระบบนิเวศไดถูกออกแบบ โดยหวังวา

ผู สนใจที่จะเขามามีสวนรวมในกระบวนการจาย

คาแทนคุณระบบนิเวศเพื่อการดูแลรักษาทรัพยากร

ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แมวาความไมแนนอนจะ

เปนอุปสรรคนำไปสูความพยายามในการจัดการ

ระบบนิเวศใหมีประสิทธิภาพ แตมันก็ยังคงเปนส่ิงสำคัญ

ที่จะตองมีจุดหมายปลายทางแบบใดแบบหนึ่ง ตำรา

สวนน้ีแมจะมีนัยยะของความคิดฝนมากกวาสวนอ่ืนๆ

แตไดแสดงถึงวิสัยทัศนของเสนทางที่คาแทนคุณ

ระบบนิเวศอาจนำไปสูความสำเร็จในการพิทักษรักษา

ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมไดจริง เราจะเห็น

ผลลัพธท่ีนาพอใจสำหรับคาแทนคุณระบบนิเวศ เปาแรก

คือสำหรับการเพิ่มประสิทธิภาพของวิถีชีวิตทองถิ่น

ผานการเพ่ิมมูลคาของตนทุนธรรมชาติ เปาท่ีสองคือ

การสนับสนุนในการตัดสินใจการใชประโยชนที่ดิน

อยางยั่งยืนที่เพิ่มการใหบริการของระบบนิเวศ

วิสัยทัศนสำหรับอนาคตของคาแทนคุณระบบนิเวศ

คือ การตอบสนองวัตถุประสงคผานหลักการการ

พัฒนาอยางยั่งยืน โดยทั่วไปแลวคาแทนคุณระบบ

นิเวศเปนตัวเรงปฏิกิริยาสำหรับการพัฒนาชนบท

อยางย่ังยืนท่ีดีท่ีสุด ประโยชนอยางมากจากหลักการ

ของคาแทนคุณระบบนิเวศ คือ สามารถนำไปใชใน

หลายบริบททางเศรษฐกิจและสังคม รวมท้ังใชในการ

ตอสูในเพื่อลดการทำลายสิ่งแวดลอมในปาเขตรอน

ที่อยูหางไกลออกไป และเปนเครื่องมือที่ตอสูกับสิ่ง

ใกลตัวที่ทำใหสิ่งแวดลอมในเมืองไมยั่งยืน ทั้งนี้การ

มีสวนรวมในการสนับสนุนการพัฒนาอยางยั่งยืน

ในสังคมชนบทนั้นมีความเปนไปไดมากกวา วิธีการ

ชดเชยผลกระทบดานส่ิงแวดลอมท่ีมีตอตัวสังคมเมือง

ในกรณีการลงทุนในโครงสรางพื้นฐานที่จะใชในการ

พัฒนาสังคมเมืองจะตองคำนึงถึงสังคมชนบทดวย

ดังน้ัน พ้ืนฐานของธรรมชาติท่ีสนับสนุนการใชชีวิต

ในสังคมเมืองไดอยางมีความสุขทั้งหมดขึ้นอยูกับ

ระบบนิเวศที่ใหการสนับสนุนของภูมิทัศนของสังคม

ชนบท ภูมิทัศนธรรมชาติ เปนแหลงใหอาหาร วัสดุ

กอสราง แหลงพลังงาน แหลงนันทนาการ สินคาดาน

ส่ิงแวดลอมและบริการอ่ืนๆท่ีหลากหลาย ข้ันตอนท่ีดี

ในทิศทางที่ถูกตองในการใชคาแทนคุณระบบนิเวศ

ใหเปนวิธีการสงเสริมที่ยั่งยืนและเกิดความสัมพันธ

ที่เทาเทียมกันระหวางระบบนิเวศในเมืองและระบบ

นิเวศชนบทคือ จะตองมีการจัดต้ังองคกรบริหารจัดการ

บริการของระบบนิเวศขึ้นมารับผิดชอบโดยเฉพาะ

ประยุกตใหใชไดโดยมุงเนนไปท่ีความสัมพันธระหวาง

ผูบริโภคในเมือง กับเจาของผูใชประโยชนที่ดินใน

ชนบทด้ังเดิม ดวยแนวความคิดแบบงายๆเชิงพ้ืนท่ีใน

ลักษณะที่มองความเชื่อมโยงระหวางเมือง-ชนบท

จึงจะทำใหรูปแบบของการใชทรัพยากรกับการดูแล

รักษาระบบนิเวศ ประยุกตใชไดกับทุกขนาดพื้นที่

ประเด็นจึงอยูที่วาการใชแนวความคิดคาแทนคุณ

ระบบนิเวศ จะเปนแนวทางสรางแรงจูงใจการพัฒนา

ชนบทโดยชี้ใหเห็นวาวิถีชีวิตของคนเมืองที่ทันสมัย

ของพวกเขานั้นขึ้นอยูกับการปองกันรักษาภูมิทัศน

ของพวกคนชนบท ซึ่งหมายถึงการจัดตั้งหนวยงาน

บริการระบบนิเวศในพ้ืนท่ีชนบท ท่ีอาจเปนแรงบันดาลใจ

จากรูปแบบคาแทนคุณระบบนิเวศและจะมุงไปสูการ

ไดรับการยอมรับอยางเปนทางการของการพ่ึงพาพ้ืนท่ี

ตนน้ำที่คนชนบทกำลังดูแลรักษาใหกับคนเมือง และ

พ้ืนท่ีปลายน้ำท่ีถูกใชโดยคนเมือง การพัฒนาดังกลาว

จะตองดำเนินการพรอมกันกับกิจกรรมทางสังคม

การเมืองและเศรษฐกิจและระบบนิเวศ การดำเนินการ

จะทำใหเกิดภาพแบบนี ้ไดจะตองมีแนวทางการ

ดำเนินการตามนโยบายอยางเขมงวด และมีตลาด

สำหรับบริการของระบบนิเวศที่ผานการสรางความ

เขมแข็งของชุมชนทองถิ่น

สรุป

22Protected Area Sustainability

นอกจากน้ี ปจจัยความสำเร็จในการดำเนินงานเร่ือง

คาแทนคุณระบบนิเวศจะตองเกิดจากการผลักดัน

เชิงนโยบายจากผูนำทั้งระดับชาติและระดับทองถิ่น

การมีกฎระเบียบ กระบวนการ และแนวทางการปฏิบัติ

ท่ีชัดเจนในเร่ืองความยินดีท่ีจะจายคาแทนคุณระบบ

นิเวศของภาคเอกชน การสนับสนุนทางเทคนิควิชาการ

จากองคกรระหวางประเทศในการวางระบบการจาย

คาแทนคุณ รวมทั้งการพัฒนาขีดความสามารถของ

บุคลากรและชุมชน เพื่อการบริหารจัดการโครงการ

อีกทั้งการบูรณาการภาคสวนที่เกี่ยวของใหเขามา

ทำงานรวมกันจะเปนปจจัยที่สำคัญ สำหรับประเด็น

ปญหาในการดำเนินงานในหลายประเทศ ยังมีปญหา

การบริหารจัดการ เชน ความไมชัดเจนของกรรมสิทธ์ิ

ในทรัพยากร การหาตลาดผูซื้อและคาใชจายในการ

บริหารจัดการกองทุนคาแทนคุณระบบนิเวศ และสุดทาย

ที่เปนปญหาเชิงเทคนิคคือ การคิดคำนวณมูลคาการ

ใหบริการของระบบนิเวศ ซ่ึงตองเปนท่ียอมรับรวมกัน

ทุกฝายดวย

สำหรับแนวทางการขับเคลื่อนของประเทศไทย

โดยกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช และ

สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานชีวภาพอยูระหวาง

ดำเนินโครงการนำรอง จึงควรสรางกระบวนการเรียนรู

รวมกันระหวางภาครัฐ ทองถ่ิน ชุมชน และภาคเอกชน

เพื่อนำไปสูการวางระบบ กลไกการทำงานและกฎ

ระเบียบท่ีจำเปน เพ่ือการขับเคล่ือนโครงการคาแทนคุณ

ระบบนิเวศในระยะตอไป นอกจากนี้ ควรสนับสนุน

ใหมีการประเมินมูลคาการใหบริการของระบบนิเวศ

อยางเปนวิทยาศาสตรเพื่อรองรับการตัดสินใจเชิง

นโยบายการดำเนินงานในระยะแรกควรเริ่มตนจาก

ระบบนิเวศท่ีสำคัญ เชน ระบบนิเวศปาไม ความหลากหลาย

ทางชีวภาพ การจัดการพ้ืนท่ีตนน้ำ ระบบนิเวศทางทะเล

และชายฝง รวมท้ังระบบนิเวศปาชายเลน ระบบนิเวศ

ของพื้นที่ชุมน้ำ และระบบนิเวศที่สำคัญอื่นๆ

สำหรับกลุมเปาหมาย อาจพิจารณากลุมผูใชบริการ

จากระบบนิเวศท่ีมีศักยภาพ เชน การประปานครหลวง

การประปาสวนภูมิภาค การไฟฟาฝายผลิตซึ ่งมี

โรงไฟฟาพลังน้ำและกิจการท่ีมีการใชน้ำและพลังงาน

อยางเขมขน ธุรกิจการทองเท่ียวรวมท้ังประชาชนท่ัวไป

ท่ีอาศัยอยูรอบๆพ้ืนท่ีคุมครองของประเทศท่ีใชบริการ

ระบบนิเวศ โดยเฉพาะพ้ืนท่ีโดยรอบของอุทยานแหงชาติ

และเขตรักษาพันธุสัตวปา จะตองมีบทบาทและมี

สวนรวมในการรวมมือกัน จายคาแทนคุณระบบนิเวศ

ของประเทศไทยตอไป

เอกสารและสิ่งอางอิง

Cleveland, C. and Ruth, M. 1997. When,

where and by how much do biophysical

limits constrain the economic process?

– A survey of Nicholas Georgescu-Roegen’s

contribution to ecological economics.

Ecological Economics, Vol 22, Issue

2: 203-223.

Costanza, R., R.d. Arge, R.d. Groot, S. Farber,

M. Gras-so, B. Hannon, K. limburg, S. Naeem,

R.V. O’Neill,J.Paruelo, R.G. Raskin, P.Sutton

and M.v.d. Belt. The value of the world’s

ecosystem services and natural capital.

Nature. 1997;387 : 253-60.

Daily, G. C. 1997. Ecosystem Services: Benefits

Supplied to Human Societies by Natural

Ecosystems, Issues in Ecology, 2: 1-18.

23

Heal, G. 1999. Biodiversity as a commodity.

Columbia University. http://www2.gsb.

columbia.edu/faculty/gheal/General%

20Interest%20Papers/pw-99-07.pdf 7

The first part of the paper is particularly

insightful, and offers an excellent

breakdown of the various values that

biodiversity can take on – productivity,

insurance, and knowledge. After expanding

on these 3 categories, Heal goes on to

explore the linkages between biodiversity

and ecosystem services. The latter part

of the paper explores how biodiversity

can eventually become integrated into

markets as a commodity.

Huberman, D. (2008) A Gateway to PES: Using

Payments for Ecosystem Services for

Livelihoods and Landscapes. Markets

and Incentives for Livelihoods and

Landscapes Series No. 1, Forest Conservation

Programme, International Union for the

Conservation of Nature (IUCN), Gland.

http://cmsdata.iucn.org/downloads/

a_gateway_to_pes_d_huberman.pdf

Millennium Ecosystem Assessment, (MEA),

2005. Ecosystems and Human Well –

being : Synthesis.

Stefano Pagiola. 2003. Environment Department

World Bank Convention on International

Trade in Endangered Species of Wild Fauna

and Flora Workshop on Economic Incentives

and Trade Policies Geneva, December 1-3

Swallow B, Leimona B, Yatich T, Velarde SJ

and Puttaswamaiah S. 2007. The Conditions

for Effective Mechanisms of Compensation

and Rewards for Environmental Services:

CES Scoping Study, Issue Paper no.3. ICRAF

Working Paper no. 38. Nairobi, Kenya:

World Agroforestry Centre.

The World Conservation Union (IUCN) 2006.

“Pay” Establishing for Watershed

Services, (2006).

Wunder. 2005. Fresh tracksin the forest:

Assessing incipient payments for

environmental services initiatives in

Bolivia (draft). In CIFOR. Bogor.

http://cmsdata.iucn.org/downloads/a_gateway

_to_pes_d_huberman.pdf เขาถึงเมื่อ 1

กันยายน 2557

24Protected Area Sustainability